SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
คำ�นำ�
	        ๔		ปีกับสุเมธี	 	จันทร์หอม		จัดทำ�ขึ้นเพื่อร�ยง�นผลก�รบริห�ร
จัดก�รศึกษ�	ภ�ยใต้ก�รบริห�รง�นของ	น�ยสุเมธี		จันทร์หอม	และทีมง�น	       	
ในรูปแบบของง�นประช�สัมพันธ์	 	 ที่เน้นลีล�ก�รเขียนแบบง่�ยๆ	 อ่�น	
สบ�ย	ๆ		ไม่หนักแบบเชิงวิช�ก�ร			ซึ่งในเชิงวิช�ก�ร		เขตพื้นที่ฯ		ก็ได้จัด
ทำ�ออกม�ในรูปแบบของร�ยง�นผลก�รปฏิบัติง�นประจำ�ปี	 	 	 ซึ่งคงจะพิมพ์
ออกม�ให้ท่�นผู้อ่�นได้ติดต�มอ่�นกันในไม่ช้�นี้		
	        เรื่องร�วทั้งหมดภ�ยในเล่ม	 	 ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของก�รทำ�ง�น
ของบุคล�กรในสังกัด	สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ลพบุรีเขต	๑	
ผ่�นนโยบ�ยและกิจกรรมต่�งๆ	 ที่กำ�หนดโดยองค์กร	 	 	 โดยมีหลักคิด	 คือ	
ทุกคนต้องทำ�ง�น	 	 ทำ�ง�นและทำ�ง�น	 	 เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
องค์กร			โดยเน้นก�รทำ�ง�นเป็นทีม	เป็นหมู่คณะ		ก�รร่วมแรงร่วมใจกัน	
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน		ภ�ยใต้วัฒนธรรมองค์กร		“	จิตดี		ทีมดี		พัฒน�ดี”	
ของพวกเร�			หวังเป็นอย่�งยิ่งว่�		เรื่องร�วที่จะได้อ่�นภ�ยในเล่ม	คงจะ
เกิดประโยขน์ต่อท่�นผู้อ่�นไม่ม�กก็น้อย		

	        	      	       	       	       	        	               	
	        	      	       	       ภคจิรา จันทร์แดง                 	
	        						 										นักประช�สัมพันธ์		ชำ�น�ญก�ร
จ                าก	 ปฐมบทแห่งการเปลี่ยนแปลง	 ที่อยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านการ
                  ทำางานทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ...	 จากภาพกว้าง	 ก็โฟกัสให้
แคบลงมา	เพื่อให้ขอบข่ายการทำางานชัดเจนขึ้น...จนถึงวันนี้	๔	ปีเต็ม	นับจากวันที่	๒	
ตุลาคม	๒๕๕๑	ที่ลูกผู้ชายชื่อ		สุเมธี จันทร์หอม ย่างก้าวเข้ามากุมบังเหียนองค์กร
ที่ชื่อว่า	 สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ลพบุรี เขต ๑	 ที่ครอบคลุมพื้นที่	
๔	อำาเภอ	ประกอบด้วย	อำ�เภอเมือง อำ�เภอโคกสำ�โรง อำ�เภอท่�วุ้ง และอำ�เภอ
บ้�นหมี่	มีทีมงานระดับคีย์แมนคนสำาคัญ	จำานวน	๑๓	คน		ผอ.กลุ่ม	๘	คน		มีโรงเรียน
ในสังกัดรัฐบาล	จำานวน	๑๘๓	แห่ง		นักเรียน	จำานวน	๒๗๒๑๕	คน	โรงเรียนเอกชน	
จำานวน	๓๒	โรงเรียน	นักเรียน	๒๓๘๔๓	คน	
ผู้บริหารสถานศึกษา	 ๒๐๕	 คน	 ครูผู้สอน	
สังกัดรัฐบาล	 จำานวน	 ๑๘๒๙	 คน	 	 สังกัด
เอกชน	จำานวน	๑๑๙๓	คน		ศึกษานิเทศก์	
๓๑	คน	บุคลากรทางการศึกษาอื่น	จำานวน	
๖๗	คน	




	        ตลอดระยะเวลา	๔	ปีเต็ม	กับภารกิจที่ท้าทาย	ด้วยใจที่มุ่งมั่น	ฝ่าฟันปัญหา
และอุปสรรคนานัปการ	นักบริหารร่างท้วม	ใช้ทั้งอุดมการณ์และมันสมอง	กับอีกสองมือ
บวกกับหัวใจที่กล้าแกร่ง		คิดผลิตงานผ่านนโยบายและกระบวนยุทธ์ต่าง	ๆ	เพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้ก้าวหน้า	จนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลทั่วไป		ส่งผลให้ได้รับ
รางวัลอันดับ	 ๑	 	 ด้านการบริหารจัดการตามมาตรฐานสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา	
ในปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	 ที่ผ่านมา	 พร้อมได้รับการคัดเลือกจาก	 สพฐ.	 ให้นำาเสนอผล
การดำาเนินงานในที่ประชุมผู้อำานวยการเขตฯ	 ทั่วประเทศ	 ณ	 สวนพนาวัฒน์	 อ.ฮอด	
จ.เชียงใหม่		เมื่อ	๒๕	เมษายน	๒๕๕๕		ที่ผ่านมา...
                                                   ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๑
ทำาไมลพบุรี	 เขต	๑	จึงมีผลการบริหาร
                                             จั ด การเป็ น เลิ ศ ขนาดนั้ น ...แน่ น อนว่ า
                                             กระบวนการทำางาน	 ต้องผ่านการคิด
                                             การลงมือทำา	 การวัดและประเมินผล
                                             พร้ อ มปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขกั น อย่ า งเข้ ม ข้ น	
                                             เดี๋ยวเรามาดูกันว่า...	 ๔	 ปี	 กับสุเมธี	
                                             จันทร์หอม	 หนุ่มเมืองสิงห์ฯ	 ที่ยิ่งใหญ่
                                             ในวิธีคิดและการทำางานคนนี้	 คนที่ชอบ
                                             พูดว่าผมไม่หล่อ	 ผมไม่เก่ง	 ผมจึงต้อง
                                             ทำางาน	ทำางานและทำางาน	คนนี้มีวิธีคิด
                                             และบริหารจัดการอย่างไรจึงประสบผล
                                             สำาเร็จอย่างท่วมท้น	 สามารถก้าวขึ้นมา
                                             เป็นผู้บริหารแถวหน้าได้อย่างสง่างาม	…




                                             เหตุแห่งความสำาเร็จ
                                                วิเคร�ะห์เป้�ประสงค์ … เพื่อกำ�หนด
                                                ทิศท�งก�รทำ�ง�น
    	          วิธีคิดของท่าน	ผอ.นักคิดคนนี้	 	อันดับแรก	ยิงตรงไปที่วัตถุประสงค์ของ
    การบริหารจัดการ	หรือหน้าที่หลักว่าเราจะต้องทำาอะไร	เกี่ยวข้องกับอะไร	ใครบ้าง	
    ให้ได้ก่อนเป็นอันดับแรก	 จากการร่วมคิดวิเคราะห์	 สังเคราะห์โดยกระบวนการมี
    ส่วนร่วมผ่านองค์คณะบุคคล	ได้แก่	กพป./	ก.ต.ป.น../อ.ก.ค.ศ.	ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง
    ทุกภาคส่วน	โดยเชื่อมโยงนโยบายของผู้บังคับบัญชากับบริบทองค์กรที่มีทั้งปัจจัย
๒    y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ภายในและปัจจัยภายนอก	 อันมีผลกระทบโดยตรงต่อการดำาเนินงาน	 พบว่า	 สิ่งที่เรา
ต้องทำาให้เกิดมีขึ้นให้ได้	คือ	
           ๑.	 ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน
           ๒.	 ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 มีคุณธรรม
                นำาความรู้	ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
           ๓.	 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา	เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
           ๔.	 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีการบริหารจัดการที่มี
                ประสิทธิภาพ
           ๕.	 ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ	คณิตศาสตร์	วิทยาศาสตร์	
                และคอมพิวเตอร์สู่มาตรฐานสากล
           ๖.	 บุคลากรและผู้เรียนมีจิตสำานึกเห็นคุณค่า	 สืบสานศิลปวัฒนธรรมและ
                ภูมิใจในความเป็นไทย
           ๗.	 บุคลากรและผู้เรียนมีจิตสำานึก	 เห็นคุณค่า	 อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                และสิ่งแวดล้อม

                                                        	 ทั้งหมดนั้นเป็นพันธสัญญา
                                                        ที่ พ วกเราทุ ก คนตระหนั ก รู้
                                                        ร่วมกันว่า	 ต้องทำาให้เกิดมี
                                                        ขึ้ น ให้ ไ ด้ ภ ายใต้ บ ริ บ ทของ
                                                        ตนเอง	 ที่มีทั้งอุปสรรคและ
                                                        ปัญหานานัปการ	 แต่ท่าน	
                                                        ผอ.เขตฯ	 คนนี้	 ไม่เคยมอง
                                                        ว่าปัญหาจะเป็นอุปสรรคต่อ
                                                        การทำางานเลย	 กลับมองว่า
                                                        เป็นความท้าทาย	 เป็นแรง
บันดาลใจที่จะต้องก้าวผ่านไปให้ได้	 ซึ่งหลายคนมักได้ยินคำาพูดของท่านอยู่สม่ำาเสมอว่า	
“ก�รทำ�ง�นบนคว�มพร้อมสมบูรณ์แบบ แล้วประสบผลสำ�เร็จนั้น มันธรรมด�เกินไป
ใคร ๆ ก็ทำ�ได้ แต่ก�รทำ�ง�นหนักบนคว�มข�ดแคลนแล้วประสบผลสำ�เร็จนั้น นับเป็น
คว�มสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่และน่�ภ�คภูมิใจกว่� ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ธรรมด�เลย”	 นั่นหมาย
ถึงว่าต้องทำางานให้หนักมากขึ้นกว่าปรกติ	จึงจะได้ผลลัพท์เท่ากับองค์กรที่มีความพร้อม
                                                       ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y     ๓
และต้องหนักให้มากยิ่งขึ้นไปอีก	 หากต้องการผลลัพท์ที่เหนือกว่าองค์กรที่มีความพร้อม	
นี่คือ	 ที่มาของคำาว่า	 ทำางาน	 ทำางาน	 และทำางาน	 ซึ่งคำาว่าทำางานของท่าน	 ก็มีความ
หมายเป็นนัยยะกำากับอยู่	เช่น	ต้องทำางานให้รวดเร็ว	ถูกต้อง	และประทับใจผู้รับบริการ	
เมื่อทำางานแล้วต้องมีการพัฒนางานให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ	 สุดท้ายต้องรู้จัก
พัฒนาองค์กรด้วยการทำางานให้มาก	 ทำาให้เกินกว่าหน้าที่และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร	




จึงจะถือเป็นการทำางานให้ความหมาย
ของตัวท่าน	ผอ.เขตฯ	คนนี้	ซึ่งแน่นอน
ว่า	 นี่คือหลักคิดใหม่ขององค์กรที่ทุกคน
รับทราบและต้องปรับตัว	 โดยมีกรอบ
กติกาวัฒนธรรมองค์กรที่ท่าน	ผอ.เขตฯ	
นักพัฒนา	 กำาหนดไว้เป็นแนวทางคือ	
“จิตดี ทีมดี พัฒน�ดี”	 ที่มีทั้งการฝึก
วินัยด้วยการเข้าแถวเคารพธงเช้าในเช้าวันจันทร์เว้นวันจันทร์	 ตั้งแต่	 	 ๘.๓๐	 –	 ๘.๔๕	
น.	 โดยประมาณ	 และการฝึกจิตให้นิ่งสงบเพื่อสร้างพลังด้วยการสวดมนต์นั่งสมาธิในทุก
วันศุกร์เว้นวันศุกร์	ตั้งแต่เวลา	๑๕.๓๐	–	๑๖.๓๐	น.	โดยประมาณ	ซึ่งพวกเราก็สามารถ
ปรับตัวได้เป็นอย่างดี

	          เมื่อบุคลากรเริ่มปรับตัว	เริ่มเรียนรู้	และปรับคลื่นการทำางานได้อย่างลงตัวกับ
อุดมการณ์ของผู้บริหารแล้ว	ในปีต่อมา	ท่าน	ผอ.เขตฯ	นักคิด		นักพัฒนา		จึงไม่รอช้า
เริ่มปรับทิศทางการทำางานให้เป็นระบบ	มีระเบียบแบบแผน	มีแนวทาง	มีทิศทางการทำางาน
๔   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ที่ชัดเจนทันที			หลังจากปีแรกให้แค่แนวคิดและหลักการทำางาน			ด้วยการประกาศให้	
ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๓ คือ ปีแห่งก�รพัฒน�คุณภ�พก�รศึกษ�	ทันที	โดยมุ่งหวังให้ทุก
ชั่วโมงการเรียนการสอน	ต้องมีคุณภาพ	ผ่านเครื่องมือกำากับคุณภาพ	๓	ประการ	คือ




          ครูคุณภ�พ		ที่ประกอบไปด้วย		
	         ๑.	ต้องเป็นผู้มีความรู้ดี		
	         ๒.	เป็นผู้สอนที่ดี		
	         ๓.	เป็นคนดี		
	         ๔.	รู้จักช่วยเหลือสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างดี			




	        นักเรียนคุณภ�พ 	ก็คือ			
	        ๑. จะต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประก�ร			อันประกอบด้วย	                    	
๑)	รักชาติ	ศาสน์	กษัตริย์		๒)	ซื่อสัตย์สุจริต		๓)	มีวินัย		๔)	ใฝ่เรียนรู้		๕)	อยู่อย่าง
พอเพียง	๖)	มุ่งมั่นในการทำางาน	๗)	รักความเป็นไทย		๘)	มีจิตสาธารณะ		
	        ๒. จะต้องมีสมรรถนะผู้เรียน ๕ ประก�ร	 ก็คือ	 	 ๑)	 มีความสามารถใน
การสื่อสารได้ดี	 	๒)	มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์	 สังเคราะห์ได้อย่างเป็นระบบ	
๓)	มีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดี	๔)	มีทักษะในการดำารงชีวิต		และ	๕)	มีความ
สามารถในการใช้เทคโนโลยี

                                                      ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y     ๕
๓. ผ่�นเกณฑ์ม�ตรฐ�นตัวชี้วัดของหลักสูตรชั่วโมงคุณภ�พ		คือ
	        			     ๑)	ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้
	        	       ๒)	ครูเตรียมการสอน
	        	       ๓)	ครูสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
	        	       ๔)	มีการวัดและประเมินผลการเรียน




๖   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
จากนโยบายดังกล่าว	 ภารกิจ        ความต้ อ งการของผู้ ป กครองและชุ ม ชน
ที่ ยิ่ งใหญ่ จึ ง ถู ก มอบหมายผ่ า นความไว้   เพิ่มเติม	 และเด็กต้องรู้จักกตัญญูรู้คุณเป็น
วางใจของท่าน	ผอ.เขตฯ	สู่บุคลากรและ             ที่ตั้ง		พร้อมมีคุณภาพเชิงวิชาการคับแก้ว	
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน	 ปีนี้จึงเป็นปีที่    ซึ่งแน่นอนว่า	 พวกเราทุกคน	 ต้องทำางาน
พวกเราทุกคนทำางานกันอย่างหนักหน่วง	            หนักเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว	 เพราะลำาพัง
เป้าหมายอยู่ข้างหน้า	คือ	เส้นชัยสุดท้าย        การทำ า งานเพื่ อ สนองความต้ อ งการของ
คือร่วมกันประเมินผลการดำาเนินงานเมื่อ          ตนเองและต้นสังกัดที่ว่ายากแล้ว	 การ
สิ้นปีการศึกษา...ซึ่งจากผลการประเมิน	          คำานึงถึงความต้องการของผู้ปกครองและ
พบว่า	 ผลการดำาเนินงานเป็นที่พึงพอใจ           ชุมชนยิ่งยากไปกว่า	 แต่คนอย่าง	 สุเมธี	
ทีมงานมีความเห็นพ้องต้องกันว่า	 ต้องรุก        จันทร์หอม	ที่มีปณิธานที่แน่วแน่...			“แม้
คืบไปอีกก้าว	 นั่นคือ	 ต้องพัฒนาเด็กใน         ต้องห�ม ก็ต้องสู้เพื่อแผ่นดิน”	 มีหรือ
ด้านคุณธรรมให้ควบคู่ไปกับคุณภาพด้วย	           ที่จะหวั่นไหว	 ใช้ทั้งบุ๋นและบู๊สู้โจทย์จน




นโยบายการทำางาน	 ปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	             อึ้ง	 ทึ่งไปทั้งวงการ	 ในที่สุดสำานักงานเขต
จึงเกิดขึ้น	 นั่นคือ	 ปีแห่งก�รพัฒน�           พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี	 เขต	๑	
คุณภ�พและคุณธรรม ปีก�รศึกษ�                    ก็ได้คว้ารางวัลอันดับ		๑	จากการประเมิน
๒๕๕๔	 	 ที่มุ่งหวังพัฒนาเด็กให้มีความรู้       ผลในกลยุทธ์ที่	 ๕	 เรื่องการพัฒนา
ควบคู่ไปกับคุณธรรม	 โดยยังคงหลักการ            ประสิทธิภาพการบริหารฯ	ด้านการบริหาร
และแนวคิดเดิม	 เพียงแต่ต้องเสริมสร้าง          จัดการศึกษาตามมาตรฐานสำานักงานเขต
คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมให้ เ กิ ด มี ขึ้ นในมโน    พื้นที่การศึกษา	 วยคะแนนเฉลี่ย	 มา
                                                                 ด้                ๓.๗๕	
สำานึกของเด็กให้ได้	 ผ่านกิจกรรมและ            ครอบครอง	คุ้มค่า	คุ้มราคา	นักสู้ภูธรและ
กระบวนการที่หลากหลาย	 การคำานึงถึง             ทีมงานเรียกว่า	 หายเหนื่อยไปตามๆ	 กัน	
                                                        ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y    ๗
ร�งวัล คือ เกียรติยศ	 	 คือ	           กางออก	 แล้วปล่อยให้กระบวนการคิด
ของขวัญอันล้ำาค่า	 แต่ก็มิได้หมายความ             วิเคราะห์	 สังเคราะห์	 ทำางานผ่านคณะ
ว่า	 จะต้องหยุดอยู่เพียงเท่านี้	 ด้วย             กรรมการต่าง	 ๆ	 เพื่อตกผลึกความคิด	
เกียรติของนักบริหาร	 ด้วยพันธสัญญา                จนกระทั่ง...	 แผนที่สำาหรับการเดินทาง
ที่ว่าไว้	 จะทำาอย่างไร	 จึงจะผลิต                ไปสู่เป้าหมายก็บังเกิดขึ้น	นั่นคือ
บุคลากรที่มีคุณภาพให้กับประเทศชาติ                นโยบาย	 “ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๕ ปีแห่ง
ในอนาคต	 โดยเฉพาะอนาคตที่อีกไม่                   ก�รพัฒน�คุณธรรมและคุณภ�พ”	 ที่




กี่อึดใจ	 จะมีผู้คนมากมายหลายหลาก                 ไม่เพียงตอบโจทย์ตนเอง	           โจทย์ของ
วัฒนธรรมและภาษา	จาก	๑๐	ประเทศ                     กระทรวง	 และโจทย์ของชุมชนแล้ว	 ยัง
เครือข่ายสมาคมอาเซียน	 เข้าประเทศ                 ต้องตอบโจทย์ธรรมชาติได้ด้วย	 นั่น
นี้	 ออกประเทศนั้น	 เป็นว่าเล่น	 เพื่อ            คือ	 เด็กต้องอยู่ในโลกของความเป็น
แสวงหาโอกาสที่ดี	 อนาคตที่แจ่มใสกว่า..            จริง	 โลกแห่งการแข่งขันได้อย่างมีความ
แล้วลูกหลานของเราจะเป็นเช่นไร	 หาก                สุข	ผ่านโมเดลที่เขตพื้นที่ฯ	ตั้งไว้	นั่นคือ	
เราพึ ง พอใจกั บ รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ และหยุ ด   นอกจากเด็กจะดีแล้ว	ต้อง	เก่งด้วยต้อง
การคิดและพัฒนาแต่เพียงเท่านี้...เพื่อ             มี คุ ณ ลั ก ษณะของความเป็ น คนยุ คใหม่ 	
ตอบแทนคุณของแผ่นดิน	 แผนการ                       ใฝ่รู้ใฝ่เรียน	 ใช้เทคโนโลยีเป็น	 ใช้ภาษา
ทำ า งานที่ ห วั ง พั ฒ นาเด็ กไทยให้ มี ค วาม    อังกฤษได้	 	 รวมทั้งต้องเตรียมอนาคต
พร้อมสู้เพื่อนบ้านในอาเซียนได้	 จึงถูก            ของตนเองเป็นด้วย




๘    y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ทั้งหมดนั้น	 	 คือ	 	 กรอบความคิดที่ถูกวางไว้อย่างเป็นระบบ	 นำาไปสู่การ
ปฎิบัติและพัฒนาอย่างมีระเบียบแบบแผน	เป็นขั้น	เป็นตอน	ในตลอดระยะเวลา	๔	ปี
โดยผ่านกระบวนการ	 แผนงาน	 กิจกรรม	 และโครงการต่าง	 ๆ	 ตามยุทธวิธีที่วางไว้	
ภายใต้หลักคิด	“ต้องพิชิตที่ตัวชี้วัด”	กลยุทธ์ที่วางไว้	มีดังนี้
          ๑	 สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          ๒	 ปฏิรูปการเรียนรู้สู่การใช้ความรู้คู่คุณธรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
          ๓	 พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้
          ๔	 พัฒนาสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา	 สถานศึกษา	 ให้เป็นองค์กรแห่ง
               การเรียนรู้
          ๕	 สร้างความเข้มแข็งในคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาและ
               สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
          ๖	 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
          ๗	 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับสู่สากล
          ๘	 ส่งเสริมให้บุคลากรและผู้เรียน	 มีจิตสำานึก	 เห็นคุณค่าการอนุรักษ์
               ทรัพยากรธรรมชาติ	สิ่งแวดล้อม	และภาคภูมิใจในความเป็นไทย
	         ตามดูกันในหน้าต่อไปดีกว่าว่า		ข้าศึกของเรา	คือ	เป้าหมาย	๗	ประการนั้น
ท่าน	ผอ.นักคิด	นักวางแผน	สุเมธี จันทร์หอม		พร้อมทีมงาน		ท่านมียุทธวิธีตีจน
แตกพ่าย		ไร้ข้อกังขาอย่างไร




                                                 ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๙
พ่อแม่อุ่นใจ... กับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา




 ๑๐   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ค           วามคาดหวังอย่างหนึ่งที่ผู้ปกครองนักเรียนต้องการคืออยากให้ลูกหลาน
             ได้เรียนในโรงเรียนที่ดี	 มีคุณภาพ	 	 มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของสังคม
โดยทั่วไป	 ดังนั้น	 เราๆ	 ท่านๆ	 จึงมักจะได้เห็นบรรดาพ่อแม่พากันหอบลูกจูงหลาน
                                                 แย่ ง กั น เข้ า เรี ย นในโรงเรี ย นดั ง ๆ	
                                                 ใหญ่ๆ	 ในเมือง	 	 ซึ่งเรื่องนี้	 ท่าน	
                                                 ผอ.เขตฯ	 ผู้มีวิสัยทัศน์ยาวไกลได้
                                                 ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาดั ง กล่ า วจึ ง มี 	
                                                 นโยบายสำ า คั ญ หวั ง ผลั ก ดั น ให้
                                                 โรงเรียนใกล้บ้าน	 	 เป็นโรงเรียน
                                                 ที่ดี	 มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของ	
ผู้ปกครองไม่ต้องลำาบากเดินทางไปส่งลูกหลานให้เรียนไกลบ้าน	 ไกลหู	 ไกลตา	 ระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ปกครองจึงเกิดขึ้น	
และมีการดำาเนินการอย่างเป็นรูปแบบ	 เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน	 และมีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
		       การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาถือเป็นหัวใจสำาคัญในการ
พัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา	 	 เน้นการพัฒนาทั้งระบบ	 ให้
ความสำาคัญแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาของสถานศึกษามีแนวทางในการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของสถาน
ศึกษาในสังกัดโดยยึดระบวนการพัฒนา	 ๓	 รูปแบบ	 	 อย่างต่อเนื่อง	 ได้แก่	 	 การจัด
ระบบดูแลโรงเรียน		การนิเทศเป็นระบบครบวงจร			และการประเมินคุณภาพภายใน	
	        ก�รจัดระบบดูแลโรงเรียน :	 เขตพื้นที่ฯ	 เน้นกระบวนการนิเทศ	 กำากับ	
ติดตาม	ดูแลให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาในสังกัด	โดยจัดกลุ่มสถานศึกษา	เป็นศูนย์เครือข่าย




                                                        ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y     ๑๑
พัฒนาคุณภาพการศึกษา	 	 ต่อมา
ภายหลังเปลี่ยนเป็นกลุ่มโรงเรียน	
มีทั้งหมด	๑๙	กลุ่มโรงเรียน		และ
แต่งตั้งคณะนิเทศประจำากลุ่มโรงเรียน
ประกอบด้วย		รองผู้อำานวยการเขตฯ
และศึกษานิเทศก์	 ทุกคณะนิเทศ
กำ า หนดปฏิ ทิ น และทำ า การนิ เ ทศ	
ไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ	๒	ครั้ง	
          ก�รนิเทศเป็นระบบครบวงจร :		มีการวางแผนการนิเทศฯการดำาเนิน
งานของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ		เน้นความครอบคลุม	ทั่วถึง	และต่อเนื่อง		โดยเริ่ม
จัดประชุมกลุ่มย่อยทำา	Focus	Group	สภาพปัญหาและความต้องการจำาเป็นของสถาน
ศึกษาในแต่ละกลุ่มฯ	จัดทำาคู่มือการนิเทศ			หลักสูตรนิเทศที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการของสถานศึกษา			พัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์	 			แต่งตั้ง	
คณะนิเทศ	 กำากับ	 ติดตามการดำาเนินงานของสถานศึกษา	 ในสังกัดทุกแห่งโดยคณะ
กรรมการติดตามตรวจสอบ	ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่ฯ			๒	เดือน/
ครั้ง	แล้วสรุปรายงานผลการนิเทศฯเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไข	ปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
	           ก�รประเมินคุณภ�พภ�ยใน                     :	               ใช้กระบวนการ
ประเมินคุณภาพภายในเป็นกลไกสำาคัญในการกำากับ	          	         	          ติดตามการ
ดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด	 	 	 โดยให้ความสำาคัญกับมาตรฐาน	
ผู้ประเมินคุณภาพภายใน	ระดับเขตพื้นที่การศึกษา	มีการจัดทำาหลักสูตร	และฝึกอบรม
ผู้ประเมินคุณภาพภายใน	 สรรหาผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ	 ของเขตพื้นที่ฯ	
จัดทำาคู่มือสำาหรับการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด	 เพื่อให้ผู้ประเมินคุณภาพ
                                             ภายในมี ม าตรฐานใกล้ เ คี ย งกั น	
                                             สามารถ	 นิเทศ	 	 แนะนำา	 	 สถาน
                                             ศึ ก ษาได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพและเป็ น
                                             แนวทางเดียวกัน
                                             	          ผลจากการดำาเนินงาน
                                             ผ่านกระบวนการทั้ง	๓	ข้างต้น
                                             ทำาให้เขตพื้นที่ฯ	เกิดนวัตกรรมในการ
                                             พั ฒ นายกระดั บ คุ ณ ภาพโรงเรี ย น
๑๒   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ทั้งระบบ		มาอย่างต่อเนื่อง	เช่น
                                               			 ๑.		กระบวนการ	Benchmarking
                                               พัฒน�ยกระดับคุณภ�พสถ�นศึกษ�	            	
                                               ส่งผลให้สถานศึกษามีโอกาสแลกเปลี่ยน
                                               เรียนรู้ซึ่งกันและกัน	    มีการพัฒนา
                                               คุณภาพการศึกษา	 ให้มีคุณภาพและ
                                               มาตรฐานสูงขึ้น	 จนสามารถเป็นแบบ
                                               อย่างให้สถานศึกษาอื่น	 ๆ	 ได้	 เช่น	
                                               โรงเรียนวัดท่าแค	โรงเรียนบ้านหลุมข้าว
                                               โรงเรียนซอย	๓	สาย	๔	ซ้าย		โรงเรียน
                                               อนุบาลลพบุรี	 	 และโรงเรียนเมืองใหม่	
                                               “ชลอราษฎร์สังสฤษฎ์”	เป็นต้น
                                               	        ๒. ก�รจัดก�รคว�มรู้ เพื่อเพิ่ม
                                               ประสิทธิภ�พองค์กร (Knowledge
Management : KM)					ส่งผลให้สถานศึกษามีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง
สมำ่าเสมอมีการศึกษาดูงานได้รับแนวทางในการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาอย่างหลากหลาย	 มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้การจัดการ
ความรู้	 	 จนสามารถเป็นต้นแบบการจัดการความรู้ให้แก่สถานศึกษาอื่น	 ๆ	 ได้	 	 เช่น	
โรงเรียนบ้านวังจั่น	โรงเรียนบ้านถลุงเหล็ก	โรงเรียนบ้านหลุมข้าว	โรงเรียนวัดหนองพิมาน
โรงเรียนวัดบ้านดาบ		และโรงเรียนอนุบาลท่าวุ้ง		เป็นต้น
		        ๓.	กระบวนการ		Coaching “พ�ทำ� นำ�สู่ก�รพัฒน�”	ส่งผลให้เขตพื้นที่
การศึกษาฯ	 มีการนิเทศอย่างเป็นระบบ	 สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ	 ชี้แนะ	
อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง	
	         การดำาเนินงานผ่านกระบวนการทั้ง	๓	ประการ	ส่งผลให้เขตพื้นที่การศึกษาฯ
มีการนิเทศอย่างกัลยาณมิตร	 เขตพื้นที่ฯ	 ได้รู้สภาพปัจจุบันและปัญหาที่แท้จริงของ
สถานศึกษา	 เพื่อหาแนวทาง/ปัจจัยสนับสนุนที่เหมาะสมต่อไป	 เกิดนวัตกรรมในการ
พัฒนาอย่างหลากหลายทุกระดับ	ทั้งครูผู้สอน		ผู้บริหารสถานศึกษา		นักเรียน	และ
ผู้นิเทศ		สถานศึกษาได้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น		ทำาให้มีแนวทางในการพัฒนา
อย่างหลากหลาย	 สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบท

                                                      ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๑๓
ของตนเองมากขึ้นและมีการพัฒนานำาแผนไปสู่การปฏิบัติที่เป็นระบบและเป็นรูปธรรม
ชัดเจนยิ่งขึ้น	 บุคลากรที่เกี่ยวข้องมีขวัญและกำาลังใจในการทำางาน	 สถานศึกษามีผล
การประเมินคุณภาพภายนอกของ	 สมศ.ในภาพรวม	 ระหว่างผลการประเมินภายนอก
รอบแรกและรอบสอง	สูงขึ้น	โดยมีสถานศึกษาที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี	ถึงดีมาก
เพิ่มขึ้น	จากร้อยละ	๓๘.๘๓		เป็นร้อยละ	๙๓.๘๖	สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพ
ภายในอยู่ในระดับดีถึงดีเยี่ยมทั้งหมด	๑๐๐%	มีสถานศึกษาในสังกัดได้รับรางวัลโรงเรียน
พระราชทานจำานวน	 ๒	 โรงเรียน	 คือ	 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี	 	 	 โรงเรียนวัดท่าแค	
มีสถานศึกษาในสังกัดผ่านการประเมินต้นแบบโรงเรียนในฝันถึง	 ๖	 โรงเรียนด้วยกัน	
สถานศึกษาในสังกัดบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมทุกโรงเรียน	
	          ยังไม่พอ	เขตพื้นที่ฯ	ยังกำาหนดทิศท�งก�รพัฒน�ระบบก�รประกันคุณภ�พ
ก�รศึกษ� ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นนั้น	ดังนี้	
	          ๑.	 มีการรวมกลุ่มสถานศึกษา
ขนาดเล็ก	 และร่วมกันจัดทำาแผนพัฒนา
สถานศึกษาขนาดเล็ก
	          ๒.	 จัดสรรงบประมาณ	 วัสดุ
อุปกรณ์ช่วยเหลือสถานศึกษาขนาดเล็ก
	          ๓.	จัดระบบการนิเทศ	แนะนำา	
ช่วยเหลือสถานศึกษาทุกแห่งอย่างใกล้ชิด	ต่อเนื่อง
	          ๔.	อบรมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษา	อย่างต่อเนื่อง
	          ๕.	 ให้เกียรติบัตร	 ยกย่อง	 ชมเชย	 ให้ขวัญกำาลังใจแก่บุคลากรที่มีผลการ
ดำาเนินงานประสบความสำาเร็จ	อยู่เสมอ
	          ๖.	จัดทำาเอกสาร	คู่มือการปฏิบัติงาน	คู่มือการนิเทศ	สถานศึกษาอย่างหลาก
หลายเพื่อเป็นแนวทางการดำาเนินงานสำาหรับสถานศึกษา	และผู้นิเทศ	ทุกระดับ
	          การพัฒนาให้มีโรงเรียนดีมีคุณภาพใกล้	 ๆ	 บ้าน	 ยังคงไม่หยุดอยู่เพียงเท่านี้	
ยังต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง	 ซึ่ง	 ทั้ง	 ๓	 รูปแบบ	
และ	 ๖	 แนวทางที่กล่าว	 	 จะช่วยให้ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา	 มีความ
เข้มแข้ง		มีมาตรฐาน	จนทำาให้สถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน	เป็นที่ยอมรับของ
สังคม	 	 แข่งขันกับโรงเรียนยอดนิยมได้	 เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ปกครองในการส่ง
บุตรหลานมาเข้าเรียน	 เพื่อลดปัญหาความแออัดของจำานวนนักเรียนในสถานศึกษาชื่อ
ดังหรือสถานศึกษาในเมืองดังกล่าวข้างต้น
๑๔   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
เด็กดี.... ที่เราต้องการ (๘+๑)



                   ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๑๕
เด็กดี... ที่เร�ต้องก�ร ( ๘+๑ )
 *....“ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม             น้อมนำาปรัชญา
 เศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพมาตรฐานสากล		...”	

 จ    ากวิสัยทัศน์ของเขตพื้นที่ฯ	 จะเห็นได้ว่า
      เขตพื้นที่ฯหวังให้เด็กๆ	เป็นคนดีมีคุณธรรม	
 มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง		ไม่ฟุ้งเฟ้อเห่อเหิม	
 แต่ก็มีความรู้ความสามารถพอที่อยู่บนโลกยุค
 ปัจจุบัน	ที่มีการแก่งแย่งแข่งขันกันอย่างดุเดือด
 ได้อย่างมีความสุข	 	 ...แต่จะทำาอย่างไร เด็ก
 จึงจะมีคุณลักษณะแบบนี้ได้...	 แน่นอนต้องเริ่ม
 ปลูกฝังตั้งแต่เยาว์วัย		ไม่รอช้า	ท่าน	ผอ.เขตฯนักคิด		พร้อม	๑๓	อรหันต์คู่ใจ		ผุด
 นโยบายสำาคัญ	 มุ่งมั่นปั้นนักเรียนสมบูรณ์แบบ	 ที่ทั้งเก่งและดี	 ตอบสนอง	 	 “จุดเน้น
 คุณภ�พผู้เรียน จุดเปลี่ยนก�รปฏิรูปก�รศึกษ�ไทย”	ของกระทรวงศึกษา	แถมตรง
 ใจ	ผู้ปกครองและชุมขนอีกต่างหาก		ยังไม่พอขออีก	๑		จากจังหวัดลพบุรี	 	ให้เด็ก
 มีความกตัญญูรู้คุณคนด้วย		ผ่านนโยบาย		“ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๔ ปีแห่งก�รพัฒน�
 คุณภ�พและคุณธรรม” 	
 	          พอนโยบายเกิด		กิจกรรมก็ตามมาเป็นลำาดับ		เพื่อไปให้ถึงจุดหมาย		บูรณ
 าการกันทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ	 	 เริ่มตั้งแต่	 	 อันดับแรกคือ	 	 ต้องทำาความเข้าใจ
 กันก่อน	 	 ด้วยการประชุมชี้แจงนโยบาย	 แนวทางการทำางานให้ประสบผลสำาเร็จตาม




๑๖   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
นโยบาย	 	 เป้าหมายสุดท้ายของนโยบาย	          	
                                 กำาหนดกิจกรรมต่าง	ๆ	ที่จะต้องดำาเนินการ
                                 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์	 	 มอบหมายงาน	     	
                                 จากนั้นเริ่มดำ าเนินการด้ ว ยการจั ด ประชุ ม
                                 ชี้ แ จงการวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ 	
                                 ตามหลักสูตรแกนกลางและนิยามตัวชี้วัด	
                                 และเกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง
ประสงค์	 ๘	ประการ	บวกความต้องการของจังหวัดลพบุรีอีก	๑	ประการ		ให้คุณครู
และผู้บริหารทุกคนรับทราบ
	          ลำาดับต่อมา	เมื่อรับทราบตรงกันแล้ว	ภาคปฏิบัติผ่านกิจกรรมต่างๆ	ก็เริ่มขึ้น	
ผ่านไกด์ไลน์	 Dek – D – Model		ซึ่งมีรูปแบบในการส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมให้กับเด็ก	ๆ	๔	รูปแบบคือ		
	         ๑.		 ารบริหารจัดการ	 โดยอำานวยการ	 วางแผน	 กำาหนดวิสัยทัศน์	 พันธกิจ	
              ก
เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์	 	 รวมทั้งบริหารจัดการหลักสูตร	 	 มีผู้รับผิดชอบ
นิเทศ	 กำากับ	 ติดตามและส่งเสริม	 ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน	 พร้อมทั้ง	
สรุปผลการดำาเนินงานเพื่อนำาไปวางแผนพัฒนาปรับปรุงต่อไป			
	         ๒.	การจัดกิจกรรมส่งเสริม	 คุณธรรม	 จริยธรรม	 โดยบูรณาการการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
ให้กับเด็กในทุก	 ๆ	 ด้าน	 	 ผ่านความร่วมมือของทุกๆ	 ฝ่าย	 	 กิจกรรมประกอบด้วย	
การสร้างโรงเรียนเครือข่ายคุณธรรม	โดยมีศูนย์แม่ข่ายคุณธรรมจำานวน		๒๒	แม่ข่าย	
เป็นหลักในการร่วมคิดร่วมทำากับเขตพื้นที่ฯ	 พร้อมพัฒนา	 สร้างโรงเรียนเครือข่ายเพื่อ
ร่วมกิจกรรม	ครบทั้ง		๑๘๗		โรงเรียน	
(จำานวน	 ณ	 	 ขณะนั้น)	 การร่วมกันจัด
เวทีนำาเสนอและเผยแพร่	 แลกเปลี่ยน	
เรียนรู้	 งานมหกรรมวิถีธรรมวิถีไทย
ลพบุรี	 นิทรรศการมหกรรมบูชาพุทธ
ชยันตีวิถีธรรมวิถีไทย	เทิดไท้	๘๔	พรรษา	
องค์ราชันย์เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีความรัก
และภาคภู มิ ใ จในความเป็ น ชาติ ไ ทยอั น

                                                    ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๑๗
มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น พระประมุ ข	
                                             และอยู่ภายใต้ร่มเงาของพระพุทธศาสนา	       	
                                             	 				ก า ร ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม ใ ห ม่ 	
                                             ผ่านนิทานคุณธรรมและเพลงคุณธรรม	
                                             เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้	 เพื่อหล่อ
                                             หลอมกล่ อ มเกลาจิ ตใจเด็ กให้ อ่ อ นโยน	
                                             ซื่อสัตย์	 เป็นคนดี	 ซึ่งจัดทำาขึ้นโดย	
 ผอ.นักคิดนักพัฒนาสุเมธี	 จันทร์หอม	และทีมงานปราชญ์ชาวบ้าน	นักร้องนักดนตรีใน
 จังหวัดลพบุรี	 จัดทำาบทอาขยานดอกสร้อยคุณลักษณะอันพึงประสงค์	 ๘+๑	 ประการ	
 พัฒนาครูเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้เข้ากับยุคสมัย	 ด้วยยุทธวิธี	 “ปรับ
 การเรียน	 เปลี่ยนการสอน”	 โดยเน้นให้เด็กได้แสดงออกซึ่งความคิด	 การวิเคราะห์
 สังเคราะห์	 โดยมีคุณครูเป็นผู้แนะนำาส่งเสริมและช่วยเหลือ	 การแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรม
 ค่ายพัฒนาคุณธรรมด้านสำานึกดี	 	 เสียสละ	 	 รับผิดชอบ	 	 กตัญญู	 	 จิตอาสา	
 จำานวน	 ๑๐	 แม่ข่าย	 โดยมีนักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายร่วมกันออกไปดูแลช่วยเหลือ	
 และให้กำาลังใจแก่คนชราในหมู่บ้านเพื่อสร้างจิตสำานึกในการช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่น	
 ให้บังเกิดมีขึ้นในจิตใจของนักเรียน	การจัดกิจกรรมคุณธรรม	น้อมนำาปรัชญาเศรษฐกิจ
 พอเพียงของโรงเรียนแม่ข่ายจำานวน๒	 โรงเรียน	     	
 กิจกรรมดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน	 	 จำานวน	        	
 ๖	 	 แม่ข่าย	 เพื่อให้เด็กรู้จักคุณค่าและรักษา
 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม	 พัฒนา
 ต่อยอดโครงงานคุณธรรมเยาวชนไทยทำาความดี
 ถวายในหลวง		จำานวน		๔		แม่ข่าย			ร่วมกัน
 วิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบเด็กดีโมเดล		และอื่น	ๆ	
 อีกมากมาย			 	
 	          ๓.	การสร้างเครือข่าย	 และการมี
 ส่วนร่วม	 โดยการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการ	
 บุคคล		ครอบครัว	ชุมชน	องค์กรชุมชน	องค์กร
 ปกครองส่วนท้องถิ่น	 สถาบันศาสนา	 	 สถาน
 ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

๑๘   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ให้มากที่สุด	 เพื่อสร้างความหลากหลายใน
                                         ความคิดและรูปแบบของกิจกรรม
                                         	         ๔.	การสร้ า งต้ น แบบและตั ว อย่ า ง	
                                         ในทุกองค์กร		เช่น		ในสถาบันครอบครัวเอง	
                                         ที่พ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกปลูกฝัง	
                                         อบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดี	        จากสถาน
                                         ศึกษาก็ด้วยการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน
โดยตรง	 คุณครูผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนได้เห็น	 ยกย่องเชิดชูเมื่อเด็กทำา	
ความดีหรือทำาประโยชน์ให้กับสังคม	 จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน	 ก็ด้วยการ
สนับสนุนส่งเสริมทั้งงบประมาณ	 คอยสอดส่องดูแลช่วยเหลือและร่วมมือกันแก้ปัญหา
	
	          จากการดำาเนินงานผ่าน		Dek – D – Model			อย่างเข้มข้น			ในที่สุด
ผลของการทำางานหนักก็บังเกิด		นั่นคือ
	           -		โรงเรียนวัดโคกหม้อได้รับรางวัลเหรียญทองอันดับ	 	นงานศิลปหัตถกรรม	
                                                               ๑ใ
ระดับประเทศ	 ๓	 ปีซ้อน	 จากการประกวดโครงงานคุณธรรม	 ระดับประเทศ	 ครั้งที่	
๕๙-๖๑			ในหัวข้อ		“ธนาคารความดี”			ที่ว่าด้วยเรื่องของจิตอาสาของนักเรียนผ่าน
กิจกรรมที่หลากหลาย		
		          -		โรงเรียนบ้านหลุมข้าว		ได้เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าไปประกอบโครงงาน
คุณธรรม	ระดับประเทศ	
	           -	 	 โรงเรียนแม่ข่ายจำานวน	 	 ๓	 	 โรงเรียน	 	 คือ	 	 โรงเรียนวัดท่าแค	    	
โรงเรียนโคกสำาโรง		และโรงเรียน	
อนุบาลท่าวุ้ง					มีความเข้มแข็ง	
จ น ก ร ะ ทั่ ง ส า ม า ร ถ จั ด ง า น
มหกรรมวิถีธรรมวิถีไทยฯ	 เพื่อ	
นำ า เสนอและแลกเปลี่ ย นเรี ย น
รู้ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมได้ ด้ ว ย
ตนเองโดยไม่ต้องอาศัยเขตพื้นที่ฯ	
ถีง		๓		ปีซ้อนด้วยกัน		โดยในปี
แรกคือ	ปี	๒๕๕๓		จัดที่โรงเรียน

                                                     ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y    ๑๙
วัดท่าแค			ปี	๒๕๕๔		จัดที่เขตพื้นที่ฯ		และปีนี้แยกกันจัดเป็นรายอำาเภอ		
 	         -	 โรงเรียนเครือข่ายพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นโรงเรียนที่เป็นแบบ
 อย่างการจัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมโครงงานคุณธรรมมากมาย	 	 เช่น	
 โรงเรียนบ้านหลุมข้าว	 	 โรงเรียนวัดโคกหม้อ	 	 โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์	 	 โรงเรียน	
                                                                                	
 วัดท่าแค		โรงเรียนวัดหนองปลิง		โรงเรียนซอย	๓	สาย	๔	ซ้าย		โรงเรียนวัดโพธิ์ตรุ	
 โรงเรียนวัดหนองโพธิ์		และโรงเรียนวัดดงพลับ		เป็นต้น	




 	          -	 นักเรียนในสังกัด	 ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์	 ครบ	
 ๑๐๐	เปอร์เซ็นต์	 	ที่เห็นประสบความสำาเร็จเป็นรูปธรรม	จาก	ความมุ่งมั่นปั้นเด็กดีมี
 คุณภาพผ่านกระบวนการนานาข้างต้น			นั่นคือเด็กหญิงพนิดา		หินกลม		นักเรียน
 ระดับชั้น	ป.	๖		จากโรงเรียนวัดท่าแค		ผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเด็กหญิงยอดกตัญญู		ดูแล
 บิดาที่ป่วยเป็นอัมพฤกษ์เป็นอย่างดี		แต่มีฐานะยากจนแร้นแค้น		ต้องอาศัยใต้ถุนบ้าน
 ของญาติอยู่	 		มีสภาพที่ไม่ปลอดภัย			ได้รับการคัดเลือกจาก	สพฐ.		จัดสร้างบ้าน
 ให้		ตามโครงการ	“บ้�นน้ำ�ใจ”		เพื่อเฉลิมพระเกียรติ	พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ	
 เนื่องในวโรกาส	ทรงเจริญพระชนมพรรษา	๘๔		พรรษา		ภายใต้ความร่วมมือจากทุก
 ภาคส่วน		เช่น		นักเรียนจากวิทยาลัยเทคนิคลพบุรี	 ช่วยสร้างบ้านให้	 	งบประมาณ
 จาก		สพฐ.		และ		เขตพื้นที่ฯ		เครื่องใช้ต่าง	ๆ	จากพ่อค้าประชาชนในจังหวัดลพบุรี	
 	         ตอบโจทย์คุณธรรม ๘ ประการบวกอีกหนึ่งกตัญญูที่จังหวัดลพบุรีต้องการได้
 เรียกว่า ประสบความสำาเร็จกันตั้งแต่หัววันทีเดียว

๒๐   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ตามรอยพ่อ ... พอเพียง
                                            	           “เศรษฐกิจพอเพียง”	 เป็น
                                            ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแนวทาง	 การ
                                            ดำา เนินชีวิต แก่ พ สกนิ ก รชาวไทยมาโดย
                                            ตลอดนานกว่า	 ๒๕	 ปี	 ตั้งแต่ก่อนเกิด
                                            วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ	 และเมื่อภาย
                                            หลังได้ทรงเน้นย้ำา	แนวทางการแก้ไขเพื่อ
                                            ให้รอดพ้น	 และสามารถดำารงอยู่ได้อย่าง
                                            มั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์	
                                            และความเปลี่ยนแปลง	 	 ภายใต้กรอบ
                                            แนวคิด	 การดำารงอยู่และปฏิบัติตนใน
                                            ทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถี
                                            ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย	 สามารถนำามา
ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา	 และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
เวลา	 มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ	 เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการ
พัฒนา
	           คุณลักษณะของเศรษฐกิจพอเพียง	 	 สามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติ
ตนได้ในทุกระดับ	 โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง	 และการพัฒนาอย่างเป็น	
ขั้นตอน	 	 โดยความพอเพียงของพระองค์นั้น	 ประกอบด้วย	 ๓	 คุณลักษณะพร้อม	 ๆ	
กัน	ดังนี้
	           ๑.	
              ความพอประมาณ	        หมายถึง	
ความพอดี ที่ ไ ม่ น้ อ ยเกิ ดไปและไม่ ม าก
เกินไป	 โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ	
ผู้อื่น	เช่น	การผลิตและการบริโภคที่อยู่
ในระดับพอประมาณ
	           ๒.	 ความมีเหตุผล	 หมายถึง	
การตั ด สิ นใจเกี่ ย วกั บ ระดั บ ของความ
พอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล	
                                                   ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๒๑
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ	
 กระทำานั้น	ๆ	อย่างรอบคอบ
 	         ๓.	 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว	 หมายถึง	 การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระ
 ทบ	 และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง	 ๆ	 ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึงความเป็นไปได้ของ
 สถานการณ์ต่างๆ	ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล	มีเงื่อนไข	การตัดสินใจ
 และการดำาเนินกิจกรรมต่าง	 ๆ	 ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น	 ต้องอาศัยทั้งความรู้	 และ
 คุณธรรมเป็นพื้นฐาน	กล่าวคือ
 	         ๑.	เงื่อนไขความรู้	ประกอบด้วย	ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง	ที่เกี่ยวข้อง
 อย่างรอบด้าน	 ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน	 เพื่อ
 ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
 	         ๒.	เงื่อนไขความธรรม	ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย	มีความตระหนักใน
 คุณธรรม	 มีความชื่อสัตย์สุจริต	 และมีความอดทน	 มีความพากเพียร	 ใช้สติปัญญาใน
 การดำาเนินชีวิต




 แนวทางปฏิบัติในการนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้	 คือ	 การพัฒนา
 ที่สมดุลและยั่งยืน	 พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน	 ทั้งด้านเศรษฐกิจ	 สังคม	
 สิ่งแวดล้อม	ความรู้และเทคโนโลยี		ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของเขตพื้นที่ฯ	ที่ว่า..			
 “... เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำ�ปรัชญ�ของเศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียง
 คุณภ�พม�ตรฐ�นส�กล บนพื้นฐ�นคว�มเป็นไทย ...”	 	 ซึ่งเขตพื้นที่ฯ	 โดยท่าน	
 ผอ.เขตฯ		สุเมธี		จันทร์หอม		ก็ระลึกถึงคุณค่าของความเป็นไทยและตระหนักในความ
 สำาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง	 ในอันที่จะประคับประคองตนให้อยู่รอดปลอดภัยได้ในทุก
 กาลสมัย		จึงได้กำาหนดวิสัยทัศน์ดังกล่าวขึ้น	ไว้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการ
๒๒   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
ศึกษา	 โดยตั้งเป้าหมายเอาไว้ว่า	 	 ภายในปีการศึกษา	 ๒๕๕๖	 	 ทุกโรงเรียนต้องเข้า
รับการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง	และต้องมีโรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการ
เป็นต้นแบบสถานศึกษาพอเพียงให้ได้	๕๐%		ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
	               กระบวนการขับเคลื่อนภารกิจไปสู่เป้าหมายจึงบังเกิดขึ้น		โดยการมอบหมาย	
รอง	 ผอ.เขตพื้นที่ฯ	 ที่ดูแลกำากับติดตามการดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัดแต่ละ
พื้นที่	 ร่วมกับศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยงในแต่ละโรงเรียน	 ประธานกลุ่มโรงเรียน	 	 ร่วมกัน	
ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู่ ส ถานศึ ก ษาเพื่ อ น้ อ มนำ า หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ	
พอเพียงข้างต้น	ลงสู่การปฎิบัติ			ด้วยการจัดทำาคู่มือแนวการจัดกิจกรรม	ซึ่งประกอบ
ด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง	              	
หลักพิจารณา	 ๕	 ประการ	                 	
ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง	            	
แบบฝึ ก ความรู้ ค วามเข้ า ใจ	
ในหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ	
พอเพียง	 จัดทำาคู่มือผลการ	
ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ ตามหลั ก	
ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง	
ใ ห้ ทุ ก โ ร ง เ รี ย น ใ ช้ เ ป็ น	
แนวทางนำ าไปจั ด การเรี ย นรู้ 	
แก่นักเรียน	 มีการค่ายสร้างเด็กดีมีจิตอาสาพัฒนาสังคมให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา	
ตอนต้น	 ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนา	 ส่งเสริมสนับสนุน	
ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ ผ่ า นการปฏิ บั ติ จ ริ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ นให้ ค รู จั ด การเรี ย นรู้ โ ดยนำ า	
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ	 แทรกซึมเข้าสู่กระบวนการเรียนการสอนใน
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้			การศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบผลสำาเร็จในการขับเคลื่อน	
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา	 	 พัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดประกวด	 เขียนผัง
ความคิด		Mind	Map		“วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”		ของนักเรียน	                                       	
เพื่อให้นักเรียนแสดงออกถึงวิธีคิดของตนเองเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง					
	               โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด	 ดำาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เศรษฐกิจ	
พอเพียง		โดยความร่วมมือกับผู้ปกครอง	ชุมชน	องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น			นิเทศ	
กำากับ	ติดตามอย่างต่อเนื่อง

                                                                    ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y           ๒๓
จ � ก ก � ร ดำ � เ นิ น ง � น ผ่ � น
                                           กิจกรรมข้�งต้น ผลปร�กฏว่� 		
                                           	 -	นักเรียนในสังกัด	ผ่านการประเมิน	
                                           คุณลักษณะอันพึงประสงค์	๑๐๐	%			
                                           	 -	สถานศึกษาในสังกัด	 จัดกิจกรรม
                                           ส่งเสริมความมีจิตสาธารณ	 ความรับ	
                                           ผิดชอบต่อสังคม	 และสิ่งแวดล้อมให้กับ
                                           เด็กครบ	๑๐๐	%		
                                           	 -	มี ส ถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ผ่ า นการ
 ประเมินเป็นสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง	ระดับ	สพฐ.	ในปีการศึกษา	๒๕๕๒	
 จำานวน	๓	แห่ง		และเพิ่มขึ้นอีก	๖	แห่งในปีการศึกษา	๒๕๕๔			
 	 -		 บเขตพื้นที่ฯ	ก็มีโรงเรียนที่ผ่านการประเมินดังกล่าว		ถึง	๑๔	แห่ง	
           ในระดั
 	 -		 านี้ยังไม่พอ		โรงเรียนวัดสระมะเกลือ	ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก		มีคุณครู
           เท่
 เพียงแค่	๓	คน	แถมผู้บริหารก็เป็นสุภาพสตรีอีกต่างหาก		กลับบริหารจัดการโรงเรียน	
 ของตนเองให้เป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ	 ในเรื่องการทำานาปลูกข้าวแบบครบวงจร	              	
 เพื่อสนองโครงการพระราชดำาริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ	              	
 พร้อมปลูกผักสวนครัวบริเวณคันนา	เพื่อเป็นอาหารกลางวันนักเรียน		โดยให้นักเรียน
 เป็นผู้ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง	ทั้งการไถ	คราด		หว่าน		ปักดำา		เก็บเกี่ยว	แปรรูป		มี
 คุณครูและวิทยากรท้องถิ่นชี้แนะสั่งสอน		สร้างความสุขสนุกสนานระหว่างเรียน		ลด
 รายจ่ายผู้ปกครอง		สร้างจิตสำานึกรักในอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษ		จนสามารถคว้า
 โล่รางวัลระดับเหรียญทองด้านแหล่งเรียนรู้จากคุรุสภา	ในการประกวด		หนึ่งโรงเรียน	
 หนึ่งนวัตกรรม	ประจำาปี	๒๕๕๒		ที่จัดโดยสถาบันราชภัฎเทพสตรีลพบุรี




๒๔   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน



                     ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y   ๒๕
O                   ne		Vision,		One	Identity,		One	community			
                      หนึ่งวิสัยทัศน์	 	 หนึ่งเอกลักษณ์	 	 หนึ่งประชาคม	 	 เป็นคำาขวัญที่	
 บ่งบอกว่า	 นี่คือ	 	 ประชาคมอาเซียน	 หรือ	 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก	
 เฉียงใต้	(Association	of	South	East	Asian	Nations	:	ASEAN)	ซึ่งเป็นองค์กร
 ระหว่ า งประเทศระดั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย
 ตะวันออกเฉียงใต้	 	 	 ประกอบด้วย
 ประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน	 ๑๐	               	
 ประเทศ	คือ		ไทย		มาเลยเซีย		ฟิลิปปินส์	
 อินโดนีเซีย	 	 สิงคโปร์	 	 บรูไน	 	 ลาว	      	
 กัมพูชา		เวียดนาม		และพม่า			ก่อตั้ง
 ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้าง
 สั น ติ ภ าพในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก	
 เฉียงใต้	 อันนำามาซึ่งเสถียรภาพทาง	
 การเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ	สังคม	และวัฒนธรรม	และเมื่อการค้า
 ระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น		ทำาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้น
 กระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น	 	 เป้าหมายคือ	
 ต้องรวมตัวกันให้สำาเร็จและมีผลจริงจัง	ภายใน		๑	มกราคม	๒๕๕๘				ซึ่ง		ณ		วันนั้น	
 จะทำาให้ภูมิภาคนี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างที่เรา	ๆ	ท่านๆ		อาจจะคาดไม่ถึงก็เป็นได้			
 	           ...ดังนั้น	 เพื่อไม่ให้ตกขบวนรถไฟสายประวัติศาสตร์ขบวนนี้เราต้องเตรียมตัว	
 กันแต่เนิ่น	 ๆ	 	 	 ด้วยการเตรียมคนของเราให้พร้อมรับมือกับการแข่งดุในอนาคตเสีย
 ตั้งแต่วินาทีนี้เป็นต้นไป
                                                     	         แน่นอนว่า		ผอ.	รูปไม่หล่อ	
                                                     แต่เฉียบคมไปด้วยหลักคิดอย่าง	สุเมธี
                                                     จันทร์หอม	 	 ย่อมต้องก้าวขึ้นรถไฟ
                                                     สายนี้เป็นคนแรกอยู่แล้ว	 	 ด้วยการ
                                                     จัดทัพปรับขบวนเพื่อรองรับโครงการ	
                                                     พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน	ของ	สพฐ.	    	
                                                     (Spirit	of	ASEAN)		โดยเตรียมการ
                                                     ในเรื่องการพัฒนาผู้บริหารการศึกษา	 	
                                                     ผู้บริหารสถานศึกษา		ครูผู้สอน		และ
๒๖   y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
บุคลากรทางการศึกษา	ให้มีทักษะ	มีเจตคติที่ดี	มีความพร้อมที่จะเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่ง
ของอาเซียนตั้งแต่หัววัน					เริ่มจากระดับเขตพื้นที่ฯ				จัดหาครูชาวต่างชาติมาสอน
การใช้ภาษาอังกฤษให้กับทีมบริหาร	 ในทุกเช้าวันอังคารหลังการประชุมเสร็จ	 	 มีการ	
จั ด อบรมสั ม มนาหลั ก สู ต รการใช้ ภ าษาอั ง กฤษในชี วิ ต ประจำ า วั นให้ กั บ บุ ค ลากรใน	
เขตพื้นที่ฯ			ด้วยการทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี	ทั้งก่อนอบรมและหลังอบรม	ฝึกปฏิบัติ
จริงด้วยการสนทนากับคุณครูชาวต่างชาติเจ้าของภาษาเช่นเดียวกัน	 	 โดยแบ่งกลุ่ม
สมาชิกบนเขตพื้นที่ฯ	ออกเป็นสมาชิกในแต่ประเทศทั้ง	๑๐	ประเทศ		มีท่านรอง	ผอ.เขตฯ	




ที่นำาร่องฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาอังกฤษไปก่อนแล้ว		เป็นพี่เลี้ยงประจำาแต่ละประเทศ	    	
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม	 ขนบธรรมเนียม	ประเพณีของ
แต่ละประเทศที่ตนเองเป็นสมาชิก			ทั้งสนุกสนานและได้ความรู้	 	ทำาให้ความรู้ฝังลึก	
เกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่เคยร่ำาเรียนมา	 	 ถูกดึงขึ้นมาใช้อีกครั้ง	 อย่างมีประสิทธิภาพ	
                                                                                   	
เรียกว่า		พอจะสามารถสื่อสารกันได้ในเบื้องต้น					เปิดวิสัยทัศน์ผู้บริหารและบุคลากร	
ทางการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียน	 	 ด้วยการรับฟังการ
บรรยายจากวิทยากรระดับประเทศ		ดร.สมเกียรติ		อ่อนวิมล		
	          ส่วนระดับสถานศึกษา	 หลังจากที่เขตพื้นที่ฯ	 ได้ทำา	 MOU	 ในการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาระหว่างเขตพื้นที่ฯ	 กับ	 INSTITUT AMINUDDIN BAKI ;
Malaysia			โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันในเรื่อง		Improving		teacher,	
principal	and	supervisor		quality		ในปีงบประมาณ	๒๕๕๐		แล้ว		ต่อมาใน
ปีงบประมาณ	 ๒๕๕๑	 	 ร่วมมือกับ	 	 British	 Council	 	 และ	 สพฐ.	 	 จัดโครงการ	     	
                                                        ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y    ๒๗
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี

Contenu connexe

Tendances

แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การLink Standalone
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3Aom Chay
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนnorrasweb
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก norrasweb
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPloykarn Lamdual
 
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒDrDanai Thienphut
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554DrDanai Thienphut
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallDrDanai Thienphut
 

Tendances (20)

แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
 
T2
T2T2
T2
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
3211 2011
3211 20113211 2011
3211 2011
 
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
 
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmall
 

En vedette

การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1Pakjira Prlopburi
 
Latina's on the plaza credibility
Latina's on the plaza   credibilityLatina's on the plaza   credibility
Latina's on the plaza credibilityChristie Ruffino
 
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015Sue Rosen RN CLNC
 
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913Sue Rosen RN CLNC
 
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting DPWN January 2014 Success Strategy Meeting
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting Christie Ruffino
 
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1Sue Rosen RN CLNC
 
2015 phoenix tears_foundatio (1)
2015 phoenix tears_foundatio (1)2015 phoenix tears_foundatio (1)
2015 phoenix tears_foundatio (1)Sue Rosen RN CLNC
 
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price The 401k Study Group ®
 
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1Pakjira Prlopburi
 
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your Revenue
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your RevenueHow to Become an Author to Build Your Business and Boost Your Revenue
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your RevenueChristie Ruffino
 

En vedette (17)

การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
การสรรหาและเลือกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
 
Latina's on the plaza credibility
Latina's on the plaza   credibilityLatina's on the plaza   credibility
Latina's on the plaza credibility
 
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015
Policies, procedures and protocols for legal cannabis therapy 2015
 
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913
Cmar 36105-critical-appraisal-of-the-potential-use-of-cannabinoids-in-c 082913
 
Prediccion de pati y celina
Prediccion de pati y celinaPrediccion de pati y celina
Prediccion de pati y celina
 
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting DPWN January 2014 Success Strategy Meeting
DPWN January 2014 Success Strategy Meeting
 
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1
Medicinal cannabis -the_evidence_v1.1
 
Us patent-6630507
Us patent-6630507Us patent-6630507
Us patent-6630507
 
CIF Opportunity for The 401k Advisor
CIF Opportunity for The 401k AdvisorCIF Opportunity for The 401k Advisor
CIF Opportunity for The 401k Advisor
 
2015 phoenix tears_foundatio (1)
2015 phoenix tears_foundatio (1)2015 phoenix tears_foundatio (1)
2015 phoenix tears_foundatio (1)
 
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price
Auto Solutions | Reference Point from T. Rowe Price
 
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1
 
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your Revenue
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your RevenueHow to Become an Author to Build Your Business and Boost Your Revenue
How to Become an Author to Build Your Business and Boost Your Revenue
 
7 wastes +
7  wastes +7  wastes +
7 wastes +
 
Housekeeping - 5 step Programme
Housekeeping - 5 step ProgrammeHousekeeping - 5 step Programme
Housekeeping - 5 step Programme
 
5S game
5S game5S game
5S game
 
Lean operations presentation
Lean operations   presentationLean operations   presentation
Lean operations presentation
 

Similaire à 4 ปี สุเมธี

บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hKhemjira_P
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่Praphatsara Nuy
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1Praphatsara Nuy
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 

Similaire à 4 ปี สุเมธี (20)

บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 

4 ปี สุเมธี

  • 1.
  • 2. คำ�นำ� ๔ ปีกับสุเมธี จันทร์หอม จัดทำ�ขึ้นเพื่อร�ยง�นผลก�รบริห�ร จัดก�รศึกษ� ภ�ยใต้ก�รบริห�รง�นของ น�ยสุเมธี จันทร์หอม และทีมง�น ในรูปแบบของง�นประช�สัมพันธ์ ที่เน้นลีล�ก�รเขียนแบบง่�ยๆ อ่�น สบ�ย ๆ ไม่หนักแบบเชิงวิช�ก�ร ซึ่งในเชิงวิช�ก�ร เขตพื้นที่ฯ ก็ได้จัด ทำ�ออกม�ในรูปแบบของร�ยง�นผลก�รปฏิบัติง�นประจำ�ปี ซึ่งคงจะพิมพ์ ออกม�ให้ท่�นผู้อ่�นได้ติดต�มอ่�นกันในไม่ช้�นี้ เรื่องร�วทั้งหมดภ�ยในเล่ม ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของก�รทำ�ง�น ของบุคล�กรในสังกัด สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ลพบุรีเขต ๑ ผ่�นนโยบ�ยและกิจกรรมต่�งๆ ที่กำ�หนดโดยองค์กร โดยมีหลักคิด คือ ทุกคนต้องทำ�ง�น ทำ�ง�นและทำ�ง�น เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ องค์กร โดยเน้นก�รทำ�ง�นเป็นทีม เป็นหมู่คณะ ก�รร่วมแรงร่วมใจกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ภ�ยใต้วัฒนธรรมองค์กร “ จิตดี ทีมดี พัฒน�ดี” ของพวกเร� หวังเป็นอย่�งยิ่งว่� เรื่องร�วที่จะได้อ่�นภ�ยในเล่ม คงจะ เกิดประโยขน์ต่อท่�นผู้อ่�นไม่ม�กก็น้อย ภคจิรา จันทร์แดง นักประช�สัมพันธ์ ชำ�น�ญก�ร
  • 3. าก ปฐมบทแห่งการเปลี่ยนแปลง ที่อยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านการ ทำางานทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ... จากภาพกว้าง ก็โฟกัสให้ แคบลงมา เพื่อให้ขอบข่ายการทำางานชัดเจนขึ้น...จนถึงวันนี้ ๔ ปีเต็ม นับจากวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ ที่ลูกผู้ชายชื่อ สุเมธี จันทร์หอม ย่างก้าวเข้ามากุมบังเหียนองค์กร ที่ชื่อว่า สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ลพบุรี เขต ๑ ที่ครอบคลุมพื้นที่ ๔ อำาเภอ ประกอบด้วย อำ�เภอเมือง อำ�เภอโคกสำ�โรง อำ�เภอท่�วุ้ง และอำ�เภอ บ้�นหมี่ มีทีมงานระดับคีย์แมนคนสำาคัญ จำานวน ๑๓ คน ผอ.กลุ่ม ๘ คน มีโรงเรียน ในสังกัดรัฐบาล จำานวน ๑๘๓ แห่ง นักเรียน จำานวน ๒๗๒๑๕ คน โรงเรียนเอกชน จำานวน ๓๒ โรงเรียน นักเรียน ๒๓๘๔๓ คน ผู้บริหารสถานศึกษา ๒๐๕ คน ครูผู้สอน สังกัดรัฐบาล จำานวน ๑๘๒๙ คน สังกัด เอกชน จำานวน ๑๑๙๓ คน ศึกษานิเทศก์ ๓๑ คน บุคลากรทางการศึกษาอื่น จำานวน ๖๗ คน ตลอดระยะเวลา ๔ ปีเต็ม กับภารกิจที่ท้าทาย ด้วยใจที่มุ่งมั่น ฝ่าฟันปัญหา และอุปสรรคนานัปการ นักบริหารร่างท้วม ใช้ทั้งอุดมการณ์และมันสมอง กับอีกสองมือ บวกกับหัวใจที่กล้าแกร่ง คิดผลิตงานผ่านนโยบายและกระบวนยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้ก้าวหน้า จนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลทั่วไป ส่งผลให้ได้รับ รางวัลอันดับ ๑ ด้านการบริหารจัดการตามมาตรฐานสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา พร้อมได้รับการคัดเลือกจาก สพฐ. ให้นำาเสนอผล การดำาเนินงานในที่ประชุมผู้อำานวยการเขตฯ ทั่วประเทศ ณ สวนพนาวัฒน์ อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ เมื่อ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา... ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑
  • 4. ทำาไมลพบุรี เขต ๑ จึงมีผลการบริหาร จั ด การเป็ น เลิ ศ ขนาดนั้ น ...แน่ น อนว่ า กระบวนการทำางาน ต้องผ่านการคิด การลงมือทำา การวัดและประเมินผล พร้ อ มปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขกั น อย่ า งเข้ ม ข้ น เดี๋ยวเรามาดูกันว่า... ๔ ปี กับสุเมธี จันทร์หอม หนุ่มเมืองสิงห์ฯ ที่ยิ่งใหญ่ ในวิธีคิดและการทำางานคนนี้ คนที่ชอบ พูดว่าผมไม่หล่อ ผมไม่เก่ง ผมจึงต้อง ทำางาน ทำางานและทำางาน คนนี้มีวิธีคิด และบริหารจัดการอย่างไรจึงประสบผล สำาเร็จอย่างท่วมท้น สามารถก้าวขึ้นมา เป็นผู้บริหารแถวหน้าได้อย่างสง่างาม … เหตุแห่งความสำาเร็จ วิเคร�ะห์เป้�ประสงค์ … เพื่อกำ�หนด ทิศท�งก�รทำ�ง�น วิธีคิดของท่าน ผอ.นักคิดคนนี้ อันดับแรก ยิงตรงไปที่วัตถุประสงค์ของ การบริหารจัดการ หรือหน้าที่หลักว่าเราจะต้องทำาอะไร เกี่ยวข้องกับอะไร ใครบ้าง ให้ได้ก่อนเป็นอันดับแรก จากการร่วมคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยกระบวนการมี ส่วนร่วมผ่านองค์คณะบุคคล ได้แก่ กพป./ ก.ต.ป.น../อ.ก.ค.ศ. ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วน โดยเชื่อมโยงนโยบายของผู้บังคับบัญชากับบริบทองค์กรที่มีทั้งปัจจัย ๒ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 5. ภายในและปัจจัยภายนอก อันมีผลกระทบโดยตรงต่อการดำาเนินงาน พบว่า สิ่งที่เรา ต้องทำาให้เกิดมีขึ้นให้ได้ คือ ๑. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน ๒. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม นำาความรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ๔. สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ ๕. ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์สู่มาตรฐานสากล ๖. บุคลากรและผู้เรียนมีจิตสำานึกเห็นคุณค่า สืบสานศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิใจในความเป็นไทย ๗. บุคลากรและผู้เรียนมีจิตสำานึก เห็นคุณค่า อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทั้งหมดนั้นเป็นพันธสัญญา ที่ พ วกเราทุ ก คนตระหนั ก รู้ ร่วมกันว่า ต้องทำาให้เกิดมี ขึ้ น ให้ ไ ด้ ภ ายใต้ บ ริ บ ทของ ตนเอง ที่มีทั้งอุปสรรคและ ปัญหานานัปการ แต่ท่าน ผอ.เขตฯ คนนี้ ไม่เคยมอง ว่าปัญหาจะเป็นอุปสรรคต่อ การทำางานเลย กลับมองว่า เป็นความท้าทาย เป็นแรง บันดาลใจที่จะต้องก้าวผ่านไปให้ได้ ซึ่งหลายคนมักได้ยินคำาพูดของท่านอยู่สม่ำาเสมอว่า “ก�รทำ�ง�นบนคว�มพร้อมสมบูรณ์แบบ แล้วประสบผลสำ�เร็จนั้น มันธรรมด�เกินไป ใคร ๆ ก็ทำ�ได้ แต่ก�รทำ�ง�นหนักบนคว�มข�ดแคลนแล้วประสบผลสำ�เร็จนั้น นับเป็น คว�มสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่และน่�ภ�คภูมิใจกว่� ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ธรรมด�เลย” นั่นหมาย ถึงว่าต้องทำางานให้หนักมากขึ้นกว่าปรกติ จึงจะได้ผลลัพท์เท่ากับองค์กรที่มีความพร้อม ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๓
  • 6. และต้องหนักให้มากยิ่งขึ้นไปอีก หากต้องการผลลัพท์ที่เหนือกว่าองค์กรที่มีความพร้อม นี่คือ ที่มาของคำาว่า ทำางาน ทำางาน และทำางาน ซึ่งคำาว่าทำางานของท่าน ก็มีความ หมายเป็นนัยยะกำากับอยู่ เช่น ต้องทำางานให้รวดเร็ว ถูกต้อง และประทับใจผู้รับบริการ เมื่อทำางานแล้วต้องมีการพัฒนางานให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ สุดท้ายต้องรู้จัก พัฒนาองค์กรด้วยการทำางานให้มาก ทำาให้เกินกว่าหน้าที่และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร จึงจะถือเป็นการทำางานให้ความหมาย ของตัวท่าน ผอ.เขตฯ คนนี้ ซึ่งแน่นอน ว่า นี่คือหลักคิดใหม่ขององค์กรที่ทุกคน รับทราบและต้องปรับตัว โดยมีกรอบ กติกาวัฒนธรรมองค์กรที่ท่าน ผอ.เขตฯ นักพัฒนา กำาหนดไว้เป็นแนวทางคือ “จิตดี ทีมดี พัฒน�ดี” ที่มีทั้งการฝึก วินัยด้วยการเข้าแถวเคารพธงเช้าในเช้าวันจันทร์เว้นวันจันทร์ ตั้งแต่ ๘.๓๐ – ๘.๔๕ น. โดยประมาณ และการฝึกจิตให้นิ่งสงบเพื่อสร้างพลังด้วยการสวดมนต์นั่งสมาธิในทุก วันศุกร์เว้นวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. โดยประมาณ ซึ่งพวกเราก็สามารถ ปรับตัวได้เป็นอย่างดี เมื่อบุคลากรเริ่มปรับตัว เริ่มเรียนรู้ และปรับคลื่นการทำางานได้อย่างลงตัวกับ อุดมการณ์ของผู้บริหารแล้ว ในปีต่อมา ท่าน ผอ.เขตฯ นักคิด นักพัฒนา จึงไม่รอช้า เริ่มปรับทิศทางการทำางานให้เป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มีแนวทาง มีทิศทางการทำางาน ๔ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 7. ที่ชัดเจนทันที หลังจากปีแรกให้แค่แนวคิดและหลักการทำางาน ด้วยการประกาศให้ ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๓ คือ ปีแห่งก�รพัฒน�คุณภ�พก�รศึกษ� ทันที โดยมุ่งหวังให้ทุก ชั่วโมงการเรียนการสอน ต้องมีคุณภาพ ผ่านเครื่องมือกำากับคุณภาพ ๓ ประการ คือ ครูคุณภ�พ ที่ประกอบไปด้วย ๑. ต้องเป็นผู้มีความรู้ดี ๒. เป็นผู้สอนที่ดี ๓. เป็นคนดี ๔. รู้จักช่วยเหลือสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างดี นักเรียนคุณภ�พ ก็คือ ๑. จะต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประก�ร อันประกอบด้วย ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่าง พอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ ๒. จะต้องมีสมรรถนะผู้เรียน ๕ ประก�ร ก็คือ ๑) มีความสามารถใน การสื่อสารได้ดี ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างเป็นระบบ ๓) มีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดี ๔) มีทักษะในการดำารงชีวิต และ ๕) มีความ สามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๕
  • 8. ๓. ผ่�นเกณฑ์ม�ตรฐ�นตัวชี้วัดของหลักสูตรชั่วโมงคุณภ�พ คือ ๑) ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ ๒) ครูเตรียมการสอน ๓) ครูสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๔) มีการวัดและประเมินผลการเรียน ๖ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 9. จากนโยบายดังกล่าว ภารกิจ ความต้ อ งการของผู้ ป กครองและชุ ม ชน ที่ ยิ่ งใหญ่ จึ ง ถู ก มอบหมายผ่ า นความไว้ เพิ่มเติม และเด็กต้องรู้จักกตัญญูรู้คุณเป็น วางใจของท่าน ผอ.เขตฯ สู่บุคลากรและ ที่ตั้ง พร้อมมีคุณภาพเชิงวิชาการคับแก้ว ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ปีนี้จึงเป็นปีที่ ซึ่งแน่นอนว่า พวกเราทุกคน ต้องทำางาน พวกเราทุกคนทำางานกันอย่างหนักหน่วง หนักเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว เพราะลำาพัง เป้าหมายอยู่ข้างหน้า คือ เส้นชัยสุดท้าย การทำ า งานเพื่ อ สนองความต้ อ งการของ คือร่วมกันประเมินผลการดำาเนินงานเมื่อ ตนเองและต้นสังกัดที่ว่ายากแล้ว การ สิ้นปีการศึกษา...ซึ่งจากผลการประเมิน คำานึงถึงความต้องการของผู้ปกครองและ พบว่า ผลการดำาเนินงานเป็นที่พึงพอใจ ชุมชนยิ่งยากไปกว่า แต่คนอย่าง สุเมธี ทีมงานมีความเห็นพ้องต้องกันว่า ต้องรุก จันทร์หอม ที่มีปณิธานที่แน่วแน่... “แม้ คืบไปอีกก้าว นั่นคือ ต้องพัฒนาเด็กใน ต้องห�ม ก็ต้องสู้เพื่อแผ่นดิน” มีหรือ ด้านคุณธรรมให้ควบคู่ไปกับคุณภาพด้วย ที่จะหวั่นไหว ใช้ทั้งบุ๋นและบู๊สู้โจทย์จน นโยบายการทำางาน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ อึ้ง ทึ่งไปทั้งวงการ ในที่สุดสำานักงานเขต จึงเกิดขึ้น นั่นคือ ปีแห่งก�รพัฒน� พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๑ คุณภ�พและคุณธรรม ปีก�รศึกษ� ก็ได้คว้ารางวัลอันดับ ๑ จากการประเมิน ๒๕๕๔ ที่มุ่งหวังพัฒนาเด็กให้มีความรู้ ผลในกลยุทธ์ที่ ๕ เรื่องการพัฒนา ควบคู่ไปกับคุณธรรม โดยยังคงหลักการ ประสิทธิภาพการบริหารฯ ด้านการบริหาร และแนวคิดเดิม เพียงแต่ต้องเสริมสร้าง จัดการศึกษาตามมาตรฐานสำานักงานเขต คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมให้ เ กิ ด มี ขึ้ นในมโน พื้นที่การศึกษา วยคะแนนเฉลี่ย มา ด้ ๓.๗๕ สำานึกของเด็กให้ได้ ผ่านกิจกรรมและ ครอบครอง คุ้มค่า คุ้มราคา นักสู้ภูธรและ กระบวนการที่หลากหลาย การคำานึงถึง ทีมงานเรียกว่า หายเหนื่อยไปตามๆ กัน ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๗
  • 10. ร�งวัล คือ เกียรติยศ คือ กางออก แล้วปล่อยให้กระบวนการคิด ของขวัญอันล้ำาค่า แต่ก็มิได้หมายความ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ทำางานผ่านคณะ ว่า จะต้องหยุดอยู่เพียงเท่านี้ ด้วย กรรมการต่าง ๆ เพื่อตกผลึกความคิด เกียรติของนักบริหาร ด้วยพันธสัญญา จนกระทั่ง... แผนที่สำาหรับการเดินทาง ที่ว่าไว้ จะทำาอย่างไร จึงจะผลิต ไปสู่เป้าหมายก็บังเกิดขึ้น นั่นคือ บุคลากรที่มีคุณภาพให้กับประเทศชาติ นโยบาย “ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๕ ปีแห่ง ในอนาคต โดยเฉพาะอนาคตที่อีกไม่ ก�รพัฒน�คุณธรรมและคุณภ�พ” ที่ กี่อึดใจ จะมีผู้คนมากมายหลายหลาก ไม่เพียงตอบโจทย์ตนเอง โจทย์ของ วัฒนธรรมและภาษา จาก ๑๐ ประเทศ กระทรวง และโจทย์ของชุมชนแล้ว ยัง เครือข่ายสมาคมอาเซียน เข้าประเทศ ต้องตอบโจทย์ธรรมชาติได้ด้วย นั่น นี้ ออกประเทศนั้น เป็นว่าเล่น เพื่อ คือ เด็กต้องอยู่ในโลกของความเป็น แสวงหาโอกาสที่ดี อนาคตที่แจ่มใสกว่า.. จริง โลกแห่งการแข่งขันได้อย่างมีความ แล้วลูกหลานของเราจะเป็นเช่นไร หาก สุข ผ่านโมเดลที่เขตพื้นที่ฯ ตั้งไว้ นั่นคือ เราพึ ง พอใจกั บ รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ และหยุ ด นอกจากเด็กจะดีแล้ว ต้อง เก่งด้วยต้อง การคิดและพัฒนาแต่เพียงเท่านี้...เพื่อ มี คุ ณ ลั ก ษณะของความเป็ น คนยุ คใหม่ ตอบแทนคุณของแผ่นดิน แผนการ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ใช้เทคโนโลยีเป็น ใช้ภาษา ทำ า งานที่ ห วั ง พั ฒ นาเด็ กไทยให้ มี ค วาม อังกฤษได้ รวมทั้งต้องเตรียมอนาคต พร้อมสู้เพื่อนบ้านในอาเซียนได้ จึงถูก ของตนเองเป็นด้วย ๘ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 11. ทั้งหมดนั้น คือ กรอบความคิดที่ถูกวางไว้อย่างเป็นระบบ นำาไปสู่การ ปฎิบัติและพัฒนาอย่างมีระเบียบแบบแผน เป็นขั้น เป็นตอน ในตลอดระยะเวลา ๔ ปี โดยผ่านกระบวนการ แผนงาน กิจกรรม และโครงการต่าง ๆ ตามยุทธวิธีที่วางไว้ ภายใต้หลักคิด “ต้องพิชิตที่ตัวชี้วัด” กลยุทธ์ที่วางไว้ มีดังนี้ ๑ สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒ ปฏิรูปการเรียนรู้สู่การใช้ความรู้คู่คุณธรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ ๔ พัฒนาสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ให้เป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ ๕ สร้างความเข้มแข็งในคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาและ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๖ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา ๗ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับสู่สากล ๘ ส่งเสริมให้บุคลากรและผู้เรียน มีจิตสำานึก เห็นคุณค่าการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตามดูกันในหน้าต่อไปดีกว่าว่า ข้าศึกของเรา คือ เป้าหมาย ๗ ประการนั้น ท่าน ผอ.นักคิด นักวางแผน สุเมธี จันทร์หอม พร้อมทีมงาน ท่านมียุทธวิธีตีจน แตกพ่าย ไร้ข้อกังขาอย่างไร ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๙
  • 13. วามคาดหวังอย่างหนึ่งที่ผู้ปกครองนักเรียนต้องการคืออยากให้ลูกหลาน ได้เรียนในโรงเรียนที่ดี มีคุณภาพ มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของสังคม โดยทั่วไป ดังนั้น เราๆ ท่านๆ จึงมักจะได้เห็นบรรดาพ่อแม่พากันหอบลูกจูงหลาน แย่ ง กั น เข้ า เรี ย นในโรงเรี ย นดั ง ๆ ใหญ่ๆ ในเมือง ซึ่งเรื่องนี้ ท่าน ผอ.เขตฯ ผู้มีวิสัยทัศน์ยาวไกลได้ ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาดั ง กล่ า วจึ ง มี นโยบายสำ า คั ญ หวั ง ผลั ก ดั น ให้ โรงเรียนใกล้บ้าน เป็นโรงเรียน ที่ดี มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของ ผู้ปกครองไม่ต้องลำาบากเดินทางไปส่งลูกหลานให้เรียนไกลบ้าน ไกลหู ไกลตา ระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ปกครองจึงเกิดขึ้น และมีการดำาเนินการอย่างเป็นรูปแบบ เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน และมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาถือเป็นหัวใจสำาคัญในการ พัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เน้นการพัฒนาทั้งระบบ ให้ ความสำาคัญแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของสถานศึกษามีแนวทางในการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษาในสังกัดโดยยึดระบวนการพัฒนา ๓ รูปแบบ อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การจัด ระบบดูแลโรงเรียน การนิเทศเป็นระบบครบวงจร และการประเมินคุณภาพภายใน ก�รจัดระบบดูแลโรงเรียน : เขตพื้นที่ฯ เน้นกระบวนการนิเทศ กำากับ ติดตาม ดูแลให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาในสังกัด โดยจัดกลุ่มสถานศึกษา เป็นศูนย์เครือข่าย ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑๑
  • 14. พัฒนาคุณภาพการศึกษา ต่อมา ภายหลังเปลี่ยนเป็นกลุ่มโรงเรียน มีทั้งหมด ๑๙ กลุ่มโรงเรียน และ แต่งตั้งคณะนิเทศประจำากลุ่มโรงเรียน ประกอบด้วย รองผู้อำานวยการเขตฯ และศึกษานิเทศก์ ทุกคณะนิเทศ กำ า หนดปฏิ ทิ น และทำ า การนิ เ ทศ ไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ก�รนิเทศเป็นระบบครบวงจร : มีการวางแผนการนิเทศฯการดำาเนิน งานของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เน้นความครอบคลุม ทั่วถึง และต่อเนื่อง โดยเริ่ม จัดประชุมกลุ่มย่อยทำา Focus Group สภาพปัญหาและความต้องการจำาเป็นของสถาน ศึกษาในแต่ละกลุ่มฯ จัดทำาคู่มือการนิเทศ หลักสูตรนิเทศที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของสถานศึกษา พัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ แต่งตั้ง คณะนิเทศ กำากับ ติดตามการดำาเนินงานของสถานศึกษา ในสังกัดทุกแห่งโดยคณะ กรรมการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่ฯ ๒ เดือน/ ครั้ง แล้วสรุปรายงานผลการนิเทศฯเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ก�รประเมินคุณภ�พภ�ยใน : ใช้กระบวนการ ประเมินคุณภาพภายในเป็นกลไกสำาคัญในการกำากับ ติดตามการ ดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด โดยให้ความสำาคัญกับมาตรฐาน ผู้ประเมินคุณภาพภายใน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มีการจัดทำาหลักสูตร และฝึกอบรม ผู้ประเมินคุณภาพภายใน สรรหาผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ ของเขตพื้นที่ฯ จัดทำาคู่มือสำาหรับการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด เพื่อให้ผู้ประเมินคุณภาพ ภายในมี ม าตรฐานใกล้ เ คี ย งกั น สามารถ นิเทศ แนะนำา สถาน ศึ ก ษาได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพและเป็ น แนวทางเดียวกัน ผลจากการดำาเนินงาน ผ่านกระบวนการทั้ง ๓ ข้างต้น ทำาให้เขตพื้นที่ฯ เกิดนวัตกรรมในการ พั ฒ นายกระดั บ คุ ณ ภาพโรงเรี ย น ๑๒ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 15. ทั้งระบบ มาอย่างต่อเนื่อง เช่น ๑. กระบวนการ Benchmarking พัฒน�ยกระดับคุณภ�พสถ�นศึกษ� ส่งผลให้สถานศึกษามีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ให้มีคุณภาพและ มาตรฐานสูงขึ้น จนสามารถเป็นแบบ อย่างให้สถานศึกษาอื่น ๆ ได้ เช่น โรงเรียนวัดท่าแค โรงเรียนบ้านหลุมข้าว โรงเรียนซอย ๓ สาย ๔ ซ้าย โรงเรียน อนุบาลลพบุรี และโรงเรียนเมืองใหม่ “ชลอราษฎร์สังสฤษฎ์” เป็นต้น ๒. ก�รจัดก�รคว�มรู้ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภ�พองค์กร (Knowledge Management : KM) ส่งผลให้สถานศึกษามีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง สมำ่าเสมอมีการศึกษาดูงานได้รับแนวทางในการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาอย่างหลากหลาย มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้การจัดการ ความรู้ จนสามารถเป็นต้นแบบการจัดการความรู้ให้แก่สถานศึกษาอื่น ๆ ได้ เช่น โรงเรียนบ้านวังจั่น โรงเรียนบ้านถลุงเหล็ก โรงเรียนบ้านหลุมข้าว โรงเรียนวัดหนองพิมาน โรงเรียนวัดบ้านดาบ และโรงเรียนอนุบาลท่าวุ้ง เป็นต้น ๓. กระบวนการ Coaching “พ�ทำ� นำ�สู่ก�รพัฒน�” ส่งผลให้เขตพื้นที่ การศึกษาฯ มีการนิเทศอย่างเป็นระบบ สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ ชี้แนะ อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง การดำาเนินงานผ่านกระบวนการทั้ง ๓ ประการ ส่งผลให้เขตพื้นที่การศึกษาฯ มีการนิเทศอย่างกัลยาณมิตร เขตพื้นที่ฯ ได้รู้สภาพปัจจุบันและปัญหาที่แท้จริงของ สถานศึกษา เพื่อหาแนวทาง/ปัจจัยสนับสนุนที่เหมาะสมต่อไป เกิดนวัตกรรมในการ พัฒนาอย่างหลากหลายทุกระดับ ทั้งครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา นักเรียน และ ผู้นิเทศ สถานศึกษาได้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น ทำาให้มีแนวทางในการพัฒนา อย่างหลากหลาย สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบท ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑๓
  • 16. ของตนเองมากขึ้นและมีการพัฒนานำาแผนไปสู่การปฏิบัติที่เป็นระบบและเป็นรูปธรรม ชัดเจนยิ่งขึ้น บุคลากรที่เกี่ยวข้องมีขวัญและกำาลังใจในการทำางาน สถานศึกษามีผล การประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.ในภาพรวม ระหว่างผลการประเมินภายนอก รอบแรกและรอบสอง สูงขึ้น โดยมีสถานศึกษาที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี ถึงดีมาก เพิ่มขึ้น จากร้อยละ ๓๘.๘๓ เป็นร้อยละ ๙๓.๘๖ สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพ ภายในอยู่ในระดับดีถึงดีเยี่ยมทั้งหมด ๑๐๐% มีสถานศึกษาในสังกัดได้รับรางวัลโรงเรียน พระราชทานจำานวน ๒ โรงเรียน คือ โรงเรียนอนุบาลลพบุรี โรงเรียนวัดท่าแค มีสถานศึกษาในสังกัดผ่านการประเมินต้นแบบโรงเรียนในฝันถึง ๖ โรงเรียนด้วยกัน สถานศึกษาในสังกัดบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมทุกโรงเรียน ยังไม่พอ เขตพื้นที่ฯ ยังกำาหนดทิศท�งก�รพัฒน�ระบบก�รประกันคุณภ�พ ก�รศึกษ� ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นนั้น ดังนี้ ๑. มีการรวมกลุ่มสถานศึกษา ขนาดเล็ก และร่วมกันจัดทำาแผนพัฒนา สถานศึกษาขนาดเล็ก ๒. จัดสรรงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ช่วยเหลือสถานศึกษาขนาดเล็ก ๓. จัดระบบการนิเทศ แนะนำา ช่วยเหลือสถานศึกษาทุกแห่งอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง ๔. อบรมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษา อย่างต่อเนื่อง ๕. ให้เกียรติบัตร ยกย่อง ชมเชย ให้ขวัญกำาลังใจแก่บุคลากรที่มีผลการ ดำาเนินงานประสบความสำาเร็จ อยู่เสมอ ๖. จัดทำาเอกสาร คู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการนิเทศ สถานศึกษาอย่างหลาก หลายเพื่อเป็นแนวทางการดำาเนินงานสำาหรับสถานศึกษา และผู้นิเทศ ทุกระดับ การพัฒนาให้มีโรงเรียนดีมีคุณภาพใกล้ ๆ บ้าน ยังคงไม่หยุดอยู่เพียงเท่านี้ ยังต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง ซึ่ง ทั้ง ๓ รูปแบบ และ ๖ แนวทางที่กล่าว จะช่วยให้ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีความ เข้มแข้ง มีมาตรฐาน จนทำาให้สถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป็นที่ยอมรับของ สังคม แข่งขันกับโรงเรียนยอดนิยมได้ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ปกครองในการส่ง บุตรหลานมาเข้าเรียน เพื่อลดปัญหาความแออัดของจำานวนนักเรียนในสถานศึกษาชื่อ ดังหรือสถานศึกษาในเมืองดังกล่าวข้างต้น ๑๔ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 17. เด็กดี.... ที่เราต้องการ (๘+๑) ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑๕
  • 18. เด็กดี... ที่เร�ต้องก�ร ( ๘+๑ ) *....“ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพมาตรฐานสากล ...” จ ากวิสัยทัศน์ของเขตพื้นที่ฯ จะเห็นได้ว่า เขตพื้นที่ฯหวังให้เด็กๆ เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อเห่อเหิม แต่ก็มีความรู้ความสามารถพอที่อยู่บนโลกยุค ปัจจุบัน ที่มีการแก่งแย่งแข่งขันกันอย่างดุเดือด ได้อย่างมีความสุข ...แต่จะทำาอย่างไร เด็ก จึงจะมีคุณลักษณะแบบนี้ได้... แน่นอนต้องเริ่ม ปลูกฝังตั้งแต่เยาว์วัย ไม่รอช้า ท่าน ผอ.เขตฯนักคิด พร้อม ๑๓ อรหันต์คู่ใจ ผุด นโยบายสำาคัญ มุ่งมั่นปั้นนักเรียนสมบูรณ์แบบ ที่ทั้งเก่งและดี ตอบสนอง “จุดเน้น คุณภ�พผู้เรียน จุดเปลี่ยนก�รปฏิรูปก�รศึกษ�ไทย” ของกระทรวงศึกษา แถมตรง ใจ ผู้ปกครองและชุมขนอีกต่างหาก ยังไม่พอขออีก ๑ จากจังหวัดลพบุรี ให้เด็ก มีความกตัญญูรู้คุณคนด้วย ผ่านนโยบาย “ปีก�รศึกษ� ๒๕๕๔ ปีแห่งก�รพัฒน� คุณภ�พและคุณธรรม” พอนโยบายเกิด กิจกรรมก็ตามมาเป็นลำาดับ เพื่อไปให้ถึงจุดหมาย บูรณ าการกันทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่ อันดับแรกคือ ต้องทำาความเข้าใจ กันก่อน ด้วยการประชุมชี้แจงนโยบาย แนวทางการทำางานให้ประสบผลสำาเร็จตาม ๑๖ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 19. นโยบาย เป้าหมายสุดท้ายของนโยบาย กำาหนดกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะต้องดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ มอบหมายงาน จากนั้นเริ่มดำ าเนินการด้ ว ยการจั ด ประชุ ม ชี้ แ จงการวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางและนิยามตัวชี้วัด และเกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ๘ ประการ บวกความต้องการของจังหวัดลพบุรีอีก ๑ ประการ ให้คุณครู และผู้บริหารทุกคนรับทราบ ลำาดับต่อมา เมื่อรับทราบตรงกันแล้ว ภาคปฏิบัติผ่านกิจกรรมต่างๆ ก็เริ่มขึ้น ผ่านไกด์ไลน์ Dek – D – Model ซึ่งมีรูปแบบในการส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับเด็ก ๆ ๔ รูปแบบคือ ๑. ารบริหารจัดการ โดยอำานวยการ วางแผน กำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ก เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ รวมทั้งบริหารจัดการหลักสูตร มีผู้รับผิดชอบ นิเทศ กำากับ ติดตามและส่งเสริม ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน พร้อมทั้ง สรุปผลการดำาเนินงานเพื่อนำาไปวางแผนพัฒนาปรับปรุงต่อไป ๒. การจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม โดยบูรณาการการจัด กิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ให้กับเด็กในทุก ๆ ด้าน ผ่านความร่วมมือของทุกๆ ฝ่าย กิจกรรมประกอบด้วย การสร้างโรงเรียนเครือข่ายคุณธรรม โดยมีศูนย์แม่ข่ายคุณธรรมจำานวน ๒๒ แม่ข่าย เป็นหลักในการร่วมคิดร่วมทำากับเขตพื้นที่ฯ พร้อมพัฒนา สร้างโรงเรียนเครือข่ายเพื่อ ร่วมกิจกรรม ครบทั้ง ๑๘๗ โรงเรียน (จำานวน ณ ขณะนั้น) การร่วมกันจัด เวทีนำาเสนอและเผยแพร่ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ งานมหกรรมวิถีธรรมวิถีไทย ลพบุรี นิทรรศการมหกรรมบูชาพุทธ ชยันตีวิถีธรรมวิถีไทย เทิดไท้ ๘๔ พรรษา องค์ราชันย์เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีความรัก และภาคภู มิ ใ จในความเป็ น ชาติ ไ ทยอั น ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑๗
  • 20. มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น พระประมุ ข และอยู่ภายใต้ร่มเงาของพระพุทธศาสนา ก า ร ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม ใ ห ม่ ผ่านนิทานคุณธรรมและเพลงคุณธรรม เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้ เพื่อหล่อ หลอมกล่ อ มเกลาจิ ตใจเด็ กให้ อ่ อ นโยน ซื่อสัตย์ เป็นคนดี ซึ่งจัดทำาขึ้นโดย ผอ.นักคิดนักพัฒนาสุเมธี จันทร์หอม และทีมงานปราชญ์ชาวบ้าน นักร้องนักดนตรีใน จังหวัดลพบุรี จัดทำาบทอาขยานดอกสร้อยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘+๑ ประการ พัฒนาครูเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้เข้ากับยุคสมัย ด้วยยุทธวิธี “ปรับ การเรียน เปลี่ยนการสอน” โดยเน้นให้เด็กได้แสดงออกซึ่งความคิด การวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยมีคุณครูเป็นผู้แนะนำาส่งเสริมและช่วยเหลือ การแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรม ค่ายพัฒนาคุณธรรมด้านสำานึกดี เสียสละ รับผิดชอบ กตัญญู จิตอาสา จำานวน ๑๐ แม่ข่าย โดยมีนักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายร่วมกันออกไปดูแลช่วยเหลือ และให้กำาลังใจแก่คนชราในหมู่บ้านเพื่อสร้างจิตสำานึกในการช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่น ให้บังเกิดมีขึ้นในจิตใจของนักเรียน การจัดกิจกรรมคุณธรรม น้อมนำาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของโรงเรียนแม่ข่ายจำานวน๒ โรงเรียน กิจกรรมดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน จำานวน ๖ แม่ข่าย เพื่อให้เด็กรู้จักคุณค่าและรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนา ต่อยอดโครงงานคุณธรรมเยาวชนไทยทำาความดี ถวายในหลวง จำานวน ๔ แม่ข่าย ร่วมกัน วิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบเด็กดีโมเดล และอื่น ๆ อีกมากมาย ๓. การสร้างเครือข่าย และการมี ส่วนร่วม โดยการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ๑๘ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 21. ให้มากที่สุด เพื่อสร้างความหลากหลายใน ความคิดและรูปแบบของกิจกรรม ๔. การสร้ า งต้ น แบบและตั ว อย่ า ง ในทุกองค์กร เช่น ในสถาบันครอบครัวเอง ที่พ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกปลูกฝัง อบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดี จากสถาน ศึกษาก็ด้วยการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน โดยตรง คุณครูผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนได้เห็น ยกย่องเชิดชูเมื่อเด็กทำา ความดีหรือทำาประโยชน์ให้กับสังคม จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ก็ด้วยการ สนับสนุนส่งเสริมทั้งงบประมาณ คอยสอดส่องดูแลช่วยเหลือและร่วมมือกันแก้ปัญหา จากการดำาเนินงานผ่าน Dek – D – Model อย่างเข้มข้น ในที่สุด ผลของการทำางานหนักก็บังเกิด นั่นคือ - โรงเรียนวัดโคกหม้อได้รับรางวัลเหรียญทองอันดับ นงานศิลปหัตถกรรม ๑ใ ระดับประเทศ ๓ ปีซ้อน จากการประกวดโครงงานคุณธรรม ระดับประเทศ ครั้งที่ ๕๙-๖๑ ในหัวข้อ “ธนาคารความดี” ที่ว่าด้วยเรื่องของจิตอาสาของนักเรียนผ่าน กิจกรรมที่หลากหลาย - โรงเรียนบ้านหลุมข้าว ได้เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าไปประกอบโครงงาน คุณธรรม ระดับประเทศ - โรงเรียนแม่ข่ายจำานวน ๓ โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดท่าแค โรงเรียนโคกสำาโรง และโรงเรียน อนุบาลท่าวุ้ง มีความเข้มแข็ง จ น ก ร ะ ทั่ ง ส า ม า ร ถ จั ด ง า น มหกรรมวิถีธรรมวิถีไทยฯ เพื่อ นำ า เสนอและแลกเปลี่ ย นเรี ย น รู้ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมได้ ด้ ว ย ตนเองโดยไม่ต้องอาศัยเขตพื้นที่ฯ ถีง ๓ ปีซ้อนด้วยกัน โดยในปี แรกคือ ปี ๒๕๕๓ จัดที่โรงเรียน ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๑๙
  • 22. วัดท่าแค ปี ๒๕๕๔ จัดที่เขตพื้นที่ฯ และปีนี้แยกกันจัดเป็นรายอำาเภอ - โรงเรียนเครือข่ายพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นโรงเรียนที่เป็นแบบ อย่างการจัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมโครงงานคุณธรรมมากมาย เช่น โรงเรียนบ้านหลุมข้าว โรงเรียนวัดโคกหม้อ โรงเรียนวัดธรรมเจดีย์ โรงเรียน วัดท่าแค โรงเรียนวัดหนองปลิง โรงเรียนซอย ๓ สาย ๔ ซ้าย โรงเรียนวัดโพธิ์ตรุ โรงเรียนวัดหนองโพธิ์ และโรงเรียนวัดดงพลับ เป็นต้น - นักเรียนในสังกัด ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ครบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ที่เห็นประสบความสำาเร็จเป็นรูปธรรม จาก ความมุ่งมั่นปั้นเด็กดีมี คุณภาพผ่านกระบวนการนานาข้างต้น นั่นคือเด็กหญิงพนิดา หินกลม นักเรียน ระดับชั้น ป. ๖ จากโรงเรียนวัดท่าแค ผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเด็กหญิงยอดกตัญญู ดูแล บิดาที่ป่วยเป็นอัมพฤกษ์เป็นอย่างดี แต่มีฐานะยากจนแร้นแค้น ต้องอาศัยใต้ถุนบ้าน ของญาติอยู่ มีสภาพที่ไม่ปลอดภัย ได้รับการคัดเลือกจาก สพฐ. จัดสร้างบ้าน ให้ ตามโครงการ “บ้�นน้ำ�ใจ” เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ภายใต้ความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน เช่น นักเรียนจากวิทยาลัยเทคนิคลพบุรี ช่วยสร้างบ้านให้ งบประมาณ จาก สพฐ. และ เขตพื้นที่ฯ เครื่องใช้ต่าง ๆ จากพ่อค้าประชาชนในจังหวัดลพบุรี ตอบโจทย์คุณธรรม ๘ ประการบวกอีกหนึ่งกตัญญูที่จังหวัดลพบุรีต้องการได้ เรียกว่า ประสบความสำาเร็จกันตั้งแต่หัววันทีเดียว ๒๐ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 23. ตามรอยพ่อ ... พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็น ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแนวทาง การ ดำา เนินชีวิต แก่ พ สกนิ ก รชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภาย หลังได้ทรงเน้นย้ำา แนวทางการแก้ไขเพื่อ ให้รอดพ้น และสามารถดำารงอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลง ภายใต้กรอบ แนวคิด การดำารงอยู่และปฏิบัติตนใน ทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถี ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำามา ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการ พัฒนา คุณลักษณะของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติ ตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็น ขั้นตอน โดยความพอเพียงของพระองค์นั้น ประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ ไ ม่ น้ อ ยเกิ ดไปและไม่ ม าก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตั ด สิ นใจเกี่ ย วกั บ ระดั บ ของความ พอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๒๑
  • 24. โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทำานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ๓. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระ ทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึงความเป็นไปได้ของ สถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล มีเงื่อนไข การตัดสินใจ และการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และ คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ ๒. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาใน การดำาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติในการนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของเขตพื้นที่ฯ ที่ว่า.. “... เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำ�ปรัชญ�ของเศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียง คุณภ�พม�ตรฐ�นส�กล บนพื้นฐ�นคว�มเป็นไทย ...” ซึ่งเขตพื้นที่ฯ โดยท่าน ผอ.เขตฯ สุเมธี จันทร์หอม ก็ระลึกถึงคุณค่าของความเป็นไทยและตระหนักในความ สำาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ในอันที่จะประคับประคองตนให้อยู่รอดปลอดภัยได้ในทุก กาลสมัย จึงได้กำาหนดวิสัยทัศน์ดังกล่าวขึ้น ไว้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการ ๒๒ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 25. ศึกษา โดยตั้งเป้าหมายเอาไว้ว่า ภายในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ทุกโรงเรียนต้องเข้า รับการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง และต้องมีโรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการ เป็นต้นแบบสถานศึกษาพอเพียงให้ได้ ๕๐% ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย กระบวนการขับเคลื่อนภารกิจไปสู่เป้าหมายจึงบังเกิดขึ้น โดยการมอบหมาย รอง ผอ.เขตพื้นที่ฯ ที่ดูแลกำากับติดตามการดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัดแต่ละ พื้นที่ ร่วมกับศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยงในแต่ละโรงเรียน ประธานกลุ่มโรงเรียน ร่วมกัน ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู่ ส ถานศึ ก ษาเพื่ อ น้ อ มนำ า หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียงข้างต้น ลงสู่การปฎิบัติ ด้วยการจัดทำาคู่มือแนวการจัดกิจกรรม ซึ่งประกอบ ด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง หลักพิจารณา ๕ ประการ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง แบบฝึ ก ความรู้ ค วามเข้ า ใจ ในหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียง จัดทำาคู่มือผลการ ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใ ห้ ทุ ก โ ร ง เ รี ย น ใ ช้ เ ป็ น แนวทางนำ าไปจั ด การเรี ย นรู้ แก่นักเรียน มีการค่ายสร้างเด็กดีมีจิตอาสาพัฒนาสังคมให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนา ส่งเสริมสนับสนุน ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ ผ่ า นการปฏิ บั ติ จ ริ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ นให้ ค รู จั ด การเรี ย นรู้ โ ดยนำ า หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ แทรกซึมเข้าสู่กระบวนการเรียนการสอนใน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบผลสำาเร็จในการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา พัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดประกวด เขียนผัง ความคิด Mind Map “วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนแสดงออกถึงวิธีคิดของตนเองเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด ดำาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง โดยความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นิเทศ กำากับ ติดตามอย่างต่อเนื่อง ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๒๓
  • 26. จ � ก ก � ร ดำ � เ นิ น ง � น ผ่ � น กิจกรรมข้�งต้น ผลปร�กฏว่� - นักเรียนในสังกัด ผ่านการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐๐ % - สถานศึกษาในสังกัด จัดกิจกรรม ส่งเสริมความมีจิตสาธารณ ความรับ ผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมให้กับ เด็กครบ ๑๐๐ % - มี ส ถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ผ่ า นการ ประเมินเป็นสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ สพฐ. ในปีการศึกษา ๒๕๕๒ จำานวน ๓ แห่ง และเพิ่มขึ้นอีก ๖ แห่งในปีการศึกษา ๒๕๕๔ - บเขตพื้นที่ฯ ก็มีโรงเรียนที่ผ่านการประเมินดังกล่าว ถึง ๑๔ แห่ง ในระดั - านี้ยังไม่พอ โรงเรียนวัดสระมะเกลือ ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีคุณครู เท่ เพียงแค่ ๓ คน แถมผู้บริหารก็เป็นสุภาพสตรีอีกต่างหาก กลับบริหารจัดการโรงเรียน ของตนเองให้เป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ ในเรื่องการทำานาปลูกข้าวแบบครบวงจร เพื่อสนองโครงการพระราชดำาริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมปลูกผักสวนครัวบริเวณคันนา เพื่อเป็นอาหารกลางวันนักเรียน โดยให้นักเรียน เป็นผู้ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ทั้งการไถ คราด หว่าน ปักดำา เก็บเกี่ยว แปรรูป มี คุณครูและวิทยากรท้องถิ่นชี้แนะสั่งสอน สร้างความสุขสนุกสนานระหว่างเรียน ลด รายจ่ายผู้ปกครอง สร้างจิตสำานึกรักในอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษ จนสามารถคว้า โล่รางวัลระดับเหรียญทองด้านแหล่งเรียนรู้จากคุรุสภา ในการประกวด หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจำาปี ๒๕๕๒ ที่จัดโดยสถาบันราชภัฎเทพสตรีลพบุรี ๒๔ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 27. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๒๕
  • 28. O ne Vision, One Identity, One community หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม เป็นคำาขวัญที่ บ่งบอกว่า นี่คือ ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ซึ่งเป็นองค์กร ระหว่ า งประเทศระดั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน ๑๐ ประเทศ คือ ไทย มาเลยเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า ก่อตั้ง ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้าง สั น ติ ภ าพในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้ อันนำามาซึ่งเสถียรภาพทาง การเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้า ระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทำาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้น กระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น เป้าหมายคือ ต้องรวมตัวกันให้สำาเร็จและมีผลจริงจัง ภายใน ๑ มกราคม ๒๕๕๘ ซึ่ง ณ วันนั้น จะทำาให้ภูมิภาคนี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างที่เรา ๆ ท่านๆ อาจจะคาดไม่ถึงก็เป็นได้ ...ดังนั้น เพื่อไม่ให้ตกขบวนรถไฟสายประวัติศาสตร์ขบวนนี้เราต้องเตรียมตัว กันแต่เนิ่น ๆ ด้วยการเตรียมคนของเราให้พร้อมรับมือกับการแข่งดุในอนาคตเสีย ตั้งแต่วินาทีนี้เป็นต้นไป แน่นอนว่า ผอ. รูปไม่หล่อ แต่เฉียบคมไปด้วยหลักคิดอย่าง สุเมธี จันทร์หอม ย่อมต้องก้าวขึ้นรถไฟ สายนี้เป็นคนแรกอยู่แล้ว ด้วยการ จัดทัพปรับขบวนเพื่อรองรับโครงการ พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน ของ สพฐ. (Spirit of ASEAN) โดยเตรียมการ ในเรื่องการพัฒนาผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ ๒๖ y๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม
  • 29. บุคลากรทางการศึกษา ให้มีทักษะ มีเจตคติที่ดี มีความพร้อมที่จะเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่ง ของอาเซียนตั้งแต่หัววัน เริ่มจากระดับเขตพื้นที่ฯ จัดหาครูชาวต่างชาติมาสอน การใช้ภาษาอังกฤษให้กับทีมบริหาร ในทุกเช้าวันอังคารหลังการประชุมเสร็จ มีการ จั ด อบรมสั ม มนาหลั ก สู ต รการใช้ ภ าษาอั ง กฤษในชี วิ ต ประจำ า วั นให้ กั บ บุ ค ลากรใน เขตพื้นที่ฯ ด้วยการทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี ทั้งก่อนอบรมและหลังอบรม ฝึกปฏิบัติ จริงด้วยการสนทนากับคุณครูชาวต่างชาติเจ้าของภาษาเช่นเดียวกัน โดยแบ่งกลุ่ม สมาชิกบนเขตพื้นที่ฯ ออกเป็นสมาชิกในแต่ประเทศทั้ง ๑๐ ประเทศ มีท่านรอง ผอ.เขตฯ ที่นำาร่องฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาอังกฤษไปก่อนแล้ว เป็นพี่เลี้ยงประจำาแต่ละประเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ แต่ละประเทศที่ตนเองเป็นสมาชิก ทั้งสนุกสนานและได้ความรู้ ทำาให้ความรู้ฝังลึก เกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่เคยร่ำาเรียนมา ถูกดึงขึ้นมาใช้อีกครั้ง อย่างมีประสิทธิภาพ เรียกว่า พอจะสามารถสื่อสารกันได้ในเบื้องต้น เปิดวิสัยทัศน์ผู้บริหารและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการรับฟังการ บรรยายจากวิทยากรระดับประเทศ ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล ส่วนระดับสถานศึกษา หลังจากที่เขตพื้นที่ฯ ได้ทำา MOU ในการยกระดับ คุณภาพการศึกษาระหว่างเขตพื้นที่ฯ กับ INSTITUT AMINUDDIN BAKI ; Malaysia โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันในเรื่อง Improving teacher, principal and supervisor quality ในปีงบประมาณ ๒๕๕๐ แล้ว ต่อมาใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๑ ร่วมมือกับ British Council และ สพฐ. จัดโครงการ ๔ ปี กับ สุเมธี จันทร์หอม y ๒๗