SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  118
Télécharger pour lire hors ligne
ราก(Root)
 เจริญลงสู่ดินตามแรงดึงดูดของโลกค้าจุนส่วนต่างๆของพืชให้ทรงตัวอยู่ได้
 ดูดและล้าเลียงน้าหน้าที่อื่นๆเช่นสะสมอาหารยึดเกาะการหายใจเป็นต้น
 การศึกษาโครงสร้างของรากมี 2 ลักษณะ คือตามยาวและภาคตัดขวาง
โครงสร้างตามยาวของราก
หมวกราก(Rootcap)
 ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกันอย่างหลวมๆ
 ผลิตเมือกท้าให้หมวกรากชุ่มชืนและอ่อนตัว สะดวกในการชอนไช
 และป้องกันอันตรายให้กับส่วนที่อยู่เหนือขึนไป
โครงสร้างตามยาวของราก
บริเวณเซลล์ก้าลังแบ่งตัว(Regionof celldivision)
 อยู่ถัดจากหมวกรากขึนไป เป็นบริเวณของเนือเยื่อเจริญ
 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่มจ้านวน
โครงสร้างตามยาวของราก
บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Regionof cellelongation)
 อยู่ถัดจากบริเวณเซลล์มีการแบ่งตัวเป็นบริเวณที่เซลล์มีการยืดยาวขึน
โครงสร้างตามยาวของราก
บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่เฉพาะ
 ได้แก่เซลล์ถาวรซึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อท้าหน้าที่ต่างๆเช่นขนราก
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
เอพิเดอร์มิส(Epidermis)
โครงสร้างของรากตามภาคตัดขวาง
เอพิเดอร์มิส(Epidermis)
คอร์เทกซ์ (cortex)
เป็นอาณาเขตระหว่างชันepidermisและstele
ชันในสุดของเรียกendodermisในรากพืชใบเลียงเดี่ยวจะเห็นชัดเจนกว่า
คอร์เทกซ์ (cortex)
คอร์เทกซ์ (cortex)
สตีล(stele)
เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากชันendodermisเข้าไป
steleในรากใบเลียงคู่จะแคบกว่าใบเลียงเดี่ยว
ส่วนประกอบของสตีล
3.1เพอริไซเคิล(pericycle)
 เป็นเซลล์ขนาดเล็ก1-2แถวพบเฉพาะในรากเป็นแหล่งก้าเนิดของรากแขนง
สตีล (stele)
3.1 เพอริไซเคิล (pericycle)
3.2เนือเยื่อล้าเลียง(vascularbundle)
พืชใบเลียงคู่ xylemอยู่ตรงใจกลางเรียงเป็นแฉกไม่เกิน6 แฉก
 มี phloemอยู่ระหว่างแฉกของXylem
สตีล (stele)
3.2 เนื้อเยื่อลำเลียง (vascular bundle)
3.2เนือเยื่อล้าเลียง(vascularbundle)
รากของพืชใบเลียงเดี่ยวมักมีจ้านวนแฉกมากกว่าใบลียงคู่
สตีล (stele)
3.2เนือเยื่อล้าเลียง(vascularbundle)
รากของพืชใบเลียงเดี่ยวมักมีจ้านวนแฉกมากกว่าใบลียงคู่
3.3พิธ(pith)
เป็นบริเวณตรงกลางรากหรือไส้ในของรากเห็นได้ชัดเจนในรากพืชใบเลียงเดี่ยว
ส่วนรากพืชใบเลียงคู่ตรงกลางมักเป็นxylem
โครงสร้างภายในของราก
2) มัดท่อลาเลียง (Vascular Bundle )
โครงสร้างภายในของราก
2) มัดท่อลาเลียง (Vascular Bundle )
โครงสร้ำงของรำกพืชใบเลี้ยงคู่ตำมภำคตัดขวำง
โครงสร้ำงของรำกตำมภำคตัดขวำง Epidermis
Cortex
Endodermis
Pericycle
Xylem
Phloem
การเจริญเติบโตขันที่2 (SecondaryGrowth)ของราก
พบในรากพืชใบเลียงคู่เกิดที่บริเวณวาสคิวลาร์ แคมเบียมของราก
สร้างเพื่อให้รากเพิ่มขนาดขึนมักเกิดที่ส่วนที่อยู่ถัดจากบริเวณขนรากขึนไป
กำรเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (Secondary Growth)
รากแก้ว(Primaryroot )
 ท้าหน้าที่เป็นหลักรับส่วนอื่นๆให้ทรงตัวอยู่ได้ มีขนาดใหญ่กว่ารากอื่นๆ
 รากชนิดนีพบในพืชใบเลียงคู่ที่งอกออกจากเมล็ดโดยปกติ
หน้าที่และชนิดของราก
ชนิดของรากเมื่อแยกตามกาเนิด จาแนกออกเป็ น 3 ชนิดคือ
Primaryroot หรือ รากแก้ว
 รากแขนง(secondaryroot)
 เป็นรากที่มีก้าเนิดและเจริญเติบโตออกมาจากรากแก้ว
 มีก้าเนิดมาจากเนือเยื่อpericycle ในรากเดิม
หน้าที่และชนิดของราก
ชนิดของรากเมื่อแยกตามกาเนิด จาแนกออกเป็ น 3 ชนิดคือ
secondary root หรือ รากแขนง
3.1รากฝอย( fibrousroot)
 เป็นรากเส้นเล็กๆมากมายขนาดสม่้าเสมองอกแทนรากแก้วที่ฝ่อไป
 พบในพืชใบเลียงเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่เช่นข้าวข้าวโพดหญ้า
3.1รากฝอย( fibrousroot)
3.2รากค้าจุน( proproot)
 เป็นรากที่แตกออกจากข้อของล้าต้นที่อยู่เหนือดินเล็กน้อยช่วยพยุงและค้าจุนล้าต้น
 ได้แก่ล้าเจียกข้าวโพดโกงกางและไทรย้อยเป็นต้น
3.2รากค้าจุน( proproot)
3.2รากค้าจุน( proproot)
3.3รากหายใจ( respiratoryroot)
 เป็นรากที่ชูปลายรากขึนมาเหนือพืนดินหรือผิวน้าเพื่อช่วยในการหายใจ
 ได้แก่ล้าพู แสมโกงกางแพงพวยน้าและผักกระเฉด
3.3รากหายใจ( respiratoryroot)
3.3รากหายใจ( respiratoryroot)
3.4รากสะสมอาหาร( storageroot)
 ท้าหน้าที่สะสมอาหาร
 เช่น กระชาย มันเทศมันแกว มันส้าปะหลัง หัวผักกาด แครอท
3.4รากสะสมอาหาร( storageroot)
3.4รากสะสมอาหาร( storageroot)
3.4รากสะสมอาหาร( storageroot)
ล้าต้น(Stem)
เป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึนมาจากรากท้าหน้าที่ชูกิ่งใบ ดอกผล
 และท้าหน้าที่ล้าเลียงอาหารธาตุอาหารและน้า
เนือเยื่อเจริญปลายยอด
เป็นบริเวณปลายสุดของล้าต้นเซลล์บริเวณนีจะแบ่งตัวอยู่ตลอดเวลา
 และท้าหน้าที่ล้าเลียงอาหารธาตุอาหารและน้า
เนือเยื่อเจริญปลายยอด
ใบเริ่มเกิด(leafprimordium)
อยู่ตรงด้านข้างของปลายยอดส่วนที่เป็นขอบของความโค้ง
 ต่อไปจะพัฒนาเป็นใบอ่อน
ใบอ่อน(young leaf)
เป็นใบที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่เซลล์ของใบยังมีการแบ่งเซลล์และเจริญเติบโต
 บริเวณใบอ่อนจะมีตาตามซอกเริ่มเกิดซึ่งจะกลายเป็นกิ่ง
ล้าต้นอ่อน(young stem)
อยู่ถัดจากต้าแหน่งใบเริ่มเกิดลงมา เป็นล้าต้นระยะที่ยังเจริญไม่เต็มที่
 ยังแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจ้านวนและขยายขนาดต่อไปได้อีก
เอพิเดอร์มิส( Epidermis)
อยู่ชันนอกสุดอาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นขนหนามหรือเซลล์คุม
เอพิเดอร์มิส( Epidermis)
อยู่ชันนอกสุดอาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นขนหนามหรือเซลล์คุม
เอพิเดอร์มิส( Epidermis)
อยู่ชันนอกสุดอาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นขนหนามหรือเซลล์คุม
โครงสร้ำงภำคตัดขวำงของลำต้น
คอร์เทกซ์ ( Cortex)
มีอาณาเขตแคบกว่าในราก มีไม่กี่ชันเป็นพวกพาเรงคิงมาและคอลเลงคิมา
เห็นไม่ค่อยชัดเจน(โดยเฉพาะใบเลียงเดี่ยว)
โครงสร้ำงภำคตัดขวำงของลำต้น
โครงสร้ำงภำคตัดขวำงของลำต้น
สตีล( Stele)
มีอาณาเขตกว้างกว่าในราก แบ่งออกจากชันของคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจนนัก
ส่วนประกอบของสตีล( Stele)
1) กลุ่มท่อล้าเลียง(Vascular Bundle)
อยู่เป็นกลุ่มๆด้านในเป็นไซเลมด้านนอกเป็นโฟลเอ็ม
ในใบเลียงคู่จะเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกันส่วนใบเลียงเดี่ยวจะกระจายตัว
ส่วนประกอบของสตีล( Stele)
โครงสร้ำงภำคตัดขวำงของลำต้น
2) วาสคิวลาร์เรย์(Vascular Ray)
พบในใบเลียงคู่เป็นเซลล์พาเรงคิมาที่อยู่ระหว่างกลุ่มท่อล้าเลียง
เป็นจุดเชื่อมของพิธกับคอร์เทกซ์
3) พิธ (Pith)
 อยู่ชันในสุดที่ใจกลางของล้าต้นในใบเลียงเดี่ยวจะมองไม่เห็นขอบเขตของพิธ
ประกอบด้วยเนือเยื่อพาเรงคิมาท้าหน้าที่สะสมแป้งหรือสารต่างๆ
ช่องพิธ( PithCavity)
พบในพืชใบเลียงเดี่ยวบางชนิดที่เมื่อมีอายุมากขึน
พบว่าใจกลางของต้นจะสลายกลายเป็นช่องเช่นไผ่ และหญ้า
ช่องพิธ( PithCavity)
การเจริญเติบโตขันที่2 (SecondaryGrowth)
พบในพืชใบเลียงคู่บริเวณแคมเบียมท่อล้าเลียง(VascularCambium)
โดยเซลล์ที่อยู่ไกลจากแคมเบียมท่อล้าเลียง ถือเป็นขันแรก(อายุมากกว่า)
กำรเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (Secondary Growth)
การเจริญเติบโตขันที่2 (SecondaryGrowth)
วงปี (Annual ring)
ในรอบ1 ปี จะมีการเจริญเติบโตขันที่ 2มากหรือน้อยตามปริมาณน้าและอาหาร
น้าและแร่ธาตุมากไซเลมจะเจริญเร็ววงกว้างสีจาง
 น้าและแร่ธาตุน้อย ไซเลมจะเจริญช้า วงแคบสีเข้ม
วงปี (Annual ring)
วงปี (Annual ring)
วงปี (Annual ring)
องค์ประกอบของเนือไม้
 แก่นไม้(Heartwood)
คือXylemที่มีอายุมากสุดจะอยู่ในสุดและจะไม่ท้าหน้าที่ล้าเลียงน้าอีก
จะสีเข้มกว่าและแข็งแรงกว่าบริเวณอื่นๆ
กระพีไม้ (SapWood)
คือXylemที่ยังล้าเลียงน้าอยู่อยู่ถัดจากแก่นไม้มักจะมีสีจางกว่า
องค์ประกอบของเนื้อไม้
เปลือกไม้ (Bark)
 ส่วนที่อยู่ถัดจากVascular Cambium ออกไปข้างนอก
ในต้นไม้ที่มีอายุน้อยเปลือกไม้จะประกอบด้วยEpidermisCortexและPholem
ต้นไม้ที่มีอายุมากจะประกอบด้วยCork CorkCambiumและPholemขันที่2
เปลือกไม้ (Bark)
เปลือกไม้ (Bark)
องค์ประกอบของเนื้อไม้
 ล้าต้นเหนือดิน
1.1ไม้ยืนต้น(Tree)
1.2ต้นไม้พุ่ม(shrub)
1.3ต้นไม้ล้มลุก(herb)
1.4ล้าต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่พิเศษ
ชนิดของลำต้น
ชนิดของลำต้น
ต้นไม้พุ่ม (shrub)
ชนิดของลำต้น
ต้นไม้ล้มลุก (herb)
1.4ล้าต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่พิเศษ
1) ล้าต้นเลือย(creepingstem)
เป็นล้าต้นที่ทอดหรือเลือยขนานไปตามผิวดินหรือน้า ตามข้อมักมีรากงอก
เช่นผักบุ้ง ผักตบชวาแตงโมฟักทองและสตอเบอรี่
ลำต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้ำที่พิเศษ
ครีพพิง สเต็ม (creeping stem)
2) ล้าต้นไต่ ( Climbingstem)
เป็นล้าต้นที่เลือยหรือไต่ขึนที่สูงพืชพวกนีมักมีล้าต้นอ่อน
 แบ่งออกเป็นชนิดต่างๆตามลักษณะของการไต่ได้ดังนี
 การพันเกลียว , มือเกาะ, รากไต่ , หนาม
2) ล้าต้นไต่ ( Climbingstem)
ก. การพันเกลียว(twiningstem)
 เช่นต้นถั่วต้นบอระเพ็ดและเถาวัลย์ต่างๆ
ลำต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้ำที่พิเศษ
2.1 ทวินนิง สเต็ม (twining stem)
2) ล้าต้นไต่ ( Climbingstem)
ข. มือเกาะ(tendrilstem)
 เช่นต้นองุ่นบวบน้าเต้าฟักทองแตงกวา
ลำต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้ำที่พิเศษ
2.2 มือเกำะ (tendril stem)
2) ล้าต้นไต่ ( Climbingstem)
ค.รากไต่ (Root climbing)
 มีรากที่งอกออกมาตามข้อเพื่อไต่ขึนที่สูงเช่นพริกไทยพลู และพลูด่าง
2.3 รูท ไคลบบิง (root climbing)
2) ล้าต้นไต่ ( Climbingstem)
ง. หนาม (stemspine)
 เช่นเฟื่องฟ้า มะนาว มะกรูด ไผ่ และไมยราบ
2.4 หนำม (stem spine)
แง่งหรือไรโซม(Rhizome)
 มีการสะสมอาหาร เช่นขมินขิง ข่า
ทูเบอะ(Tuber)
 เป็นล้าต้นใต้ดินที่เติบโตมาจากปลายไรโซมแต่จะอวบอ้วนกว่า
 เช่นหัวมันฝรั่งหัวมันมือเสือ มันกลอย
ทูเบอะ(Tuber)
หัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb)
 บริเวณปล้องที่ล้าต้นมีใบเกล็ดที่ซ้อนกันหลายชันจนเห็นเป็นหัว
 อาหารสะสมอยู่ในใบเกล็ดเช่นหัวหอมหัวกระเทียม
บัลบ (bulb)
บัลบ (bulb)
บัลบ (bulb)
คอร์ม(Corm)
 มีลักษณะล้าต้นคล้ายบัลบ์แต่จะมีอาหารละสมอยู่ในล้าต้นแทนใบเกล็ด
 เช่นเผือก, แห้ว
คอร์ม (Corm)
คอร์ม (Corm)

Contenu connexe

Tendances

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
feeonameray
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
Pinutchaya Nakchumroon
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
Thanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 

Similaire à อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
Oui Nuchanart
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำ
Nokko Bio
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
dnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
Nokko Bio
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
Darika Kanhala
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 

Similaire à อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557 (20)

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำ
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 

อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557