SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  62
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา ม.
เซลล์และทฤษฎีของเซลล์
เซลล์คือหน่วยของสิ่งมีชีวิต
ซึ่งจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ออกไป
ทฤษฎีของเซลล์
ตั้งโดยเทโอดอร์ ชวันน์ และมัตทิอัส ยาคอบ ชไลเดน มีใจความว่า
“สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐาน
ชีวิตทุกชนิด”
การแบ่งประเภทของเซลล์
ตามลักษณะของนิวเคลียส
ชีววิทยา ม.
เซลล์โปรคาริโอต (Prokaryotic Cell)
ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
ได้แก่ แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน
เซลล์โพรคาริโอต (PROKARYOTIC CELL)
เซลล์ยูคาริโอต ( Eukaryotic Cell)
มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
พบในสิ่งมีชีวิตทั่วๆไป เช่น รา สาหร่าย พืช สัตว์
โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์
ชีววิทยา ม.
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
ชีววิทยา ม.
1.1 ผนังเซลล์ (CELL WALL)
 เป็นส่วนที่อยู่นอกของเยื่อหุ้มเซลล์
 พบในเซลล์พืช เห็ด รา แบคทีเรีย ไม่พบในสัตว์
 มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่พืช ประกอบด้วยเซลลูโลส
 อาจพบสารอื่นๆ เช่น เพคทิน และคิวติน
พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)
เป็นช่องเล็กๆส้าหรับทางเชื่อมระหว่าง 2 เซลล์
ส้าหรับส่งสารต่างๆผ่านไซ โตพลาสซึม เช่น น้้าและแร่ธาตุ
1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
 เป็นเยื่อบางๆล้อมไซโทพลาสซึม พบในทุกสิ่งมีชีวิต
 ท้าหน้าที่ควบคุมการเข้า – ออกของสาร (เยื่อเลือกผ่าน)
 เป็นฟอสโฟลิปิด เรียงตัวเป็น 2 ชั้น (Lipid bilayer)
 โดยหันด้านมีขั้วออกด้านนอก และด้านที่ไม่มีขั้วเข้าด้านใน
1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
 เรียกการเรียงตัวของเยื่อหุ้มเซลล์ ว่า fluid mosaic
model (สามารถเคลื่อนที่ได้ตามแนวระดับ )
 สารที่พบแทรกอยู่ ได้แก่ คลอ เรสเตอรอล ไกลโคลิพิด
ไกลโคโปรตีน
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane)
เยื่อหุ้มเซลล์ (CELL MEMBRANE)
เยื่อหุ้มเซลล์ (CELL MEMBRANE)
ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
ชีววิทยา ม.
ไซโทพลาสซึม ( Cytoplasm )
 เป็นส่วนที่ล้อมนิวเคลียสอยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์
 ประกอบด้วยส่วนที่ส้าคัญ 2 ส่วน คือ ออร์แกเนลล์ และ
ไซโทซอล
ออร์แกเนลล์ ในไซโทพลาสซึม
ชีววิทยา ม.
2.1 เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม
(endoplasmic reticulum : ER)
 โรงงานผลิตและล้าเลียงสารในเซลล์
 ลักษณะเป็นท่อแบนใหญ่ เรียงและซ้อนกันเป็นชั้นๆ
 มีท่อเชื่อมถึงกันอยู่ล้อมรอบเยื่อหุ้มนิวเคลียส
2.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
(Endoplasmic Reticulum : ER)
1) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ
(rough endoplasmic reticulum : RER)
 เป็น ER ที่มีไรโบโซมเกาะติดอยู่ (ผิวขรุขระ)
 สังเคราะห์โปรตีน และมีการล้าเลียงส่งไปออกนอกซลล์
 เซลล์ที่มี RER มาก คือ เซลล์ที่ผลิตโปรตีน
2) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (smooth
endoplasmic reticulum : SER)
 สังเคราะห์สารสเตรอยด์ เช่น ฮอร์โมนเพศ คอเลสเทอรอล
 ก้าจัดสารพิษ และควบคุมการผ่านเข้าออกของแคลเซียม
ไอออน
 เซลล์ที่มี SER มาก เช่น เซลล์สมอง อัณฑะ และรังไข่
2.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
(Endoplasmic Reticulum : ER)
2.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
(Endoplasmic Reticulum : ER)
2.2 ไรโบโซม (Ribosome)
 แหล่งสร้างโปรตีน ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อ หุ้ม รูปร่างเป็นก้อน
 ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย จะประกบติดกันขณะที่มี
การสังเคราะห์โปรตีน
2.2 ไรโบโซม (ribosome)
2.3 กอลจิคอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex)
 เป็นถุงกลมแบน ตรงขอบโป่งพองใหญ่ขึ้น อยู่ใกล้กับ ER
 เก็บสะสมสารที่เซลล์สร้างขึ้นก่อนปล่อยออกนอกเซลล์
 เกี่ยวข้องกับการสร้างอะโครโซม ซึ่งอยู่ที่ส่วนหัวของอสุจิ
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
2.4 ไลโซโซม (Lysosome)
 สร้างจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีลักษณะเป็นถุงกลม
 ไม่พบในเซลล์พืช มีเอนไซม์ส้าหรับย่อยอาหาร และสิ่ง
แปลกปลอมมีเอนไซม์ท้าลายสิ่งแปลกปลอม เช่น ตับ
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
2.5 แวคิวโอล (Vacuole)
 เป็นถุงบรรจุสาร ท้าหน้าที่แตกต่างกันไป เช่น คอนแทร็ก
ไทล์แวคิวโอล, ฟูดแวคิวโอล
 ที่พบในเซลล์พืช เรียกว่า แซบแวคิวโอล ท้าหน้าที่สะสม
สาร เช่น สารสี น้้าตาล
2.5 แวคิวโอล (Vacuole)
2.6 ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
 ผลิตสารที่ให้พลังงานสูงแก่เซลล์
 เยื่อชั้นนอกมีลักษณะเรียบ เยื่อชั้นในจะพับ ทบ
 ส่วนที่ยื่นเข้าไปนี้เรียกว่า คริสตี (cristae) มีของเหลว
บรรจุอยู่เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix)
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
2.7 พลาสติด (Plastid)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
- มีสีเขียว สารสีที่เรียกคลอโรฟิลล์ ใช้ในการสังเคราะห์
ด้วยแสง
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
2) โครโมพลาสต์ (Chromoplast)
สร้างสารสีต่างๆ ยกเว้นสีเขียว เช่นสีในผลไม้ และดอกไม้
2.7 พลาสติด (Plastid)
3) ลิวโคพลาสต์ (Leucoplast)
เป็นพลาสติด ที่ไม่มีสี
เช่น มันเทศ มันแกว เผือก กล้วย และบริเวณใบที่ไม่มีสี
2.8 เซนทริโอล (Centriole)
พบเฉพาะในสัตว์ และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ และการเคลื่อนที่ ได้แก่ แฟลก
เจลลา และซีเลีย
ประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า ไมโครทิวบูล วางตั้งฉากกัน
โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน
2.8 เซนทริโอล (Centriole)
โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน
โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน
โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน
2.8 เซนทริโอล (Centriole)
2.9 ไซโตสเกเลตอน (Cytoskeleton)
เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็น ร่างแห
ยึดเกาะของออร์แกเนลล์ให้อยู่ตามต้าแหน่ง
แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ ไมโครฟิลาเมนต์ ไมโครทิวบูล และ
อินเตอร์มิเดียตฟิลาเมนต์
ไซโตสเกเลตอน (CYTOSKELETON)
ไซโตสเกเลตอน (CYTOSKELETON)
ไซโตสเกเลตอน (CYTOSKELETON)
นิวเคลียส (Nucleus)
เป็นโครงสร้างที่มักจะอยู่ตรงกลางเซลล์
มักจะย้อมติดสีทึบ สิ่งมีชีวิตทั่วไปจะมี 1 นิวเคลียส
ควบคุมการท้างานของเซลล์ และถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
ส่วนประกอบของนิวเคลียส
ชีววิทยา ม.
3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้น มีช่องเล็กๆ เป็นทางเข้าออกสาร
เรียกว่า นิวเคลียร์ พอร์ (Nuclear Pore)
3.2 โครมาติน (Chromatin)
เป็นสายของ DNA ที่ขดพันไปมา
เมื่อนิวเคลียสมีการแบ่งเซลล์จะขดตัวแน่น และหดสั้นลง
เรียกว่า โครโมโซม (ปาท่องโก๋)
3.3 นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
เป็นบริเวณที่มีลักษณะทึบแสงในนิวเคลียส
ประกอบด้วยโปรตีน และ RNA เป็นส่วนใหญ่
2.3 กอลจิ คอมเพล็กซ์ หรือ กอลจิบอดี (Golgi complex
สรุปออร์แกเนลล์
 ไม่มีเยื่อหุ้ม 3 ออร์แกเนลล์ - ไ รโบโซม เ ซ นทริ โอล แ ละ
ไ ซโทสเกเลตอน
 มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น - ไ ม โทคอนเดรีย นิว เคลียส แ ละคลอโรพลาสต์
 มีเยื่อหุ้ม ชั้นเดียว - ER ก อลจิคอมเพลกซ์ ไ ล โซโซม แ ละแวคิวโอล

Contenu connexe

Tendances

11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
Nokko Bio
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
Pat Pataranutaporn
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 

Tendances (20)

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 

En vedette

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 

En vedette (15)

สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Similaire à บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 

Similaire à บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (20)

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
4
44
4
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
Cell
CellCell
Cell
 
Structure of cell
Structure of cellStructure of cell
Structure of cell
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon (19)

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 

บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต