SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  49
Télécharger pour lire hors ligne
ความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
จัดทําโดย
นางสาว มาริสา เจริญไพศาลสัตย
รหัสประจําตัวนักศึกษา 501610142
อาจารยที่ปรึกษา
อ.ดร. ผทัยรัตน ภาสนพิพัฒนกุล
รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษากระบวนวิชา 751409
(แบบฝกหัดการวิจัยปญหาเศรษฐกิจปจจุบัน)
ประจําภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ก
กิตติกรรมประกาศ
การคนควาแบบอิสระนี้ เปนสวนหนึ่งของวิชา Research Exercise Economics (751409)
เนื้อหาของการคนควาเกี่ยวกับการศึกษาถึงความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการ
ของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
รายงานวิจัยอิสระนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก อ.ดร.ผทัยรัตน ภาสนพิพัฒนกุล
อาจารยที่ปรึกษารายงานวิจัยอิสระ ที่ไดกรุณาใหคําแนะนํา ชี้แนะแนวทาง ตรวจสอบขอบกพรอง
ตาง ๆ และกลั่นกรองเนื้อหาสาระของรายงานวิจัยอิสระนี้ ดวยความเอาใจใสเปนอยางยิ่งมาตั้งแต
เริ่มตนจนรายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณ ผูทําการวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ณ โอกาสนี้
หากการคนควาแบบอิสระนี้มีความผิดพลาดประการใด ผูทําการวิจัยขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
มาริสา เจริญไพศาลสัตย
กุมภาพันธ 2554
ข
สารบัญ
หนา
กิตติกรรมประกาศ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา 1
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 3
1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3
1.4 ขอบเขตการศึกษา 4
1.5 นิยามศัพท 4
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 5
2.1 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 5
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 14
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย 15
3.1 กลุมตัวอยางในการศึกษา 15
3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล 16
3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 16
3.4 การวิเคราะหขอมูล 17
3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 19
บทที่ 4 ผลการศึกษา 20
4.1 ขอมูลทั่วไป 21
4.2 ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร 23
4.3 ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ 26
4.4 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม 29
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 31
5.1 สรุปผลการศึกษา 31
5.2 ขอเสนอแนะ 35
5.3 ปญหาในการวิจัย 36
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ค
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1.1: แสดงสถานภาพทางการเงินของการรถไฟแหงประเทศไทย
ถารัฐเขามารับภาระทางราง 2
ตารางที่ 1.2 : แสดงปริมาณผูโดยสารในการใชบริการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547-2552 2
ตารางที่ 4.1 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ 21
ตารางที่ 4.2 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ 21
ตารางที่ 4.3 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับการศึกษา 21
ตารางที่ 4.4 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอาชีพ 22
ตารางที่ 4.5 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามรายไดตอเดือน 22
ตารางที่ 4.6 : ตารางแจกแจงตามอายุของผูตอบแบบสอบถาม 23
ตารางที่ 4.7 : ตารางแจกแจงตามลักษณะของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม 24
ตารางที่ 4.8 : ตารางแจกแจงตามลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม 24
ตารางที่ 4.9 : ตารางแจกแจงตามประเภทของบริการที่ใชของผูตอบแบบสอบถาม 25
ตารางที่ 4.10: ตารางความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มีตอความพึงพอใจ
ตอการใหบริการ 27
ตารางที่ 4.11: ตารางความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มีตอความพึงพอใจ
ในดานตางๆ 27
ง
1
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การรถไฟแหงประเทศไทยเปนรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปการ จัดตั้งขึ้นตาม
พระราชบัญญัติการรถไฟแหงประเทศไทย พ.ศ. 2494 โดยมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งเพื่อดําเนิน
ธุรกิจดานการขนสงทางรถไฟเพื่อประโยชนแกประชาชน รัฐ และองคกร จากแผนวิสาหกิจ พ.ศ.
2550-2554 ของการรถไฟแหงประเทศไทย ไดมีการกําหนดวัตถุประสงคที่เกี่ยวกับการใหบริการ
ของการรถไฟแหงประเทศไทย ไดแก เพื่อพัฒนาใหการรถไฟแหงประเทศไทยเปนหนวยงานที่มี
ภาพลักษณในทางที่ดีขึ้นในสายตาของสาธารณชน ซึ่งจะสรางศรัทธาใหประชาชนหันกลับมา
เลือกใชบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยทั้งดานการขนสงผูโดยสารและการขนสงสินคา เพื่อ
พัฒนาระบบการบริหารงาน โครงสรางองคกร และกระบวนการบริหารงานภายในของการรถไฟ
แหงประเทศไทยใหมีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเนนที่ประสิทธิผลในการดําเนินงานของ
การรถไฟแหงประเทศไทย และเพื่อพัฒนาระบบการบริหารบุคลากรและพัฒนาบุคลากรระดับตางๆ
ของการรถไฟแหงประเทศไทย ซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญในการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ มี
ความสามารถ ทัศนคติและมีคุณภาพเหมาะสมในการดําเนินงานของการรถไฟแหงประเทศไทย
รวมทั้งสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการและรองรับเทคโนโลยีสมัยใหมไดดีขึ้น
การจัดเดินขบวนรถไฟโดยสารทั่วประเทศ ประกอบดวย รถดวน รถดวนพิเศษ รถเร็ว รถ
ธรรมดา รถทองถิ่น รถพิเศษชานเมือง และรถชานเมือง ในบรรดาขบวนรถทุกประเภทนี้ รถดวน
พิเศษ “นครพิงค” เปนขบวนที่ดีที่สุดและสามารถสรางรายไดไดมากที่สุดขบวนหนึ่ง เนื่องจาก
เปนขบวนที่ใหบริการรถปรับอากาศนั่งและนอนชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 โดยจัดใหบริการวันละ 2
ขบวน
ในปงบประมาณ 2550 การรถไฟแหงประเทศไทยมีจํานวนขบวนรถโดยสารทั้งสิ้น 1,265
ขบวน โดยจัดเดินขบวนรถแยกตามเสนทางตางๆ ไดแก สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายเหนือ สายใต
และสายตะวันออก การเดินรถขนสงของการรถไฟแหงประเทศไทยในรอบปงบประมาณ 2550 มี
รายไดจากการดําเนินงานรวมทั้งสิ้น 9,039.61 ลานบาท แตมีรายจายรวมทั้งสิ้น 10,570.593 ลาน
บาท
2
ทําใหการรถไฟแหงประเทศไทยประสบปญหาภาวะขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงาน 7,925.778
ลานบาท (จากตารางที่1.1) สาเหตุอันเนื่องมาจากการลดลงของจํานวนผูโดยสารที่มาใชบริการ
นั่นเอง
ตารางที่ 1.1: แสดงสถานภาพทางการเงินของการรถไฟแหงประเทศไทย ถารัฐเขามารับภาระทาง
ราง
(หนวย: ลานบาท)
ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555
รายไดรวม 9,039.610 9,292.136 9,289.228 9,503.068 10,014.325 11,569.637
รายจายรวม 10,570.593 11,863.030 13,454.073 13,413.507 13,755.518 14,012.825
กําไร(ขาดทุน)สุทธิ
จากการดําเนินงาน
ปจจุบัน
(7,925.778) (10,216.364) (11,743.138) (11,990.588) (12,207.418) (11,717.366)
ที่มา : การรถไฟแหงประเทศไทย
อยางไรก็ตามจากสถิติการโดยสารจะเห็นวาในแตละปการรถไฟแหงประเทศไทยได
ใหบริการแกผูโดยสารจํานวนมาก แตจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการนั้นมีจํานวนลดลงทุกปดังตาราง
ตารางที่ 1.2 : แสดงปริมาณผูโดยสารในการใชบริการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547-2552
ปงบประมาณ 2547 2548 2549 2550 2551 2552
ปริมาณผูโดยสาร
(ลานคน)
50.873 49.671 48.867 45.050 47.059 46.526
ที่มา : การรถไฟแหงประเทศไทย
จากการลดลงของจํานวนผูโดยสารที่มารับบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยมี
ผลกระทบโดยตรงตอรายไดของการรถไฟแหงประเทศไทย ซึ่งอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากขอบกพรอง
ของการบริการในดานใดดานหนึ่งของการรถไฟแหงประเทศไทย อีกทั้งยังเกิดเหตุการณการ
เรียกรองและประทวงโดยนัดหยุดเดินรถทั่วประเทศของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจรถไฟ (สร.
ร.ฟ.ท.) (ระหวางปพ.ศ. 2552 - 2553) ดังนั้นการรถไฟแหงประเทศไทย จึงควรใหความสําคัญกับ
การใชบริการโดยสารในดานตางๆ แกผูโดยสาร
จากปญหาการลดลงของจํานวนผูโดยสารของการรถไฟแหงประเทศไทยดังที่กลาวมาและ
จากแผนพัฒนาการบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยใหเปนรถไฟที่มีประสิทธิภาพตาม
3
มาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศ ทําใหการรถไฟแหงประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการปรับปรุงและพัฒนางานบริการ
ดานตางๆ มากขึ้น ดังนั้นการสํารวจความคิดเห็นของผูใชบริการตอบริการของการรถไฟแหง
ประเทศไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงจึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหการรถไฟแหงประเทศไทยสามารถ
ปรับปรุงการบริการใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ ผูศึกษาจึงเกิดความสนใจเขามา
ทําการศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษนคร
พิงค กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ เพื่อทราบถึงลักษณะการใชบริการ ความพึง
พอใจที่เกิดกับผูโดยสารเมื่อมาใชบริการ และความคิดเห็นของผูใชบริการ โดยเลือกศึกษาขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม เปนกรณีศึกษา ผลการศึกษาสามารถใชเปน
ขอมูลสวนหนึ่งในการปรับปรุงรูปแบบ วิธีการ และพัฒนาการในการใหบริการที่มีประสิทธิภาพใน
การใหบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ
(อางอิง: กองประชาสัมพันธ, สถิติการโดยสาร, กรุงเทพฯ: การรถไฟแหงประเทศไทย, 2547-2552)
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาลักษณะการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค
กรุงเทพฯ-เชียงใหม
2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของผูโดยสารเกี่ยวกับการใหบริการของ
ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการของขบวนรถดวน
พิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ทําใหทราบถึงความคิดเห็น ความตองการของผูโดยสาร และขอเสนอแนะตางๆ ที่มีตอ
การใหบริการบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมของการรถไฟแหงประเทศไทย
2. ทราบถึงปญหาการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-
เชียงใหม
3. เปนขอมูลเบื้องตนในการนําไปเปนแนวทางเพื่อแกไขปญหาและปรับปรุงการใหบริการ
โดยสารของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมและสายอื่นๆ ตอไป
4
1.4 ขอบเขตการศึกษา
งานวิจัยนี้เปนการศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม เพื่อศึกษาถึงลักษณะการใชบริการของผูโดยสารบน
ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ปญหาการใชบริการของผูโดยสาร ตลอดจน
ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของผูโดยสารเกี่ยวกับการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษ
นครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม และกลุมประชากรที่ใชในการศึกษาจะครอบคลุมเฉพาะกลุมตัวอยาง
ผูที่มาใชบริการขบวนรถดวนพิเศษนครพิงคขบวนที่ 1 (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม ณ สถานี
เชียงใหม และมีการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
1.5 นิยามศัพท
ผูใชบริการหรือผูโดยสาร หมายถึง ผูโดยสารรถไฟที่ใชบริการขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค
กรุงเทพฯ-เชียงใหม
ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค หมายถึง ขบวนรถไฟประเภทขบวนรถดวนพิเศษเลขขบวน
รถที่ 1 (เที่ยวขึ้น) ที่เดินทางระหวางสถานีกรุงเทพฯ-สถานีเชียงใหม
การรถไฟฯ หมายถึง การรถไฟแหงประเทศไทย
พนักงานฯ หมายถึง พนักงานของการรถไฟแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติหนาที่บนขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
ปจจัยสวนบุคคล หมายถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดของประชากรที่ใชใน
การศึกษา
ลักษณะการใชบริการ หมายถึง สิ่งที่ผูโดยสารไดใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค
กรุงเทพฯ-เชียงใหม ไดแก วัตถุประสงคของการเดินทาง ลักษณะของการเดินทาง สถานีปลายทางที่
เดินทาง ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางและประเภทของการบริการที่ใชบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค
กรุงเทพฯ-เชียงใหม
ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของผูโดยสารที่มีตอสิ่งที่ไดรับจากการใหบริการของ
ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ไดแก ดานผลิตภัณฑ ดานพนักงานบนขบวน
รถไฟ ดานกระบวนการใหบริการ ดานราคา ดานการสงเสริมการตลาด ดานการจัดจําหนาย ดาน
สถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ
5
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ
1. ทฤษฎีอุปสงค
คําวา อุปสงค (Demand) หมายถึง ความตองการซื้อสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของ
ผูบริโภค รวมกับความสามารถในการตอบสนองความตองการดังกลาว กลาวคือ อุปสงคหมายถึง
ความตองการ (want) บวกดวยอํานาจซื้อ (Purchasing power) ถาเปนความตองการที่เกินกวา
อํานาจซื้อ เราไมเรียกวา อุปสงค โดยปกติเรามักจะเรียกปริมาณเสนอซื้อวาเปน Effective demand
และเรียกความตองการซื้อที่ยังไมพรอมดวยอํานาจซื้อ หรือการมีอํานาจซื้อแตยังไมมีความตองการ
ซื้อวาเปน Potential demand
ปจจัยที่กําหนดอุปสงคมีมากมายแตปจจัยที่สําคัญที่กําหนดปริมาณการซื้อคือ อุปสงคตอ
ราคา อุปสงคตอราคาสินคาชนิดอื่น อุปสงคตอรายได และอุปสงคตอรสนิยม ซึ่งสามารถนํามา
เขียนเปนฟงกชั่นอุปสงค (demand function) ไดดังนี้
Qx = f (Px,I,Py,T,…)
โดยที่ Qx = ปริมาณการซื้อของสินคา x
Px = ราคาสินคา x
I = รายไดของผูซื้อ
T = รสนิยมของผูซื้อ
อุปสงคตอราคา (price demand) หมายถึง ปริมาณสินคาที่ผูตองการเสนอซื้อในขณะหนึ่งๆ
ณ ระดับตางๆ กันของราคาสินคาชนิดนั้น โดนกําหนดใหสิ่งอื่นคงที่ ซึ่งไดแก ปจจัยทุกชนิดที่มี
สวนกําหนดปริมาณซื้อที่นอกเหนือจากราคาสินคาที่กําลังพิจารณาอยู ความสัมพันธดังกลาว
สามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้
Qx = (Px)
6
อุปสงคตอสินคาชนิดอื่น (cross demand) หรือที่เรียกวา อุปสงคไขว หมายถึง ปริมาณ
สินคาที่มีผูตองการเสนอซื้อในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับตางๆ กันของราคาสินคาอีกชนิดหนึ่งที่
เกี่ยวของ โดยกําหนดใหสิ่งอื่นๆ คงที่ การศึกษาลักษณะความสัมพันธของราคาและปริมาณเสนอ
ซื้อในกรณีนี้จะคาบเกี่ยวในระหวางสินคา 2 ชนิดดวยกัน ซึ่งประกอบไปดวยสินคาที่ใชประกอบ
กัน และสินคาที่ใชทดแทนกัน ความสัมพันธดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงคชั่นไดดังนี้
Qx = (Py)
อุปสงคตอรายได (income demand) หมายถึง ปริมาณสินคาที่มีผูตองการเสนอซื้อในขณะ
ใดขณะหนึ่ง ณ ระดับตางๆ กันของรายไดของผูซื้อ โดยกําหนดใหสิ่งอื่นคงที่ ความสัมพันธ
ดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้
Qx = (I)
อุปสงคตอรสนิยม (test demand) หมายถึง รสนิยมของผูซื้อของสินคาชนิดนั้น ซึ่งเปน
ปจจัยหนึ่งที่สามารถกําหนดระดับอุปสงคได โดยผูที่มีรสนิยมในสินคาชนิดใดมากก็จะซื้อสินคา
ชนิดนั้นเปนจํานวนมากกวาสินคาชนิดอื่น ความสัมพันธดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้
Qx = (T)
2. ทฤษฎีลักษณะอุปสงคของการขนสง
หลักทั่วไปของอุปสงคมีวา อุปสงคสําหรับสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งถูกกําหนดโดยสินคา
ชนิดนั้น ราคาของสินคาชนิดอื่นๆ และระดับรายได ทฤษฎีของอุปสงคอยางงายๆ นี้ก็ใชไดกับการ
ขนสงในทํานองเดียวกับสินคาและบริการอยางอื่นๆ แตตองมีการปรับปรุงรายละเอียดบางประการ
ซึ่งมีตัวกําหนดระดับอุปสงคสําหรับการขนสงดังตอไปนี้
ราคาของบริการขนสง
ราคาของคาบริการขนสงนั้นมีความหมายกวางเกินกวาคาใชจายในรูปคาโดยสารหรือคา
ระวางขนสง ในการสรางแบบจําลองทางการขนสงเราอาจจะนําเอาสวนประกอบอื่นๆของราคา
เชนตนทุนดานเวลาที่ตองเสียไปในการเดินทาง การรอคอยและความไมปลอดภัยในการเดินทาง
ฯลฯ มารวมกับคาโดยสาร (คาระวาง) เพื่อสรางดัชนีทั่วไปสําหรับการขนสงได
7
การกําหนดหลักการทั่วไปสําหรับการขนสงทุกประเภทเปนเรื่องที่ยากลําบาก แตเทาที่
ปรากฏหลักฐานในหลายกรณีพบวา การเปลี่ยนแปลงของราคาเพียงเล็กนอยจะมีผลกระทบตอ
ปริมาณความตองการเดินทาง หรือระดับอุปสงคสําหรับการขนสงนอยมาก ตัวอยางเชน อุปสงค
การขนสงสินคาทางเรือมีความยืดหยุนตอราคานอยมาก ทั้งนี้เปนเพราะวาหาบริการที่แทนที่การ
ขนสงทางเรืออยางใกลเคียงที่สุดนั้นไดยากลําบาก เมื่อเทียบกับบริการโดยสารทางรถไฟนั้นก็มี
ลักษณะคลายๆ กัน ถึงแมวาจะมีบริการทางรถโดยสาร แตบริการทางรถโดยสารนั้นยังมีความ
ปลอดภัยไมเทากับบริการรถไฟ
ระดับรายได
มีหลักฐานที่ปรากฏมากมายที่แสดงใหเห็นวาบริการทางการขนสงเปนสินคาปกติ (Normal
Good) ในลักษณะที่วา การขนสงเปนที่ตองการมากขึ้น ณ ระดับรายไดที่สูงขึ้น แตหลักทั่วไปอันนี้
ไมสามารถประยุกตใชไดกับทุกสถานการณหรือทุกประเภทของการขนสง แมวาผลการศึกษา
Tanner (1978) and Button,et al. (1982) จะแสดงใหเห็นวารายไดมีอิทธิพลในแงบวกตอการ
ตัดสินใจเปนเจาของรถยนต แตในขณะเดียวกันก็แสดงถึงความสัมพันธในทางตรงขามระหวาง
รายไดกับการใชบริการขนสงสาธารณะดวย เมื่อรายไดของประชาชนเพิ่มมากขึ้นพรอมๆ กับการ
เปนเจาของรถยนตก็เพิ่มมากขึ้นดวย การขนสงสาธารณะในหลายสถานการณไดกลายเปนสินคา
ดอยคุณภาพ (Inferior Good) นั่นคือรายไดยิ่งสูงขึ้นอุปสงคสําหรับการขนสงสาธารณะยิ่งลดลง
กลุมคนยากจนซึ่งไมสามารถหาเงินมาจายเปนคาขนสงไดมากเทาที่เขาตองการเปนผลทําใหผูมี
รายไดนอยจําตองเดินทางนอยเที่ยวกวา ระยะทางสั้นกวา ใชประเภทการขนสงที่ดอยคุณภาพกวา
เมื่อเปรียบเทียบกับผูใชบริการโดยสารรถไฟที่มีรายไดสูงอาจจะใชบริการชั้นที่มีคุณภาพมากกวาผู
มีรายไดนอย
ราคาของการขนสงประเภทอื่นๆ
อุปสงคสําหรับบริการขนสงประเภทใดประเภทหนึ่งอาจจะไดรับอิทธิพลจากผูเสนอขาย
บริการขนสงที่มีลักษณะเปนการแขงขันและหรือประกอบกันกับบริการขนสงที่กําลังพิจารณา โดย
การขึ้นราคาสินคาหรือบริการชนิดหนึ่งอาจจะสงผลกระทบตอราคาสินคาหรือบริการของสินคาอีก
ประเภทหนึ่งได ยกตัวอยางเชน การขึ้นราคาคาโดยสารรถไฟอาจจะสงผลกระทบตอความตองการ
ใชบริการรถไฟนอยลงโดยผูโดยสารอาจจะหันไปใชบริการรถยนตหรือรถทัวรแทน
8
3. ตนทุนของผูใชบริการขนสง ( Transport user costs)
ในการใชบริการขนสงในการเดินทาง การตัดสินใจของผูใชบริการจะไดรับอิทธิพลจาก
ปจจัยหลากหลายชนิด กลาวใหแนชัดลงไปไดวา ผูเดินทางจะสนใจเปนพิเศษกับเวลาที่ตองใชใน
การเดินทาง (แตละเที่ยว/ครั้ง) รองลงมาก็ไดแก คาใชจายเปนเงินที่เกี่ยวของกับการเดินทาง และ
บอยครั้งที่ผูโดยสารจะคํานึงถึงคุณภาพของบริการขนสงที่เสนอขายดวย สําหรับผูสงสินคาไมแต
เพียงจะเอาใจใสกับคาใชจายเปนเงินในการบรรทุก แตจะสนใจเกี่ยวกับความเร็ว ความเชื่อถือได
และตารางกําหนดเวลาของบริการขนสง เพราะฉะนั้นอุปสงคสําหรับการขนสงจึงไมไดขึ้นอยูกับ
(ตนทุน) คาใชจายที่คิดเปนเงิน แตกลับขึ้นอยูกับคาเสียโอกาสที่เกี่ยวของมากกวา ขอแตกตางของ
บริการขนสงจากบริการอื่นๆ มิไดอยูตรงจุดนี้ แตอยูตรงจุดที่วาคาใชจาย (ตนทุน) ทั้งหมดเมื่อ
พิจารณาถึงการตัดสินใจ คาใชจายที่คิดเปนเงินของการเดินทางอาจจะมีอิทธิพลนอยมากในการ
ตัดสินใจวาจะทําการเดินทางหรือไม
ตนทุนอยางกวางๆ (Generalised cost) ของการเดินทางจะแสดงอยูในรูปของมาตรวัด
อันหนึ่ง ซึ่งรวมเอาตนทุนสวนใหญที่สําคัญแตปราศจากความสัมพันธซึ่งกันและกันเขาไวในรูป
ของฟงกชั่นเสนตรง โดยตนทุนเหลานั้นจะรวมคาเสียโอกาสทั้งหมดของการเดินทางดังกลาว
ลักษณะตนทุนอยางกวางๆ จึงเปนไปในรูปที่วาไดรวมเอาตนทุนประเภทตางๆ ทั้งหมดเขาเปนดัชนี
เพียงหนึ่งเดียว และดัชนีนี้สามารถนําไปใชไดเชนเดียวกับที่เราใชดัชนีตนทุนหรือคาใชจายเปนเงิน
ในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรทั่วไป
อาจจะนิยามตนทุนอยางกวางไดดังนี้
G = g(C1,C2,C3,…,Cn)
โดยที่ G เปนตนทุนอยางกวางๆ
C1,C2,C3,…,Cn เปนตนทุนตางๆ ของการเดินทาง เชน C1 อาจจะเปนตนทุนดานเวลา C2
อาจจะเปนตนทุนที่คิดเปนเงิน ดังนั้น เราก็สามารถแสดงอุปสงคสําหรับการเดินทางใหเปนฟงกชั่น
ของตัวแปรเพียงตัวเดียว นั่นก็คือ Qd = f(G)
ในกรณีดัชนีดัชนีแบบงายๆ ตนทุนอยางกวางๆ (G) จะอยูในรูปของ linear combination
ของตนทุนดานเวลาและตนทุนคิดเปนตัวเงิน (หรือระยะทาง) ที่เกี่ยวของกับการเดินทาง แตในการ
วิเคราะหเชิงประยุกตสวนมากนิยมแบงสวนตนทุนดานเวลา และตนทุนที่เปนสวนยอยจํานวนหนึ่ง
(ตัวอยางเชน เวลาที่ใชเดินทางจากบานถึงปายรถเมล เวลาที่ยืนคอยรถเมล เวลาที่อยูบนรถเมล ฯลฯ
9
สวนตัวอยางการแบงสวนคาใชจายเปนตัวเงินไดแก คาโดยสารรถไฟ คาธรรมเนียมรถดวน
คาธรรมเนียมตูนอนปรับอากาศ เปนตน) ดังนั้นรูปแบบทั่วไปของตนทุนอยางกวางจึงกลายเปน
G = ∑Mi + ∑tjTj
โดยที่ Mi คือ ตนทุนที่เปนเงินของการเดินทางเทาที่เกิดขึ้นจริง เชน คาโดยสาร
หรือคาน้ํามันเชื้อเพลิง
Tj คือ ตนทุนดานเวลา เชน เวลาที่อยูบนยานพาหนะขนสง เวลาที่รอคอย
tj คือ คาเปนเงินของตนทุนดานเวลา
4. ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภคและความพึงพอใจ
4.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค
ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541:124) กลาวถึง พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง พฤติกรรม
มนุษยในลักษณะบทบาทของผูบริโภค ซึ่งเปนพฤติกรรม ที่ผูบริโภคตองทําการคนหา หารซื้อ การ
ใช การประเมินผลการใชสอยผลิตภัณฑและบริการซึ่งจะคาดวาจะสนองความตองการของเขาโดย
มีกระบวนการตัดสินใจและการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของกับการซื้อและการใชสินคา
Kotler (2000:160) กลาววา ลักษณะของผูบริโภคไดรับอิทธิพลจากปจจัยดังตอไปนี้
1. ปจจัยดานวัฒนธรรม (Culter Factors) เปนปจจัยพื้นฐานในการกําหนดความตองการ
และพฤติกรรมของผูบริโภค ไดแก คานิยม ความชอบ เชื้อชาติ ศาสนา สภาพภูมิศาสตรและชนชั้น
ทางสังคม
2. ปจจัยดานสังคม ( Social Factors) ไดแก กลุมอางอิง ครอบครัว ตลอดจนบทบาทและ
สถานภาพทางสังคม
3. ปจจัยสวนบุคคล (Personal Factors) ไดแก ชวงอายุ อาชีพ รายได คาใชจาย รูปแบบการ
ดําเนินชีวิต บุคลิกภาพและแนวความคิด
4. ปจจัยดานจิตวิทยา (Psychological Factor) ไดแก แรงจูงใจ การรับรู การเรียนรู ความเชื่อ
และทัศนคติ
10
4.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ชนะ กลาชิงชัย (2549) ไดสรุปความหมายของความพึงพอใจวา ความพึงพอใจเปนเรื่อง
เกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกและทัศนะของบุคคล อันเนื่องมาจากสิ่งเราและสิ่งจูงใจ ซึ่งจะปรากฏ
ออกมาทางพฤติกรรมและเปนองคประกอบที่สําคัญในการทํากิจกรรมตางๆ ของบุคคล
ศรัทธา วุฒิพงศ (2550) ไดกลาวถึงปจจัยสําคัญของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจเปน
ปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ชวยทําใหงานประสบผลสําเร็จ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนงานที่เกี่ยวกับ
การใหบริการ นอกจากผูบริหารจะดําเนินการใหผูทํางานเกิด ความพึงพอใจในการทํางานแลว ยัง
จําเปนจะตองดําเนินการที่จะทําใหผูทํางานเกิดความพึงพอใจดวยเพราะความเจริญกาวหนาของ
การบริการ ปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งที่เปนตัวบงชี้ก็คือจํานวนผูที่มาใชบริการ ดังนั้น ผูบริหารที่
ชาญฉลาดจึงควรอยางยิ่งที่จะศึกษาใหลึกซึ่งถึงปจจัยและองคประกอบตางๆ ที่จะทําใหเกิดความ
พึงพอใจ ทั้งผูปฏิบัติงานและผูมาใชบริการ เพื่อที่จะไดใชเปนแนวทางในการบริหารองคกรใหมี
ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด
กูด (2550) กลาววา ความพึงพอใจตอการใหบริการ หมายถึง คุณภาพ สภาพหรือระดับ
ความพึงพอใจ ซึ่งเปนผลมาจากความสนใจตางๆ ทัศนคติของบุคคลที่มีตอการใหบริการ
วรูม (2551) กลาววา ทัศนคติและความพึงพอใจในสิ่งหนึ่งสามารถใชแทนกันได เพราะทั้ง
สองคํานี้ หมายถึง ผลที่ไดจากที่บุคคลเขาไปมีสวนรวมในสิ่งนั้นทัศนคติดานบวกจะแสดงใหเห็น
สภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้น และทัศนคติดานลบแสดงใหเห็นสภาพความพึงพอใจนั่นเอง
วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2551) ใหความหมายวา ความพึงพอใจเปนการใหคาความรูสึกของ
คนเราที่สัมพันธกับโลกทัศนที่เกี่ยวกับความหมายของสภาพแวดลอม คาความรูสึกของบุคคลที่มี
ตอสภาพแวดลอมจะแตกตางกัน เชน ความรูสึก ดี-เลว พอใจ-ไมพอใจ สนใจ-ไมสนใจ เปนตน
กมล ชูทรัพย และเสถียร เหลืองอราม (อางถึงในนิธนา เมืองนนท, 2534:12) ไดกลาวถึง
ปจจัยที่ทําใหคนพึงพอใจในการบริการประกอบดวย
1. ผูใชบริการไดรับผลตอบแทนจากการใหบริการคุมกับการมาใชบริการ
2. ลักษณะของการใหบริการบางคนเห็นวาการบริการที่มีคุณภาพยอมสําคัญกวาการ
บริการจากเทคโนโลยีที่ทันสมัย
3. ผูใชบริการไดรับการยกยองนับถือหรือความเคารพจากผูใหบริการ
11
4. ประชาธิปไตยจากการใชบริการ คือ ผูใชบริการมีโอกาสแสดงความคิดเห็นหรือมีสวน
รวมในการกําหนดรูปแบบการบริการ
John D. Millet (อางถึงใน ชนะ กลาชิงชัย,2541:8) ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ในการบริการ (Satisfactory Services) หรือความสนใจในการสรางความพึงพอใจใหกับผูรับบริการ
โดยการพิจารณาจากองคประกอบ 5 ดาน ดังนี้คือ
1. การใหบริการอยางเสมอภาค (Equitable Services) หมายถึง ความยุติธรรมในการ
บริหารงานของรัฐที่มีฐานคติที่วาคนทุกคนเทาเทียมกัน ดังนั้น ประชาชนทุกคนจะไดรับการปฏิบัติ
อยางเทาเทียมกันในแงมุมของกฎหมาย ไมมีการแบงแยกกีดกันในการใหบริการ ประชาชนจะ
ไดรับการปฏิบัติในฐานะที่เปนปจเจกบุคคลที่ใชมาตรฐานการใหบริการเดียวกัน
2. การใหบริการอยางทันเวลา (Timely Services) หมายถึง ในการบริการจะตองมองวาการ
ใหบริการสาธารณะจะตองตรงเวลา ผลการปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐ จะถือวาไมมีประสิทธิภาพ
เลยถาไมมีการตรงตอเวลา ซึ่งจะสรางความไมพอใจใหแกประชาชน
3. การใหบริการอยางเพียงพอ (Amble Services) การใหบริการสาธารณะตองมีลักษณะ มี
จํานวนการใหบริการและสถานที่ใหบริการอยางเหมาะสม Millet เห็นวา ความเสมอภาค หรือการ
ตรงตอเวลาจะไมมีความหมายเลยถามีจํานวนการใหบริการที่ไมเพียงพอ และสถานที่ใหบริการ
สรางความไมยุติธรรมใหเกิดขึ้นแกผูรับบริการ
4. การใหบริการอยางตอเนื่อง (Continuous Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะที่
เปนไปอยางสม่ําเสมอ โดยยึดประโยชนของสาธารณะเปนหลักไมใชยึดความพอใจของหนวยงาน
ที่บริการวาจะใหหรือหยุดบริการเมื่อใดก็ได
5. การใหบริการอยางกาวหนา (Progressive Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะที่มี
การปรับปรุงคุณภาพและผลการปฏิบัติงาน กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพหรือ
ความสามารถที่จะทําหนาที่ไดมากขึ้น โดยใชทรัพยากรเทาเดิม
จึงสรุปไดวาความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดีของบุคคลซึ่งมักเกิดจาก
การตอบสนองตามที่ตนตองการ ก็จะเกิดความรูสึกที่ดีในสิ่งนั้น ตรงกันขามหากความตองการ
ไมไดรับการตอบสนอง ความไมพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการจะเกิดขึ้น
หรือไมนั้น จะตองพิจารณาถึงลักษณะของการใหบริการขององคกรประกอบกับระดับความรูสึก
ของผูมารับบริการในมิติตางๆ ของแตละบุคคล
12
5. ทฤษฎีเกี่ยวกับธุรกิจบริการ
บริการเปนกิจกรรม ผลประโยชนหรือความพึงพอใจที่สนองความตองการแกลูกคา บริการ
มีลักษณะที่สําคัญ 4 ลักษณะ คือ
1. ไมสามารถจับตองได บริการไมสามารถมองเห็น หรือเกิดความรูสึกไดกอนที่จะมีการ
ซื้อ
2. ไมสามารถแบงแยกการใหบริการ การใหบริการเปนการผลิตและการบริโภคใน
ขณะเดียวกัน
3. ไมแนนอน ลักษณะของบริการมาแนนอนขึ้นอยูกับวาผูขายบริการเปนใคร จะใหบริการ
ที่ไหน เมื่อไร และอยางไร
4. ไมสามารถเก็บไวได บริการไมสามารถผลิตเก็บไวไดเหมือนสินคาอื่น ถาความตองการ
มีสม่ําเสมอ การใหบริการก็จะไมมีปญหา แตถาลักษณะความตองการไมแนนอนจะทําใหเกิดปญหา
คือ บริการไมทันหรือไมมีลูกคา
เครื่องมือทางการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ (Marketting Tools for Services) ประกอบดวย
1. ผลิตภัณฑ (Product) หมายถึง สิ่งที่เสนอขายโดยธุรกิจเพื่อตอบสนองความตองการของ
ลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ ผลิตภัณฑตองมีอรรถประโยชน มีคุณคาในสายตาของลูกคา จึงจะมีผล
ทําใหผลิตภัณฑสามารถขายได
2. ราคา (Price) หมายถึง คุณคาผลิตภัณฑในรูปตัวเงิน ราคาเปนตนทุน (Cost) ของลูกคา
ธุรกิจจะตองวางแผนและกําหนดราคาใหถูกตองและเหมาะสมตามสภาวะตลาด รวมทั้งการ
คํานึงถึงปริมาณการซื้อขายในแตละครั้ง เพื่อดึงดูดและจูงใจผูบริโภค กิจกรรมในการตั้งราคา เชน
การใหสวนลด เงื่อนไขระยะเวลาการชําระเงิน ระยะเวลาในการใหสินเชื่อ
3. การจัดจําหนาย (Place) หมายถึง โครงสรางของชองทางซึ่งประกอบดวยสถาบันและ
กิจกรรม ใชเพื่อเคลื่อนยายผลิตภัณฑและบริการจากองคกรไปยังตลาดไดทันเวลา ผลิตภัณฑนั้นจึง
จะมีคาสูง กิจกรรมที่ชวยในการกระจายตัวสินคา เชน การขนสง คลังสินคา ปริมาณสินคาคงเหลือ
การเก็บรักษา การเลือกคนกลาง
4. การสงเสริมการตลาด (Promotion) เปนการติดตอสื่อสารไปยังกลุมลูกคาเปาหมายทําให
ผลิตภัณฑเปนสิ่งที่ตองการของลูกคาเปาหมาย สรางความเชื่อถือในผลิตภัณฑ กิจกรรมที่เปนการ
13
สงเสริมการตลาด เชน การโฆษณา การประชาสัมพันธ การขายโดยพนักงานขาย การสงเสริมการ
ขาย
5. บุคคล (People) หรือพนักงาน (Employees) ซึ่งตองอาศัยการคัดเลือก (Selection) การ
ฝกอบรม (Training) การจูงใจ (Motivation) เพื่อใหสามารถสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาได
แตกตางเหนือคูแขงขัน พนักงานตองมีความสามารถ มีทัศนคติที่ดี สามารถตอบสนองตอลูกคา มี
ความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแกปญหา และสามารถสรางคานิยมใหกับบริษัท
6. การสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation)
โดยพยายามสรางคุณภาพโดยรวม [Total Quality Management (TQM)] เพื่อสรางคุณคาใหกับ
ลูกคา (Customer value Proposition)
7. กระบวนการ (Process) ตองมีกระบวนการเพื่อสงมอบคุณภาพในการใหบริการกับลูกคา
ไดรวดเร็วและประทับใจลูกคา (Customer Satisfaction)
กลยุทธการตลาดในธุรกิจบริการ 3 แบบ ประกอบดวย
1. การตลาดภายใน (Internal Marketing) การตลาดภายในของบริษัทจะรวมถึงการ
ฝกอบรม และการจูงใจพนักงานขายบริการในการสรางความสัมพันธกับลูกคา รวมถึงพนักงานที่
ใหการสนับสนุนการใหบริการโดยใหเกิดการทํางานรวมกันเปนทีม เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับ
ลูกคา
2. การตลาดภายนอก (External Marketing) เปนการใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อให
บริการลูกคาในการจัดเตรียมการใหบริการ การกําหนดราคา การจัดจําหนาย และการใหบริการแก
ลูกคา
3. การตลาดที่สัมพันธกันระหวางผูซื้อและผูขาย (Interactive Marketing) หมายถึง การ
สรางคุณภาพบริการใหเปนที่นาเชื่อถือ เกิดขึ้นในขณะที่ผูขายใหบริการกับลูกคา ลูกคาจะยอมรับ
หรือไมขึ้นอยูกับความพึงพอใจของลูกคา ลูกคาจะพิจารณาคุณภาพของการใหบริการโดยพิจารณา
จากดานตางๆ ไดแก คุณภาพดานเทคนิค คุณภาพดานหนาที่ คูณภาพบริการที่ลูกคาสามารถ
ประเมินไดกอนซื้อ คุณภาพดานประสบการณ คือ ลักษณะบริการที่ลูกคาสามารถประเมินได
หลังจากการซื้อบริการ และคุณภาพความเชื่อถือไดวาเปนจริง คือลักษณะบริการที่ผูซื้อยากที่จะ
ประเมินแมจะไดใชบริการแลวก็ตาม เปนความรูสึกที่ลูกคาจะประเมินคุณภาพความเชื่อถือที่ไดรับ
14
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ
สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2541)ได
ทําการสํารวจความพึงพอใจในการใชบริการของการรถไฟแหงประเทศไทย ในรอบป พ.ศ. 2539
และป พ.ศ. 2540 ซึ่งสรุปไดดังนี้ การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการรถไฟจําแนกเปน 2 กลุม
คือ กลุมผูโดยสาร และกลุมผูใชบริการขนสงสินคา โดยผลการสํารวจความพึงพอใจในการใช
บริการของการรถไฟแหงประเทศไทยในกลุมผูโดยสาร พบวาผูโดยสารรวมทุกสายและทุกประเภท
ของขบวนรถมีแนวโนมไปในทางที่ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการบริการที่ไดรับอยูในระดับดี
เชน ในดานการปฏิบัติงานของพนักงานรถไฟทั้งพนักงานประจําสถานีและพนักงานบนรถไฟ ใน
สวนที่ผูโดยสารรวมทุกสายและทุกประเภทของขบวนรถมีแนวโนมในทางที่เห็นวาควรจะตอง
ปรับปรุง ไดแก ความสะอาดของหองสุขาในบริเวณสถานีรถไฟ ความพอเพียงที่นั่งและพัดลมใน
สถานี ความสะอาดภายในตัวรถไฟโดยสาร เปนตน สวนสาเหตุสําคัญที่ผูใชบริการการรถไฟแหง
ประเทศไทยตัดสินใจเลือกใชบริการรถไฟโดยสารเนื่องมาจากการมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุใน
การเดินทางสูง ราคาถูกเมื่อเทียบกับการเดินทางโดยวิธีอื่น การนอนขณะเดินทางไดสบายกวาการ
เดินทางโดยวิธีอื่น เปนตน ดานการสํารวจความคิดเห็นตอแนวโนมในการใชบริการของการรถไฟ
แหงประเทศไทยตอไปในอนาคตในกลุมผูโดยสารรถไฟนั่งชั้นสาม พบวาจะยังคงใชตอไปแมวา
การรถไฟจะปรับปรุงราคาสูงขึ้นเทากับอัตราคาโดยสารของรถ บขส. เนื่องจากการเดินทางโดย
รถไฟสะดวกกวาการเดินทางโดยวิธีอื่น
15
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาถึง ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการ
ของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม โดยไดดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังตอไปนี้
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา
3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล
3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล
3.4 วิธีวิเคราะหขอมูล
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา
ประชากร ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้กลุมประชากรคือ ผูโดยสารที่ใชบริการของขบวนรถดวน
พิเศษนครพิงคขบวนที่ 1 (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม จากขอมูลการโดยสาร จํานวนผูโดยสาร
ที่มาใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม มีจํานวนทั้งสิ้น 4,028 คน
(เอกสารเผยแพรเอกสาร รถไฟฯ)
กลุมตัวอยาง เพื่อใหไดขนาดของตัวอยางที่เหมาะสมจึงหาขนาดตัวอยางจากการคํานวณ
ดวยวิธีการของ Yamane โดยใหมีความคลาดเคลื่อน 0.05 เนื่องจากทราบขนาดของประชากรที่
แนนอน จึงสามารถคํานวณหาขนาดตัวอยางไดดังสูตรตอไปนี้ (Yamane,1973:727 อางถึงในวัชรี
พฤกษิกานนท,2549:13)
สูตร n = N / (1+Ne2
)
โดย n = ขนาดของตัวอยางที่ตองการประมาณ
N = ขนาดของประชากรที่มีพาหนะสวนตัว
e = ขอบเขตความคลาดเคลื่อนที่ผูวิจัยกําหนดไวที่ 5%
(กําหนดให e = 0.05)
16
แทนคาสูตร n = 4,028 / [1+(4,028*0.052
)]
= 363.8663 ตัวอยาง
เมื่อคํานวณจํานวนตัวอยาง จะไดจํานวนตัวอยางที่ตองการ 363.8663 ตัวอยาง แตเนื่องจาก
มีขอจํากัดเรื่องของเวลาในการวิจัย ผูวิจัยจึงลดขนาดตัวอยางลงเหลือ 200 ตัวอยาง
การสุมตัวอยาง เนื่องจาก ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม มี
จุดหมายปลายทางที่จังหวัดเชียงใหม เพื่อใหไดกลุมตัวอยางที่ไดใชบริการตลอดเสนทางการ
เดินทางบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค จึงมีการเก็บรวมรวมขอมูลที่บริเวณสถานีเชียงใหม ผูวิจัย
ไดใชวิธีการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ และไมเจาะจงวาเปนผูโดยสารชั้นที่ 1 หรือชั้นที่ 2 เนื่องจาก
รถดวนพิเศษนครพิงคแตละขบวนมีสัดสวนของรถนอนชั้นที่ 1 เพียงรอยละ 10 ของจํานวนที่นั่ง
ทั้งหมด ซึ่งเปนสัดสวนที่นอยมากทําใหมีขอจํากัดในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนั้นผูศึกษาจึง
รวบรวมขอมูลจากผูโดยสารโดยไมเจาะจงวาเปนผูโดยสารชั้นที่ 1 หรือชั้นที่ 2
3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล
1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลที่ผูทําการศึกษาทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดย
การออกแบบสอบถามในการสัมภาษณเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการ ความคิดเห็นและ
ขอเสนอแนะ ความพึงพอใจของกลุมตัวอยางผูใชบริการที่มาใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนคร
พิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมทั้งหมด 200 ตัวอยาง
2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาจาก งานวิจัยและ
บทความตางๆ ขอมูลจากเว็บไซดตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษาขอมูลตามวัตถุประสงคของการศึกษา
ภาพรวมของการใหบริการรถไฟแหงประเทศไทย
3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งจะสรางขึ้นตามแนว
วัตถุประสงคของการศึกษา สําหรับแบบสอบถามที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห
17
จากกลุมตัวอยางนั้นจะใชแบบสอบถามจํานวน 200 ชุด ซึ่งในแบบสอบถามนี้ไดแบงออกเปน 4
สวนดังนี้
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ
รายได โดยเปนคําถามปลายปดทั้งหมด มีจํานวนคําถามทั้งสิ้น 5 ขอ
สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร ไดแก วัตถุประสงคในการ
เดินทาง ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทาง ประเภทของบริการที่ใชบน
ขบวนรถ โดยเปนคําถามปลายปดทั้งสิ้น 4 ขอ
สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดาน
ตางๆ ผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของผูโดยสาร โดยเปนคําถามปลายปด
ทั้งหมด มีจํานวนคําถามทั้งสิ้น 35 ขอ
สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม โดยรวบรวมขอมูลจากการ
ตอบแบบสอบถามปลายเปด
3.4 วิธีวิเคราะหขอมูล
ขอมูลที่ไดจากการสอบถามจากกลุมตัวอยางจํานวน 200 ตัวอยาง จะนํามาวิเคราะหโดยใช
โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows และวิเคราะหดวยคาสถิติตางๆ ดังนี้
สวนที่ 1 เปนขอมูลเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหดวยขอมูล
เกี่ยวกับความถี่ คารอยละ
สวนที่ 2 เปนขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร วิเคราะหดวยขอมูล
เกี่ยวกับความถี่ คารอยละ และการทดสอบความสัมพันธดวยไคสแควร
สวนที่ 3 เปนขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ
วิเคราะหดวยขอมูลเกี่ยวกับคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สวนที่ 4 เปนขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ วิเคราะหดวยขอมูลเกี่ยวกับ
คารอยละ
สําหรับคําถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ
มีเกณฑการใหคะแนนในแตละระดับดังนี้
18
ระดับความพึงพอใจ คะแนน
มากที่สุด 5
มาก 4
ปานกลาง 3
นอย 2
นอยที่สุด 1
กําหนดเกณฑในการพิจารณาโดยการหาพิสัยของอันตรภาคชั้น จากสูตร
พิสัย = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด
จํานวนชั้น
= 5-1
5
= 0.8
ดังนั้น ระดับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ มีลําดับคะแนน
ดังนี้
คะแนนคาเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ
1.00-1.80 พึงพอใจนอยที่สุด
1.81-2.60 พึงพอใจนอย
2.61-3.40 พึงพอใจปานกลาง
3.41-4.20 พึงพอใจมาก
4.21-5.00 พึงพอใจมากที่สุด
19
3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา
ตัวแปรอิสระ
ผูโดยสารรถไฟ โดยมีปจจัยสวนบุคคล
1. เพศ
2. อายุ
3. ระดับการศึกษา
4. อาชีพ
5. รายได
ตัวแปรตาม คือ ลักษณะการใชบริการ ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของ
โดยมีปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้ ผูโดยสารที่มีตอการใหบริการ โดยมี
1. วัตถุประสงคในการเดินทาง ปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้
2. ลักษณะของการเดินทาง 1. ดานผลิตภัณฑ
3. ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทาง 2. ดานพนักงานบนขบวนรถไฟ
4. ประเภทของบริการที่ใชบนขบวนรถ 3. ดานกระบวนการใหบริการ
4. ดานราคา
5. ดานสงเสริมการตลาด
6. ดานการจัดจําหนาย
7. ดานสถานที่เครื่องมือและอุปกรณ
ผลการวิจัย
1. ทราบถึงความคิดเห็น ความตองการของผูโดยสาร และขอเสนอแนะตางๆ ที่มีตอการใหบริการบนขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมของการรถไฟแหงประเทศไทย
2. ทราบถึงปญหาการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม
3. เปนขอมูลเบื้องตนในการนําไปเปนแนวทางเพื่อแกไขปญหาและปรับปรุงการใหบริการโดยสารของขบวน
รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมและสายอื่นๆ ตอไป
20
บทที่ 4
ผลการวิเคราะหขอมูล
การวิจัยเรื่อง “ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษ
นครพิงค กรุงเทพ-เชียงใหม” ผูวิจัยไดทําการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 200 ชุด ใชแบบสอบถาม
เปนเครื่องมือในการวิจัย ซึ่งครอบคลุมเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ลักษณะการใช
บริการของผูโดยสาร ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ และ
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูโดยสาร ผลการวิเคราะหขอมูลไดนําเสนอเปน 4 สวน
ดังนี้
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม นําเสนอไวในตารางที่ 4.1-4.5
สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร นําเสนอไวในตารางที่ 4.6-4.9
สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดาน
ตางๆ นําเสนอไวในตารางที่ 4.10-4.11
สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูโดยสาร นําเสนอไวใน
ลักษณะการบรรยาย
21
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 4.1 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ
N=200
เพศ จํานวน รอยละ
เพศชาย 94 47.00
เพศหญิง 106 53.00
รวม 200 100.00
จากตารางที่ 4.1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 200 คน จําแนกเปนเพศชาย 94
คน คิดเปนรอยละ 47.00 เพศหญิง จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 53.00
ตารางที่ 4.2 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ
N=200
อายุ จํานวน รอยละ
ต่ํากวา 25 ป 47 23.50
25-35 ป 58 29.00
36-45 ป 39 19.50
46-55 ป 39 19.50
55 ปขึ้นไป 17 8.50
รวม 200 100.00
จากตารางที่ 4.2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอายุ 25-35 ป จํานวน 58 คน คิดเปน
รอยละ 29.00 และนอยที่สุดคืออายุ 55 ปขึ้นไป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 8.50
ตารางที่ 4.3 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับการศึกษา
N=200
ระดับการศึกษา จํานวน รอยละ
ต่ํากวาปริญญาตรี 53 26.50
ปริญญาตรี 109 54.50
สูงกวาปริญญาตรี 38 19.00
รวม 200 100.00
22
จากตารางที่ 4.3 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวุฒิการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี
จํานวน 109 คน คิดเปนรอยละ 54.50 และนอยที่สุดมีวุฒิการศึกษาอยูในระดับสูงกวาปริญญาตรี
จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 19.00
ตารางที่ 4.4 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอาชีพ
N=200
อาชีพ จํานวน รอยละ
นักเรียน/นักศึกษา 47 23.50
พนักงานบริษัท 47 23.50
ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 51 25.50
ธุรกิจสวนตัว 50 25.00
แมบาน 5 2.50
รวม 200 100.00
จากตารางที่ 4.4 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอาชีพขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหา
กิจและธุรกิจสวนตัว จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 25.50 และนอยที่สุดมีอาชีพแมบาน จํานวน 5
คน คิดเปนรอยละ 2.50
ตารางที่ 4.5 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามรายไดตอเดือน
N=200
รายไดตอเดือน จํานวน รอยละ
นอยกวา 5,000 บาท 34 17.00
5,000-15,000 บาท 58 29.00
15,001-25,000 บาท 41 20.50
25,001-35,000 บาท 26 13.00
35,001-45,000 บาท 20 10.00
45,001-55,000 บาท 5 2.50
มากกวา 55,000 บาท 16 8.00
รวม 200 100.00
23
จากตารางที่ 4.5 พบวาผูตอบแบสอบถามสวนใหญมีรายไดตอเดือน 5,000-15,000 บาท
จํานวน 58 คน คิดเปนรอยละ 29.00 และนอยที่สุดมีรายไดตอเดือน 45,001-55,000 บาท จํานวน 5
คน คิดเปนรอยละ 2.50
สวนที่ 2 ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร
ตารางที่ 4.6 : ตารางแจกแจงตามวัตถุประสงคของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม
N=200
เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ
อายุ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ
ไปสถานศึกษา 7 7.40 5 4.70 12 6.00
ไปทํางาน 29 30.90 26 24.50 55 27.50
ไปธุระสวนตัว 38 40.40 45 42.50 83 41.50
ไปทองเที่ยว 13 13.90 19 17.90 32 16.00
กลับบาน 7 7.40 11 10.40 18 9.00
รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00
Chi-Square Sig. (X2
) = 1.864 df=3 p=0.621 (0.621>0.025)
จากตารางที่ 4.6 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวัตถุประสงคในการเดินทางไปธุระ
สวนตัว จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 41.50 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 40.40 และ
42.50 ตามลําดับ และนอยที่สุดมีวัตถุประสงคในการเดินทางไปสถานศึกษา จํานวน 12 คน คิดเปน
รอยละ 6.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 7.40 และ 4.70 ตามลําดับ
เมื่อทดสอบความสัมพันธดวย สถิติไค-สแควร พบวา วัตถุประสงคของการเดินทางไม
ขึ้นอยูกับเพศที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
24
ตารางที่ 4.7 : ตารางแจกแจงตามลักษณะของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม
N=200
เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ
ลักษณะการเดินทาง จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ
เฉพาะขาไป 19 20.20 19 17.90 38 19.00
เฉพาะขากลับ 6 6.40 2 1.90 8 4.00
ทั้งขาไปและขากลับ 69 73.40 85 80.20 154 77.00
รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00
Chi-Square Sig. (X2
) =2.953 df=2 p=0.228 (0.228>0.025)
จากตารางที่ 4.7 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีลักษณะของการเดินทางทั้งขาไป
และขากลับ จํานวน 154 คน คิดเปนรอยละ 77.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 73.40
และ 80.20 ตามลําดับและนอยที่สุดมีลักษณะของการเดินทางเฉพาะขากลับ จํานวน 8 คน คิดเปน
รอยละ 4.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 6.40 และ 1.90 ตามลําดับ
เมื่อทดสอบความสัมพันธดวย สถิติไค-สแควร พบวาลักษณะของการเดินทางไมมี
ความสัมพันธกับเพศของผูใชบริการ
ตารางที่ 4.8 : ตารางแจกแจงตามลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม
N=200
เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ
ลักษณะการซื้อตั๋ว จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ
จองลวงหนาประมาณ 2 เดือน 0 0.00 6 5.70 6 3.00
จองลวงหนาประมาณ 1 เดือน 18 19.10 20 18.90 38 19.00
จองลวงหนาประมาณ1/2เดือน 55 58.50 66 62.30 121 60.50
ซื้อในวันที่เดินทาง 21 22.40 14 13.10 35 17.50
รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00
Chi-Square Sig. (X2
) =8.320 df=3 p=0.04 (0.04>0.025)
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ

Contenu connexe

Tendances

ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 

Tendances (20)

ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 

En vedette

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
 
Thailand Railway Service Design Project 2014
Thailand Railway Service Design Project 2014Thailand Railway Service Design Project 2014
Thailand Railway Service Design Project 2014Suprawee815
 
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTArknova2123
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรีแบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรีสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154สำเร็จ นางสีคุณ
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...นางสาวสุธาสิน? ศีรทำมา
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558Chuchai Sornchumni
 

En vedette (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 
Thailand Railway Service Design Project 2014
Thailand Railway Service Design Project 2014Thailand Railway Service Design Project 2014
Thailand Railway Service Design Project 2014
 
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
 
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรีแบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี
แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
 
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154
แบบสอบถาม นักท่องเที่ยวต่างชาติ ต่อ หน้า154
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 

แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรถไฟ

  • 1. ความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม จัดทําโดย นางสาว มาริสา เจริญไพศาลสัตย รหัสประจําตัวนักศึกษา 501610142 อาจารยที่ปรึกษา อ.ดร. ผทัยรัตน ภาสนพิพัฒนกุล รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษากระบวนวิชา 751409 (แบบฝกหัดการวิจัยปญหาเศรษฐกิจปจจุบัน) ประจําภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 2.
  • 3. ก กิตติกรรมประกาศ การคนควาแบบอิสระนี้ เปนสวนหนึ่งของวิชา Research Exercise Economics (751409) เนื้อหาของการคนควาเกี่ยวกับการศึกษาถึงความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการ ของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม รายงานวิจัยอิสระนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก อ.ดร.ผทัยรัตน ภาสนพิพัฒนกุล อาจารยที่ปรึกษารายงานวิจัยอิสระ ที่ไดกรุณาใหคําแนะนํา ชี้แนะแนวทาง ตรวจสอบขอบกพรอง ตาง ๆ และกลั่นกรองเนื้อหาสาระของรายงานวิจัยอิสระนี้ ดวยความเอาใจใสเปนอยางยิ่งมาตั้งแต เริ่มตนจนรายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณ ผูทําการวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ณ โอกาสนี้ หากการคนควาแบบอิสระนี้มีความผิดพลาดประการใด ผูทําการวิจัยขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย มาริสา เจริญไพศาลสัตย กุมภาพันธ 2554
  • 4. ข สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 3 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 1.4 ขอบเขตการศึกษา 4 1.5 นิยามศัพท 4 บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 5 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 5 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 14 บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย 15 3.1 กลุมตัวอยางในการศึกษา 15 3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล 16 3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 16 3.4 การวิเคราะหขอมูล 17 3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 19 บทที่ 4 ผลการศึกษา 20 4.1 ขอมูลทั่วไป 21 4.2 ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร 23 4.3 ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ 26 4.4 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม 29 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 31 5.1 สรุปผลการศึกษา 31 5.2 ขอเสนอแนะ 35 5.3 ปญหาในการวิจัย 36 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 5. ค สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1.1: แสดงสถานภาพทางการเงินของการรถไฟแหงประเทศไทย ถารัฐเขามารับภาระทางราง 2 ตารางที่ 1.2 : แสดงปริมาณผูโดยสารในการใชบริการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547-2552 2 ตารางที่ 4.1 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ 21 ตารางที่ 4.2 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ 21 ตารางที่ 4.3 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับการศึกษา 21 ตารางที่ 4.4 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอาชีพ 22 ตารางที่ 4.5 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามรายไดตอเดือน 22 ตารางที่ 4.6 : ตารางแจกแจงตามอายุของผูตอบแบบสอบถาม 23 ตารางที่ 4.7 : ตารางแจกแจงตามลักษณะของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม 24 ตารางที่ 4.8 : ตารางแจกแจงตามลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม 24 ตารางที่ 4.9 : ตารางแจกแจงตามประเภทของบริการที่ใชของผูตอบแบบสอบถาม 25 ตารางที่ 4.10: ตารางความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มีตอความพึงพอใจ ตอการใหบริการ 27 ตารางที่ 4.11: ตารางความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มีตอความพึงพอใจ ในดานตางๆ 27
  • 6.
  • 7. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การรถไฟแหงประเทศไทยเปนรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปการ จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติการรถไฟแหงประเทศไทย พ.ศ. 2494 โดยมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งเพื่อดําเนิน ธุรกิจดานการขนสงทางรถไฟเพื่อประโยชนแกประชาชน รัฐ และองคกร จากแผนวิสาหกิจ พ.ศ. 2550-2554 ของการรถไฟแหงประเทศไทย ไดมีการกําหนดวัตถุประสงคที่เกี่ยวกับการใหบริการ ของการรถไฟแหงประเทศไทย ไดแก เพื่อพัฒนาใหการรถไฟแหงประเทศไทยเปนหนวยงานที่มี ภาพลักษณในทางที่ดีขึ้นในสายตาของสาธารณชน ซึ่งจะสรางศรัทธาใหประชาชนหันกลับมา เลือกใชบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยทั้งดานการขนสงผูโดยสารและการขนสงสินคา เพื่อ พัฒนาระบบการบริหารงาน โครงสรางองคกร และกระบวนการบริหารงานภายในของการรถไฟ แหงประเทศไทยใหมีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเนนที่ประสิทธิผลในการดําเนินงานของ การรถไฟแหงประเทศไทย และเพื่อพัฒนาระบบการบริหารบุคลากรและพัฒนาบุคลากรระดับตางๆ ของการรถไฟแหงประเทศไทย ซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญในการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ มี ความสามารถ ทัศนคติและมีคุณภาพเหมาะสมในการดําเนินงานของการรถไฟแหงประเทศไทย รวมทั้งสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการและรองรับเทคโนโลยีสมัยใหมไดดีขึ้น การจัดเดินขบวนรถไฟโดยสารทั่วประเทศ ประกอบดวย รถดวน รถดวนพิเศษ รถเร็ว รถ ธรรมดา รถทองถิ่น รถพิเศษชานเมือง และรถชานเมือง ในบรรดาขบวนรถทุกประเภทนี้ รถดวน พิเศษ “นครพิงค” เปนขบวนที่ดีที่สุดและสามารถสรางรายไดไดมากที่สุดขบวนหนึ่ง เนื่องจาก เปนขบวนที่ใหบริการรถปรับอากาศนั่งและนอนชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 โดยจัดใหบริการวันละ 2 ขบวน ในปงบประมาณ 2550 การรถไฟแหงประเทศไทยมีจํานวนขบวนรถโดยสารทั้งสิ้น 1,265 ขบวน โดยจัดเดินขบวนรถแยกตามเสนทางตางๆ ไดแก สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายเหนือ สายใต และสายตะวันออก การเดินรถขนสงของการรถไฟแหงประเทศไทยในรอบปงบประมาณ 2550 มี รายไดจากการดําเนินงานรวมทั้งสิ้น 9,039.61 ลานบาท แตมีรายจายรวมทั้งสิ้น 10,570.593 ลาน บาท
  • 8. 2 ทําใหการรถไฟแหงประเทศไทยประสบปญหาภาวะขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงาน 7,925.778 ลานบาท (จากตารางที่1.1) สาเหตุอันเนื่องมาจากการลดลงของจํานวนผูโดยสารที่มาใชบริการ นั่นเอง ตารางที่ 1.1: แสดงสถานภาพทางการเงินของการรถไฟแหงประเทศไทย ถารัฐเขามารับภาระทาง ราง (หนวย: ลานบาท) ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 รายไดรวม 9,039.610 9,292.136 9,289.228 9,503.068 10,014.325 11,569.637 รายจายรวม 10,570.593 11,863.030 13,454.073 13,413.507 13,755.518 14,012.825 กําไร(ขาดทุน)สุทธิ จากการดําเนินงาน ปจจุบัน (7,925.778) (10,216.364) (11,743.138) (11,990.588) (12,207.418) (11,717.366) ที่มา : การรถไฟแหงประเทศไทย อยางไรก็ตามจากสถิติการโดยสารจะเห็นวาในแตละปการรถไฟแหงประเทศไทยได ใหบริการแกผูโดยสารจํานวนมาก แตจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการนั้นมีจํานวนลดลงทุกปดังตาราง ตารางที่ 1.2 : แสดงปริมาณผูโดยสารในการใชบริการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2547-2552 ปงบประมาณ 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ปริมาณผูโดยสาร (ลานคน) 50.873 49.671 48.867 45.050 47.059 46.526 ที่มา : การรถไฟแหงประเทศไทย จากการลดลงของจํานวนผูโดยสารที่มารับบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยมี ผลกระทบโดยตรงตอรายไดของการรถไฟแหงประเทศไทย ซึ่งอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากขอบกพรอง ของการบริการในดานใดดานหนึ่งของการรถไฟแหงประเทศไทย อีกทั้งยังเกิดเหตุการณการ เรียกรองและประทวงโดยนัดหยุดเดินรถทั่วประเทศของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจรถไฟ (สร. ร.ฟ.ท.) (ระหวางปพ.ศ. 2552 - 2553) ดังนั้นการรถไฟแหงประเทศไทย จึงควรใหความสําคัญกับ การใชบริการโดยสารในดานตางๆ แกผูโดยสาร จากปญหาการลดลงของจํานวนผูโดยสารของการรถไฟแหงประเทศไทยดังที่กลาวมาและ จากแผนพัฒนาการบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยใหเปนรถไฟที่มีประสิทธิภาพตาม
  • 9. 3 มาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ ทําใหการรถไฟแหงประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการปรับปรุงและพัฒนางานบริการ ดานตางๆ มากขึ้น ดังนั้นการสํารวจความคิดเห็นของผูใชบริการตอบริการของการรถไฟแหง ประเทศไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงจึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหการรถไฟแหงประเทศไทยสามารถ ปรับปรุงการบริการใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ ผูศึกษาจึงเกิดความสนใจเขามา ทําการศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษนคร พิงค กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ เพื่อทราบถึงลักษณะการใชบริการ ความพึง พอใจที่เกิดกับผูโดยสารเมื่อมาใชบริการ และความคิดเห็นของผูใชบริการ โดยเลือกศึกษาขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพมหานคร-เชียงใหม เปนกรณีศึกษา ผลการศึกษาสามารถใชเปน ขอมูลสวนหนึ่งในการปรับปรุงรูปแบบ วิธีการ และพัฒนาการในการใหบริการที่มีประสิทธิภาพใน การใหบริการของการรถไฟแหงประเทศไทยใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ (อางอิง: กองประชาสัมพันธ, สถิติการโดยสาร, กรุงเทพฯ: การรถไฟแหงประเทศไทย, 2547-2552) 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาลักษณะการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของผูโดยสารเกี่ยวกับการใหบริการของ ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการของขบวนรถดวน พิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหทราบถึงความคิดเห็น ความตองการของผูโดยสาร และขอเสนอแนะตางๆ ที่มีตอ การใหบริการบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมของการรถไฟแหงประเทศไทย 2. ทราบถึงปญหาการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ- เชียงใหม 3. เปนขอมูลเบื้องตนในการนําไปเปนแนวทางเพื่อแกไขปญหาและปรับปรุงการใหบริการ โดยสารของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมและสายอื่นๆ ตอไป
  • 10. 4 1.4 ขอบเขตการศึกษา งานวิจัยนี้เปนการศึกษาความพึงพอใจของผูโดยสารรถไฟที่มีตอการใหบริการของขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม เพื่อศึกษาถึงลักษณะการใชบริการของผูโดยสารบน ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ปญหาการใชบริการของผูโดยสาร ตลอดจน ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของผูโดยสารเกี่ยวกับการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษ นครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม และกลุมประชากรที่ใชในการศึกษาจะครอบคลุมเฉพาะกลุมตัวอยาง ผูที่มาใชบริการขบวนรถดวนพิเศษนครพิงคขบวนที่ 1 (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม ณ สถานี เชียงใหม และมีการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม 1.5 นิยามศัพท ผูใชบริการหรือผูโดยสาร หมายถึง ผูโดยสารรถไฟที่ใชบริการขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค หมายถึง ขบวนรถไฟประเภทขบวนรถดวนพิเศษเลขขบวน รถที่ 1 (เที่ยวขึ้น) ที่เดินทางระหวางสถานีกรุงเทพฯ-สถานีเชียงใหม การรถไฟฯ หมายถึง การรถไฟแหงประเทศไทย พนักงานฯ หมายถึง พนักงานของการรถไฟแหงประเทศไทยที่ปฏิบัติหนาที่บนขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ปจจัยสวนบุคคล หมายถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดของประชากรที่ใชใน การศึกษา ลักษณะการใชบริการ หมายถึง สิ่งที่ผูโดยสารไดใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ไดแก วัตถุประสงคของการเดินทาง ลักษณะของการเดินทาง สถานีปลายทางที่ เดินทาง ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางและประเภทของการบริการที่ใชบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของผูโดยสารที่มีตอสิ่งที่ไดรับจากการใหบริการของ ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม ไดแก ดานผลิตภัณฑ ดานพนักงานบนขบวน รถไฟ ดานกระบวนการใหบริการ ดานราคา ดานการสงเสริมการตลาด ดานการจัดจําหนาย ดาน สถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ
  • 11. 5 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ 1. ทฤษฎีอุปสงค คําวา อุปสงค (Demand) หมายถึง ความตองการซื้อสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของ ผูบริโภค รวมกับความสามารถในการตอบสนองความตองการดังกลาว กลาวคือ อุปสงคหมายถึง ความตองการ (want) บวกดวยอํานาจซื้อ (Purchasing power) ถาเปนความตองการที่เกินกวา อํานาจซื้อ เราไมเรียกวา อุปสงค โดยปกติเรามักจะเรียกปริมาณเสนอซื้อวาเปน Effective demand และเรียกความตองการซื้อที่ยังไมพรอมดวยอํานาจซื้อ หรือการมีอํานาจซื้อแตยังไมมีความตองการ ซื้อวาเปน Potential demand ปจจัยที่กําหนดอุปสงคมีมากมายแตปจจัยที่สําคัญที่กําหนดปริมาณการซื้อคือ อุปสงคตอ ราคา อุปสงคตอราคาสินคาชนิดอื่น อุปสงคตอรายได และอุปสงคตอรสนิยม ซึ่งสามารถนํามา เขียนเปนฟงกชั่นอุปสงค (demand function) ไดดังนี้ Qx = f (Px,I,Py,T,…) โดยที่ Qx = ปริมาณการซื้อของสินคา x Px = ราคาสินคา x I = รายไดของผูซื้อ T = รสนิยมของผูซื้อ อุปสงคตอราคา (price demand) หมายถึง ปริมาณสินคาที่ผูตองการเสนอซื้อในขณะหนึ่งๆ ณ ระดับตางๆ กันของราคาสินคาชนิดนั้น โดนกําหนดใหสิ่งอื่นคงที่ ซึ่งไดแก ปจจัยทุกชนิดที่มี สวนกําหนดปริมาณซื้อที่นอกเหนือจากราคาสินคาที่กําลังพิจารณาอยู ความสัมพันธดังกลาว สามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้ Qx = (Px)
  • 12. 6 อุปสงคตอสินคาชนิดอื่น (cross demand) หรือที่เรียกวา อุปสงคไขว หมายถึง ปริมาณ สินคาที่มีผูตองการเสนอซื้อในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับตางๆ กันของราคาสินคาอีกชนิดหนึ่งที่ เกี่ยวของ โดยกําหนดใหสิ่งอื่นๆ คงที่ การศึกษาลักษณะความสัมพันธของราคาและปริมาณเสนอ ซื้อในกรณีนี้จะคาบเกี่ยวในระหวางสินคา 2 ชนิดดวยกัน ซึ่งประกอบไปดวยสินคาที่ใชประกอบ กัน และสินคาที่ใชทดแทนกัน ความสัมพันธดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงคชั่นไดดังนี้ Qx = (Py) อุปสงคตอรายได (income demand) หมายถึง ปริมาณสินคาที่มีผูตองการเสนอซื้อในขณะ ใดขณะหนึ่ง ณ ระดับตางๆ กันของรายไดของผูซื้อ โดยกําหนดใหสิ่งอื่นคงที่ ความสัมพันธ ดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้ Qx = (I) อุปสงคตอรสนิยม (test demand) หมายถึง รสนิยมของผูซื้อของสินคาชนิดนั้น ซึ่งเปน ปจจัยหนึ่งที่สามารถกําหนดระดับอุปสงคได โดยผูที่มีรสนิยมในสินคาชนิดใดมากก็จะซื้อสินคา ชนิดนั้นเปนจํานวนมากกวาสินคาชนิดอื่น ความสัมพันธดังกลาวสามารถเขียนเปนฟงกชั่นไดดังนี้ Qx = (T) 2. ทฤษฎีลักษณะอุปสงคของการขนสง หลักทั่วไปของอุปสงคมีวา อุปสงคสําหรับสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งถูกกําหนดโดยสินคา ชนิดนั้น ราคาของสินคาชนิดอื่นๆ และระดับรายได ทฤษฎีของอุปสงคอยางงายๆ นี้ก็ใชไดกับการ ขนสงในทํานองเดียวกับสินคาและบริการอยางอื่นๆ แตตองมีการปรับปรุงรายละเอียดบางประการ ซึ่งมีตัวกําหนดระดับอุปสงคสําหรับการขนสงดังตอไปนี้ ราคาของบริการขนสง ราคาของคาบริการขนสงนั้นมีความหมายกวางเกินกวาคาใชจายในรูปคาโดยสารหรือคา ระวางขนสง ในการสรางแบบจําลองทางการขนสงเราอาจจะนําเอาสวนประกอบอื่นๆของราคา เชนตนทุนดานเวลาที่ตองเสียไปในการเดินทาง การรอคอยและความไมปลอดภัยในการเดินทาง ฯลฯ มารวมกับคาโดยสาร (คาระวาง) เพื่อสรางดัชนีทั่วไปสําหรับการขนสงได
  • 13. 7 การกําหนดหลักการทั่วไปสําหรับการขนสงทุกประเภทเปนเรื่องที่ยากลําบาก แตเทาที่ ปรากฏหลักฐานในหลายกรณีพบวา การเปลี่ยนแปลงของราคาเพียงเล็กนอยจะมีผลกระทบตอ ปริมาณความตองการเดินทาง หรือระดับอุปสงคสําหรับการขนสงนอยมาก ตัวอยางเชน อุปสงค การขนสงสินคาทางเรือมีความยืดหยุนตอราคานอยมาก ทั้งนี้เปนเพราะวาหาบริการที่แทนที่การ ขนสงทางเรืออยางใกลเคียงที่สุดนั้นไดยากลําบาก เมื่อเทียบกับบริการโดยสารทางรถไฟนั้นก็มี ลักษณะคลายๆ กัน ถึงแมวาจะมีบริการทางรถโดยสาร แตบริการทางรถโดยสารนั้นยังมีความ ปลอดภัยไมเทากับบริการรถไฟ ระดับรายได มีหลักฐานที่ปรากฏมากมายที่แสดงใหเห็นวาบริการทางการขนสงเปนสินคาปกติ (Normal Good) ในลักษณะที่วา การขนสงเปนที่ตองการมากขึ้น ณ ระดับรายไดที่สูงขึ้น แตหลักทั่วไปอันนี้ ไมสามารถประยุกตใชไดกับทุกสถานการณหรือทุกประเภทของการขนสง แมวาผลการศึกษา Tanner (1978) and Button,et al. (1982) จะแสดงใหเห็นวารายไดมีอิทธิพลในแงบวกตอการ ตัดสินใจเปนเจาของรถยนต แตในขณะเดียวกันก็แสดงถึงความสัมพันธในทางตรงขามระหวาง รายไดกับการใชบริการขนสงสาธารณะดวย เมื่อรายไดของประชาชนเพิ่มมากขึ้นพรอมๆ กับการ เปนเจาของรถยนตก็เพิ่มมากขึ้นดวย การขนสงสาธารณะในหลายสถานการณไดกลายเปนสินคา ดอยคุณภาพ (Inferior Good) นั่นคือรายไดยิ่งสูงขึ้นอุปสงคสําหรับการขนสงสาธารณะยิ่งลดลง กลุมคนยากจนซึ่งไมสามารถหาเงินมาจายเปนคาขนสงไดมากเทาที่เขาตองการเปนผลทําใหผูมี รายไดนอยจําตองเดินทางนอยเที่ยวกวา ระยะทางสั้นกวา ใชประเภทการขนสงที่ดอยคุณภาพกวา เมื่อเปรียบเทียบกับผูใชบริการโดยสารรถไฟที่มีรายไดสูงอาจจะใชบริการชั้นที่มีคุณภาพมากกวาผู มีรายไดนอย ราคาของการขนสงประเภทอื่นๆ อุปสงคสําหรับบริการขนสงประเภทใดประเภทหนึ่งอาจจะไดรับอิทธิพลจากผูเสนอขาย บริการขนสงที่มีลักษณะเปนการแขงขันและหรือประกอบกันกับบริการขนสงที่กําลังพิจารณา โดย การขึ้นราคาสินคาหรือบริการชนิดหนึ่งอาจจะสงผลกระทบตอราคาสินคาหรือบริการของสินคาอีก ประเภทหนึ่งได ยกตัวอยางเชน การขึ้นราคาคาโดยสารรถไฟอาจจะสงผลกระทบตอความตองการ ใชบริการรถไฟนอยลงโดยผูโดยสารอาจจะหันไปใชบริการรถยนตหรือรถทัวรแทน
  • 14. 8 3. ตนทุนของผูใชบริการขนสง ( Transport user costs) ในการใชบริการขนสงในการเดินทาง การตัดสินใจของผูใชบริการจะไดรับอิทธิพลจาก ปจจัยหลากหลายชนิด กลาวใหแนชัดลงไปไดวา ผูเดินทางจะสนใจเปนพิเศษกับเวลาที่ตองใชใน การเดินทาง (แตละเที่ยว/ครั้ง) รองลงมาก็ไดแก คาใชจายเปนเงินที่เกี่ยวของกับการเดินทาง และ บอยครั้งที่ผูโดยสารจะคํานึงถึงคุณภาพของบริการขนสงที่เสนอขายดวย สําหรับผูสงสินคาไมแต เพียงจะเอาใจใสกับคาใชจายเปนเงินในการบรรทุก แตจะสนใจเกี่ยวกับความเร็ว ความเชื่อถือได และตารางกําหนดเวลาของบริการขนสง เพราะฉะนั้นอุปสงคสําหรับการขนสงจึงไมไดขึ้นอยูกับ (ตนทุน) คาใชจายที่คิดเปนเงิน แตกลับขึ้นอยูกับคาเสียโอกาสที่เกี่ยวของมากกวา ขอแตกตางของ บริการขนสงจากบริการอื่นๆ มิไดอยูตรงจุดนี้ แตอยูตรงจุดที่วาคาใชจาย (ตนทุน) ทั้งหมดเมื่อ พิจารณาถึงการตัดสินใจ คาใชจายที่คิดเปนเงินของการเดินทางอาจจะมีอิทธิพลนอยมากในการ ตัดสินใจวาจะทําการเดินทางหรือไม ตนทุนอยางกวางๆ (Generalised cost) ของการเดินทางจะแสดงอยูในรูปของมาตรวัด อันหนึ่ง ซึ่งรวมเอาตนทุนสวนใหญที่สําคัญแตปราศจากความสัมพันธซึ่งกันและกันเขาไวในรูป ของฟงกชั่นเสนตรง โดยตนทุนเหลานั้นจะรวมคาเสียโอกาสทั้งหมดของการเดินทางดังกลาว ลักษณะตนทุนอยางกวางๆ จึงเปนไปในรูปที่วาไดรวมเอาตนทุนประเภทตางๆ ทั้งหมดเขาเปนดัชนี เพียงหนึ่งเดียว และดัชนีนี้สามารถนําไปใชไดเชนเดียวกับที่เราใชดัชนีตนทุนหรือคาใชจายเปนเงิน ในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรทั่วไป อาจจะนิยามตนทุนอยางกวางไดดังนี้ G = g(C1,C2,C3,…,Cn) โดยที่ G เปนตนทุนอยางกวางๆ C1,C2,C3,…,Cn เปนตนทุนตางๆ ของการเดินทาง เชน C1 อาจจะเปนตนทุนดานเวลา C2 อาจจะเปนตนทุนที่คิดเปนเงิน ดังนั้น เราก็สามารถแสดงอุปสงคสําหรับการเดินทางใหเปนฟงกชั่น ของตัวแปรเพียงตัวเดียว นั่นก็คือ Qd = f(G) ในกรณีดัชนีดัชนีแบบงายๆ ตนทุนอยางกวางๆ (G) จะอยูในรูปของ linear combination ของตนทุนดานเวลาและตนทุนคิดเปนตัวเงิน (หรือระยะทาง) ที่เกี่ยวของกับการเดินทาง แตในการ วิเคราะหเชิงประยุกตสวนมากนิยมแบงสวนตนทุนดานเวลา และตนทุนที่เปนสวนยอยจํานวนหนึ่ง (ตัวอยางเชน เวลาที่ใชเดินทางจากบานถึงปายรถเมล เวลาที่ยืนคอยรถเมล เวลาที่อยูบนรถเมล ฯลฯ
  • 15. 9 สวนตัวอยางการแบงสวนคาใชจายเปนตัวเงินไดแก คาโดยสารรถไฟ คาธรรมเนียมรถดวน คาธรรมเนียมตูนอนปรับอากาศ เปนตน) ดังนั้นรูปแบบทั่วไปของตนทุนอยางกวางจึงกลายเปน G = ∑Mi + ∑tjTj โดยที่ Mi คือ ตนทุนที่เปนเงินของการเดินทางเทาที่เกิดขึ้นจริง เชน คาโดยสาร หรือคาน้ํามันเชื้อเพลิง Tj คือ ตนทุนดานเวลา เชน เวลาที่อยูบนยานพาหนะขนสง เวลาที่รอคอย tj คือ คาเปนเงินของตนทุนดานเวลา 4. ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภคและความพึงพอใจ 4.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541:124) กลาวถึง พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง พฤติกรรม มนุษยในลักษณะบทบาทของผูบริโภค ซึ่งเปนพฤติกรรม ที่ผูบริโภคตองทําการคนหา หารซื้อ การ ใช การประเมินผลการใชสอยผลิตภัณฑและบริการซึ่งจะคาดวาจะสนองความตองการของเขาโดย มีกระบวนการตัดสินใจและการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของกับการซื้อและการใชสินคา Kotler (2000:160) กลาววา ลักษณะของผูบริโภคไดรับอิทธิพลจากปจจัยดังตอไปนี้ 1. ปจจัยดานวัฒนธรรม (Culter Factors) เปนปจจัยพื้นฐานในการกําหนดความตองการ และพฤติกรรมของผูบริโภค ไดแก คานิยม ความชอบ เชื้อชาติ ศาสนา สภาพภูมิศาสตรและชนชั้น ทางสังคม 2. ปจจัยดานสังคม ( Social Factors) ไดแก กลุมอางอิง ครอบครัว ตลอดจนบทบาทและ สถานภาพทางสังคม 3. ปจจัยสวนบุคคล (Personal Factors) ไดแก ชวงอายุ อาชีพ รายได คาใชจาย รูปแบบการ ดําเนินชีวิต บุคลิกภาพและแนวความคิด 4. ปจจัยดานจิตวิทยา (Psychological Factor) ไดแก แรงจูงใจ การรับรู การเรียนรู ความเชื่อ และทัศนคติ
  • 16. 10 4.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ ชนะ กลาชิงชัย (2549) ไดสรุปความหมายของความพึงพอใจวา ความพึงพอใจเปนเรื่อง เกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกและทัศนะของบุคคล อันเนื่องมาจากสิ่งเราและสิ่งจูงใจ ซึ่งจะปรากฏ ออกมาทางพฤติกรรมและเปนองคประกอบที่สําคัญในการทํากิจกรรมตางๆ ของบุคคล ศรัทธา วุฒิพงศ (2550) ไดกลาวถึงปจจัยสําคัญของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจเปน ปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ชวยทําใหงานประสบผลสําเร็จ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนงานที่เกี่ยวกับ การใหบริการ นอกจากผูบริหารจะดําเนินการใหผูทํางานเกิด ความพึงพอใจในการทํางานแลว ยัง จําเปนจะตองดําเนินการที่จะทําใหผูทํางานเกิดความพึงพอใจดวยเพราะความเจริญกาวหนาของ การบริการ ปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งที่เปนตัวบงชี้ก็คือจํานวนผูที่มาใชบริการ ดังนั้น ผูบริหารที่ ชาญฉลาดจึงควรอยางยิ่งที่จะศึกษาใหลึกซึ่งถึงปจจัยและองคประกอบตางๆ ที่จะทําใหเกิดความ พึงพอใจ ทั้งผูปฏิบัติงานและผูมาใชบริการ เพื่อที่จะไดใชเปนแนวทางในการบริหารองคกรใหมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด กูด (2550) กลาววา ความพึงพอใจตอการใหบริการ หมายถึง คุณภาพ สภาพหรือระดับ ความพึงพอใจ ซึ่งเปนผลมาจากความสนใจตางๆ ทัศนคติของบุคคลที่มีตอการใหบริการ วรูม (2551) กลาววา ทัศนคติและความพึงพอใจในสิ่งหนึ่งสามารถใชแทนกันได เพราะทั้ง สองคํานี้ หมายถึง ผลที่ไดจากที่บุคคลเขาไปมีสวนรวมในสิ่งนั้นทัศนคติดานบวกจะแสดงใหเห็น สภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้น และทัศนคติดานลบแสดงใหเห็นสภาพความพึงพอใจนั่นเอง วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2551) ใหความหมายวา ความพึงพอใจเปนการใหคาความรูสึกของ คนเราที่สัมพันธกับโลกทัศนที่เกี่ยวกับความหมายของสภาพแวดลอม คาความรูสึกของบุคคลที่มี ตอสภาพแวดลอมจะแตกตางกัน เชน ความรูสึก ดี-เลว พอใจ-ไมพอใจ สนใจ-ไมสนใจ เปนตน กมล ชูทรัพย และเสถียร เหลืองอราม (อางถึงในนิธนา เมืองนนท, 2534:12) ไดกลาวถึง ปจจัยที่ทําใหคนพึงพอใจในการบริการประกอบดวย 1. ผูใชบริการไดรับผลตอบแทนจากการใหบริการคุมกับการมาใชบริการ 2. ลักษณะของการใหบริการบางคนเห็นวาการบริการที่มีคุณภาพยอมสําคัญกวาการ บริการจากเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. ผูใชบริการไดรับการยกยองนับถือหรือความเคารพจากผูใหบริการ
  • 17. 11 4. ประชาธิปไตยจากการใชบริการ คือ ผูใชบริการมีโอกาสแสดงความคิดเห็นหรือมีสวน รวมในการกําหนดรูปแบบการบริการ John D. Millet (อางถึงใน ชนะ กลาชิงชัย,2541:8) ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ในการบริการ (Satisfactory Services) หรือความสนใจในการสรางความพึงพอใจใหกับผูรับบริการ โดยการพิจารณาจากองคประกอบ 5 ดาน ดังนี้คือ 1. การใหบริการอยางเสมอภาค (Equitable Services) หมายถึง ความยุติธรรมในการ บริหารงานของรัฐที่มีฐานคติที่วาคนทุกคนเทาเทียมกัน ดังนั้น ประชาชนทุกคนจะไดรับการปฏิบัติ อยางเทาเทียมกันในแงมุมของกฎหมาย ไมมีการแบงแยกกีดกันในการใหบริการ ประชาชนจะ ไดรับการปฏิบัติในฐานะที่เปนปจเจกบุคคลที่ใชมาตรฐานการใหบริการเดียวกัน 2. การใหบริการอยางทันเวลา (Timely Services) หมายถึง ในการบริการจะตองมองวาการ ใหบริการสาธารณะจะตองตรงเวลา ผลการปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐ จะถือวาไมมีประสิทธิภาพ เลยถาไมมีการตรงตอเวลา ซึ่งจะสรางความไมพอใจใหแกประชาชน 3. การใหบริการอยางเพียงพอ (Amble Services) การใหบริการสาธารณะตองมีลักษณะ มี จํานวนการใหบริการและสถานที่ใหบริการอยางเหมาะสม Millet เห็นวา ความเสมอภาค หรือการ ตรงตอเวลาจะไมมีความหมายเลยถามีจํานวนการใหบริการที่ไมเพียงพอ และสถานที่ใหบริการ สรางความไมยุติธรรมใหเกิดขึ้นแกผูรับบริการ 4. การใหบริการอยางตอเนื่อง (Continuous Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะที่ เปนไปอยางสม่ําเสมอ โดยยึดประโยชนของสาธารณะเปนหลักไมใชยึดความพอใจของหนวยงาน ที่บริการวาจะใหหรือหยุดบริการเมื่อใดก็ได 5. การใหบริการอยางกาวหนา (Progressive Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะที่มี การปรับปรุงคุณภาพและผลการปฏิบัติงาน กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพหรือ ความสามารถที่จะทําหนาที่ไดมากขึ้น โดยใชทรัพยากรเทาเดิม จึงสรุปไดวาความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดีของบุคคลซึ่งมักเกิดจาก การตอบสนองตามที่ตนตองการ ก็จะเกิดความรูสึกที่ดีในสิ่งนั้น ตรงกันขามหากความตองการ ไมไดรับการตอบสนอง ความไมพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการจะเกิดขึ้น หรือไมนั้น จะตองพิจารณาถึงลักษณะของการใหบริการขององคกรประกอบกับระดับความรูสึก ของผูมารับบริการในมิติตางๆ ของแตละบุคคล
  • 18. 12 5. ทฤษฎีเกี่ยวกับธุรกิจบริการ บริการเปนกิจกรรม ผลประโยชนหรือความพึงพอใจที่สนองความตองการแกลูกคา บริการ มีลักษณะที่สําคัญ 4 ลักษณะ คือ 1. ไมสามารถจับตองได บริการไมสามารถมองเห็น หรือเกิดความรูสึกไดกอนที่จะมีการ ซื้อ 2. ไมสามารถแบงแยกการใหบริการ การใหบริการเปนการผลิตและการบริโภคใน ขณะเดียวกัน 3. ไมแนนอน ลักษณะของบริการมาแนนอนขึ้นอยูกับวาผูขายบริการเปนใคร จะใหบริการ ที่ไหน เมื่อไร และอยางไร 4. ไมสามารถเก็บไวได บริการไมสามารถผลิตเก็บไวไดเหมือนสินคาอื่น ถาความตองการ มีสม่ําเสมอ การใหบริการก็จะไมมีปญหา แตถาลักษณะความตองการไมแนนอนจะทําใหเกิดปญหา คือ บริการไมทันหรือไมมีลูกคา เครื่องมือทางการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ (Marketting Tools for Services) ประกอบดวย 1. ผลิตภัณฑ (Product) หมายถึง สิ่งที่เสนอขายโดยธุรกิจเพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคาใหเกิดความพึงพอใจ ผลิตภัณฑตองมีอรรถประโยชน มีคุณคาในสายตาของลูกคา จึงจะมีผล ทําใหผลิตภัณฑสามารถขายได 2. ราคา (Price) หมายถึง คุณคาผลิตภัณฑในรูปตัวเงิน ราคาเปนตนทุน (Cost) ของลูกคา ธุรกิจจะตองวางแผนและกําหนดราคาใหถูกตองและเหมาะสมตามสภาวะตลาด รวมทั้งการ คํานึงถึงปริมาณการซื้อขายในแตละครั้ง เพื่อดึงดูดและจูงใจผูบริโภค กิจกรรมในการตั้งราคา เชน การใหสวนลด เงื่อนไขระยะเวลาการชําระเงิน ระยะเวลาในการใหสินเชื่อ 3. การจัดจําหนาย (Place) หมายถึง โครงสรางของชองทางซึ่งประกอบดวยสถาบันและ กิจกรรม ใชเพื่อเคลื่อนยายผลิตภัณฑและบริการจากองคกรไปยังตลาดไดทันเวลา ผลิตภัณฑนั้นจึง จะมีคาสูง กิจกรรมที่ชวยในการกระจายตัวสินคา เชน การขนสง คลังสินคา ปริมาณสินคาคงเหลือ การเก็บรักษา การเลือกคนกลาง 4. การสงเสริมการตลาด (Promotion) เปนการติดตอสื่อสารไปยังกลุมลูกคาเปาหมายทําให ผลิตภัณฑเปนสิ่งที่ตองการของลูกคาเปาหมาย สรางความเชื่อถือในผลิตภัณฑ กิจกรรมที่เปนการ
  • 19. 13 สงเสริมการตลาด เชน การโฆษณา การประชาสัมพันธ การขายโดยพนักงานขาย การสงเสริมการ ขาย 5. บุคคล (People) หรือพนักงาน (Employees) ซึ่งตองอาศัยการคัดเลือก (Selection) การ ฝกอบรม (Training) การจูงใจ (Motivation) เพื่อใหสามารถสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาได แตกตางเหนือคูแขงขัน พนักงานตองมีความสามารถ มีทัศนคติที่ดี สามารถตอบสนองตอลูกคา มี ความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแกปญหา และสามารถสรางคานิยมใหกับบริษัท 6. การสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) โดยพยายามสรางคุณภาพโดยรวม [Total Quality Management (TQM)] เพื่อสรางคุณคาใหกับ ลูกคา (Customer value Proposition) 7. กระบวนการ (Process) ตองมีกระบวนการเพื่อสงมอบคุณภาพในการใหบริการกับลูกคา ไดรวดเร็วและประทับใจลูกคา (Customer Satisfaction) กลยุทธการตลาดในธุรกิจบริการ 3 แบบ ประกอบดวย 1. การตลาดภายใน (Internal Marketing) การตลาดภายในของบริษัทจะรวมถึงการ ฝกอบรม และการจูงใจพนักงานขายบริการในการสรางความสัมพันธกับลูกคา รวมถึงพนักงานที่ ใหการสนับสนุนการใหบริการโดยใหเกิดการทํางานรวมกันเปนทีม เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับ ลูกคา 2. การตลาดภายนอก (External Marketing) เปนการใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อให บริการลูกคาในการจัดเตรียมการใหบริการ การกําหนดราคา การจัดจําหนาย และการใหบริการแก ลูกคา 3. การตลาดที่สัมพันธกันระหวางผูซื้อและผูขาย (Interactive Marketing) หมายถึง การ สรางคุณภาพบริการใหเปนที่นาเชื่อถือ เกิดขึ้นในขณะที่ผูขายใหบริการกับลูกคา ลูกคาจะยอมรับ หรือไมขึ้นอยูกับความพึงพอใจของลูกคา ลูกคาจะพิจารณาคุณภาพของการใหบริการโดยพิจารณา จากดานตางๆ ไดแก คุณภาพดานเทคนิค คุณภาพดานหนาที่ คูณภาพบริการที่ลูกคาสามารถ ประเมินไดกอนซื้อ คุณภาพดานประสบการณ คือ ลักษณะบริการที่ลูกคาสามารถประเมินได หลังจากการซื้อบริการ และคุณภาพความเชื่อถือไดวาเปนจริง คือลักษณะบริการที่ผูซื้อยากที่จะ ประเมินแมจะไดใชบริการแลวก็ตาม เปนความรูสึกที่ลูกคาจะประเมินคุณภาพความเชื่อถือที่ไดรับ
  • 20. 14 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2541)ได ทําการสํารวจความพึงพอใจในการใชบริการของการรถไฟแหงประเทศไทย ในรอบป พ.ศ. 2539 และป พ.ศ. 2540 ซึ่งสรุปไดดังนี้ การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการรถไฟจําแนกเปน 2 กลุม คือ กลุมผูโดยสาร และกลุมผูใชบริการขนสงสินคา โดยผลการสํารวจความพึงพอใจในการใช บริการของการรถไฟแหงประเทศไทยในกลุมผูโดยสาร พบวาผูโดยสารรวมทุกสายและทุกประเภท ของขบวนรถมีแนวโนมไปในทางที่ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการบริการที่ไดรับอยูในระดับดี เชน ในดานการปฏิบัติงานของพนักงานรถไฟทั้งพนักงานประจําสถานีและพนักงานบนรถไฟ ใน สวนที่ผูโดยสารรวมทุกสายและทุกประเภทของขบวนรถมีแนวโนมในทางที่เห็นวาควรจะตอง ปรับปรุง ไดแก ความสะอาดของหองสุขาในบริเวณสถานีรถไฟ ความพอเพียงที่นั่งและพัดลมใน สถานี ความสะอาดภายในตัวรถไฟโดยสาร เปนตน สวนสาเหตุสําคัญที่ผูใชบริการการรถไฟแหง ประเทศไทยตัดสินใจเลือกใชบริการรถไฟโดยสารเนื่องมาจากการมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุใน การเดินทางสูง ราคาถูกเมื่อเทียบกับการเดินทางโดยวิธีอื่น การนอนขณะเดินทางไดสบายกวาการ เดินทางโดยวิธีอื่น เปนตน ดานการสํารวจความคิดเห็นตอแนวโนมในการใชบริการของการรถไฟ แหงประเทศไทยตอไปในอนาคตในกลุมผูโดยสารรถไฟนั่งชั้นสาม พบวาจะยังคงใชตอไปแมวา การรถไฟจะปรับปรุงราคาสูงขึ้นเทากับอัตราคาโดยสารของรถ บขส. เนื่องจากการเดินทางโดย รถไฟสะดวกกวาการเดินทางโดยวิธีอื่น
  • 21. 15 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาถึง ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการ ของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม โดยไดดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา 3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล 3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 3.4 วิธีวิเคราะหขอมูล 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา ประชากร ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้กลุมประชากรคือ ผูโดยสารที่ใชบริการของขบวนรถดวน พิเศษนครพิงคขบวนที่ 1 (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม จากขอมูลการโดยสาร จํานวนผูโดยสาร ที่มาใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม มีจํานวนทั้งสิ้น 4,028 คน (เอกสารเผยแพรเอกสาร รถไฟฯ) กลุมตัวอยาง เพื่อใหไดขนาดของตัวอยางที่เหมาะสมจึงหาขนาดตัวอยางจากการคํานวณ ดวยวิธีการของ Yamane โดยใหมีความคลาดเคลื่อน 0.05 เนื่องจากทราบขนาดของประชากรที่ แนนอน จึงสามารถคํานวณหาขนาดตัวอยางไดดังสูตรตอไปนี้ (Yamane,1973:727 อางถึงในวัชรี พฤกษิกานนท,2549:13) สูตร n = N / (1+Ne2 ) โดย n = ขนาดของตัวอยางที่ตองการประมาณ N = ขนาดของประชากรที่มีพาหนะสวนตัว e = ขอบเขตความคลาดเคลื่อนที่ผูวิจัยกําหนดไวที่ 5% (กําหนดให e = 0.05)
  • 22. 16 แทนคาสูตร n = 4,028 / [1+(4,028*0.052 )] = 363.8663 ตัวอยาง เมื่อคํานวณจํานวนตัวอยาง จะไดจํานวนตัวอยางที่ตองการ 363.8663 ตัวอยาง แตเนื่องจาก มีขอจํากัดเรื่องของเวลาในการวิจัย ผูวิจัยจึงลดขนาดตัวอยางลงเหลือ 200 ตัวอยาง การสุมตัวอยาง เนื่องจาก ขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค (เที่ยวขึ้น) กรุงเทพฯ-เชียงใหม มี จุดหมายปลายทางที่จังหวัดเชียงใหม เพื่อใหไดกลุมตัวอยางที่ไดใชบริการตลอดเสนทางการ เดินทางบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค จึงมีการเก็บรวมรวมขอมูลที่บริเวณสถานีเชียงใหม ผูวิจัย ไดใชวิธีการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ และไมเจาะจงวาเปนผูโดยสารชั้นที่ 1 หรือชั้นที่ 2 เนื่องจาก รถดวนพิเศษนครพิงคแตละขบวนมีสัดสวนของรถนอนชั้นที่ 1 เพียงรอยละ 10 ของจํานวนที่นั่ง ทั้งหมด ซึ่งเปนสัดสวนที่นอยมากทําใหมีขอจํากัดในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนั้นผูศึกษาจึง รวบรวมขอมูลจากผูโดยสารโดยไมเจาะจงวาเปนผูโดยสารชั้นที่ 1 หรือชั้นที่ 2 3.2 ตัวแปร ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลที่ผูทําการศึกษาทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดย การออกแบบสอบถามในการสัมภาษณเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการ ความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะ ความพึงพอใจของกลุมตัวอยางผูใชบริการที่มาใชบริการของขบวนรถดวนพิเศษนคร พิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมทั้งหมด 200 ตัวอยาง 2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาจาก งานวิจัยและ บทความตางๆ ขอมูลจากเว็บไซดตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อศึกษาขอมูลตามวัตถุประสงคของการศึกษา ภาพรวมของการใหบริการรถไฟแหงประเทศไทย 3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งจะสรางขึ้นตามแนว วัตถุประสงคของการศึกษา สําหรับแบบสอบถามที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห
  • 23. 17 จากกลุมตัวอยางนั้นจะใชแบบสอบถามจํานวน 200 ชุด ซึ่งในแบบสอบถามนี้ไดแบงออกเปน 4 สวนดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได โดยเปนคําถามปลายปดทั้งหมด มีจํานวนคําถามทั้งสิ้น 5 ขอ สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร ไดแก วัตถุประสงคในการ เดินทาง ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทาง ประเภทของบริการที่ใชบน ขบวนรถ โดยเปนคําถามปลายปดทั้งสิ้น 4 ขอ สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดาน ตางๆ ผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของผูโดยสาร โดยเปนคําถามปลายปด ทั้งหมด มีจํานวนคําถามทั้งสิ้น 35 ขอ สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม โดยรวบรวมขอมูลจากการ ตอบแบบสอบถามปลายเปด 3.4 วิธีวิเคราะหขอมูล ขอมูลที่ไดจากการสอบถามจากกลุมตัวอยางจํานวน 200 ตัวอยาง จะนํามาวิเคราะหโดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows และวิเคราะหดวยคาสถิติตางๆ ดังนี้ สวนที่ 1 เปนขอมูลเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหดวยขอมูล เกี่ยวกับความถี่ คารอยละ สวนที่ 2 เปนขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร วิเคราะหดวยขอมูล เกี่ยวกับความถี่ คารอยละ และการทดสอบความสัมพันธดวยไคสแควร สวนที่ 3 เปนขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ วิเคราะหดวยขอมูลเกี่ยวกับคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สวนที่ 4 เปนขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ วิเคราะหดวยขอมูลเกี่ยวกับ คารอยละ สําหรับคําถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ มีเกณฑการใหคะแนนในแตละระดับดังนี้
  • 24. 18 ระดับความพึงพอใจ คะแนน มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอยที่สุด 1 กําหนดเกณฑในการพิจารณาโดยการหาพิสัยของอันตรภาคชั้น จากสูตร พิสัย = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด จํานวนชั้น = 5-1 5 = 0.8 ดังนั้น ระดับความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการในดานตางๆ มีลําดับคะแนน ดังนี้ คะแนนคาเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 1.00-1.80 พึงพอใจนอยที่สุด 1.81-2.60 พึงพอใจนอย 2.61-3.40 พึงพอใจปานกลาง 3.41-4.20 พึงพอใจมาก 4.21-5.00 พึงพอใจมากที่สุด
  • 25. 19 3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา ตัวแปรอิสระ ผูโดยสารรถไฟ โดยมีปจจัยสวนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. อาชีพ 5. รายได ตัวแปรตาม คือ ลักษณะการใชบริการ ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของ โดยมีปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้ ผูโดยสารที่มีตอการใหบริการ โดยมี 1. วัตถุประสงคในการเดินทาง ปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้ 2. ลักษณะของการเดินทาง 1. ดานผลิตภัณฑ 3. ลักษณะการซื้อตั๋วเดินทาง 2. ดานพนักงานบนขบวนรถไฟ 4. ประเภทของบริการที่ใชบนขบวนรถ 3. ดานกระบวนการใหบริการ 4. ดานราคา 5. ดานสงเสริมการตลาด 6. ดานการจัดจําหนาย 7. ดานสถานที่เครื่องมือและอุปกรณ ผลการวิจัย 1. ทราบถึงความคิดเห็น ความตองการของผูโดยสาร และขอเสนอแนะตางๆ ที่มีตอการใหบริการบนขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมของการรถไฟแหงประเทศไทย 2. ทราบถึงปญหาการใชบริการของผูโดยสารบนขบวนรถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหม 3. เปนขอมูลเบื้องตนในการนําไปเปนแนวทางเพื่อแกไขปญหาและปรับปรุงการใหบริการโดยสารของขบวน รถดวนพิเศษนครพิงค กรุงเทพฯ-เชียงใหมและสายอื่นๆ ตอไป
  • 26. 20 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การวิจัยเรื่อง “ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอการใหบริการของขบวนรถดวนพิเศษ นครพิงค กรุงเทพ-เชียงใหม” ผูวิจัยไดทําการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 200 ชุด ใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมือในการวิจัย ซึ่งครอบคลุมเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ลักษณะการใช บริการของผูโดยสาร ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ และ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูโดยสาร ผลการวิเคราะหขอมูลไดนําเสนอเปน 4 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม นําเสนอไวในตารางที่ 4.1-4.5 สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร นําเสนอไวในตารางที่ 4.6-4.9 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของผูโดยสารที่มีตอคุณภาพการใหบริการในดาน ตางๆ นําเสนอไวในตารางที่ 4.10-4.11 สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูโดยสาร นําเสนอไวใน ลักษณะการบรรยาย
  • 27. 21 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 4.1 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ N=200 เพศ จํานวน รอยละ เพศชาย 94 47.00 เพศหญิง 106 53.00 รวม 200 100.00 จากตารางที่ 4.1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 200 คน จําแนกเปนเพศชาย 94 คน คิดเปนรอยละ 47.00 เพศหญิง จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 53.00 ตารางที่ 4.2 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ N=200 อายุ จํานวน รอยละ ต่ํากวา 25 ป 47 23.50 25-35 ป 58 29.00 36-45 ป 39 19.50 46-55 ป 39 19.50 55 ปขึ้นไป 17 8.50 รวม 200 100.00 จากตารางที่ 4.2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอายุ 25-35 ป จํานวน 58 คน คิดเปน รอยละ 29.00 และนอยที่สุดคืออายุ 55 ปขึ้นไป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 8.50 ตารางที่ 4.3 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับการศึกษา N=200 ระดับการศึกษา จํานวน รอยละ ต่ํากวาปริญญาตรี 53 26.50 ปริญญาตรี 109 54.50 สูงกวาปริญญาตรี 38 19.00 รวม 200 100.00
  • 28. 22 จากตารางที่ 4.3 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวุฒิการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี จํานวน 109 คน คิดเปนรอยละ 54.50 และนอยที่สุดมีวุฒิการศึกษาอยูในระดับสูงกวาปริญญาตรี จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 19.00 ตารางที่ 4.4 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามอาชีพ N=200 อาชีพ จํานวน รอยละ นักเรียน/นักศึกษา 47 23.50 พนักงานบริษัท 47 23.50 ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 51 25.50 ธุรกิจสวนตัว 50 25.00 แมบาน 5 2.50 รวม 200 100.00 จากตารางที่ 4.4 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอาชีพขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหา กิจและธุรกิจสวนตัว จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 25.50 และนอยที่สุดมีอาชีพแมบาน จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2.50 ตารางที่ 4.5 : สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามรายไดตอเดือน N=200 รายไดตอเดือน จํานวน รอยละ นอยกวา 5,000 บาท 34 17.00 5,000-15,000 บาท 58 29.00 15,001-25,000 บาท 41 20.50 25,001-35,000 บาท 26 13.00 35,001-45,000 บาท 20 10.00 45,001-55,000 บาท 5 2.50 มากกวา 55,000 บาท 16 8.00 รวม 200 100.00
  • 29. 23 จากตารางที่ 4.5 พบวาผูตอบแบสอบถามสวนใหญมีรายไดตอเดือน 5,000-15,000 บาท จํานวน 58 คน คิดเปนรอยละ 29.00 และนอยที่สุดมีรายไดตอเดือน 45,001-55,000 บาท จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2.50 สวนที่ 2 ลักษณะการใชบริการของผูโดยสาร ตารางที่ 4.6 : ตารางแจกแจงตามวัตถุประสงคของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม N=200 เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ อายุ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ไปสถานศึกษา 7 7.40 5 4.70 12 6.00 ไปทํางาน 29 30.90 26 24.50 55 27.50 ไปธุระสวนตัว 38 40.40 45 42.50 83 41.50 ไปทองเที่ยว 13 13.90 19 17.90 32 16.00 กลับบาน 7 7.40 11 10.40 18 9.00 รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00 Chi-Square Sig. (X2 ) = 1.864 df=3 p=0.621 (0.621>0.025) จากตารางที่ 4.6 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวัตถุประสงคในการเดินทางไปธุระ สวนตัว จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 41.50 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 40.40 และ 42.50 ตามลําดับ และนอยที่สุดมีวัตถุประสงคในการเดินทางไปสถานศึกษา จํานวน 12 คน คิดเปน รอยละ 6.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 7.40 และ 4.70 ตามลําดับ เมื่อทดสอบความสัมพันธดวย สถิติไค-สแควร พบวา วัตถุประสงคของการเดินทางไม ขึ้นอยูกับเพศที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
  • 30. 24 ตารางที่ 4.7 : ตารางแจกแจงตามลักษณะของการเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม N=200 เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ ลักษณะการเดินทาง จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ เฉพาะขาไป 19 20.20 19 17.90 38 19.00 เฉพาะขากลับ 6 6.40 2 1.90 8 4.00 ทั้งขาไปและขากลับ 69 73.40 85 80.20 154 77.00 รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00 Chi-Square Sig. (X2 ) =2.953 df=2 p=0.228 (0.228>0.025) จากตารางที่ 4.7 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีลักษณะของการเดินทางทั้งขาไป และขากลับ จํานวน 154 คน คิดเปนรอยละ 77.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 73.40 และ 80.20 ตามลําดับและนอยที่สุดมีลักษณะของการเดินทางเฉพาะขากลับ จํานวน 8 คน คิดเปน รอยละ 4.00 เปนเพศชายและเพศหญิง คิดเปนรอยละ 6.40 และ 1.90 ตามลําดับ เมื่อทดสอบความสัมพันธดวย สถิติไค-สแควร พบวาลักษณะของการเดินทางไมมี ความสัมพันธกับเพศของผูใชบริการ ตารางที่ 4.8 : ตารางแจกแจงตามลักษณะการซื้อตั๋วเดินทางของผูตอบแบบสอบถาม N=200 เพศชาย เพศหญิง รวมเพศ ลักษณะการซื้อตั๋ว จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จองลวงหนาประมาณ 2 เดือน 0 0.00 6 5.70 6 3.00 จองลวงหนาประมาณ 1 เดือน 18 19.10 20 18.90 38 19.00 จองลวงหนาประมาณ1/2เดือน 55 58.50 66 62.30 121 60.50 ซื้อในวันที่เดินทาง 21 22.40 14 13.10 35 17.50 รวม 94 100.00 106 100.00 200 100.00 Chi-Square Sig. (X2 ) =8.320 df=3 p=0.04 (0.04>0.025)