SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
1
ใบงานเรื่อง พฤติกรรม ของสิ่งมีชีวิต
รายวิชา ชีววิทยา 2 ผู้สอนครูสำาเร็จ นางสีคุณ
เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษา
พฤติกรรม โดยวิธีการสังเกตเป็นระยะเวลานาน แล้วเก็บรวบรวมข้อมูล
ทดลอง และสรุปผลออกมาเพื่อพยายามอธิบายพฤติกรรมต่างๆของสัตว์
เพื่อนำาประโยช์นมาใช้ไม่มากก็น้อย จึงมีการศึกษาพฤติกรรมในหลาย
แง่มุม ได้แก่ ศึกษาในแง่ระบบนิเวศ วิวัฒนาการในหลายแง่มุม ได้แก่
ศึกษาในแง่ระบบนิเวศ วิวัฒนาการ อนุกรมวิธาน พันธุกรรม สรีรวิทยา
และแง่จิตวิทยา
Ethology คือ การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ และกลไกที่สัตว์
แสดงออกในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติของสัตว์นั้น
ความหมายของพฤติกรรม
พฤติกรรม (Behavior) คือกิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกเพื่อตอบ
สนองต่อสิ่งเร้า อันเป็นไปอย่างเหมาะสมเพื่อการอยู่รอดของชีวิต ให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
พฤติกรรมอาจหมายถึง กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงอออกเพื่อตอบ
สนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น ซึ่งอาจเป็นสิ่งแวดล้อมภายนอกที่
เปลี่ยนแปลงไป หรือจากการกระตุ้นจากภายในร่างกายเอง
สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย (External stimulus) ได้แก่ ระดับอุณหภูมิ
แสงสว่าง เสียง สารเคมี วัตถุ ความชื้น กลิ่น ความดัน สารเคมี และ
แรงดึงดูดของโลก เป็นต้น
สิ่งเร้าภายในร่างกาย (Internal stimulus) ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง
สรีระที่เกิดขึ้นในร่างกาย เช่น ระดับออกซิเจนในเลือด ฮอร์โมน หรือ
ความรัก ความหิว ความคิด ความโกรธ ความอิจฉา ฯลฯ
กิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออก เพื่อการตอบโต้สิ่งเร้าอาจเกิดในรูปของ
การกิน การนอน การหาอาหาร การเจริญเติบโต การช่วยเหลือ การ
ต่อสู้ การช่วยเหลือ เป็นต้น กิริยาท่แสดงออกมานี้อาจเป็นเพียงการ
เคลื่อนไหวของเนื้อเยื่อบางส่วน หรือทั้งตัวก็ได้
วัตถุประสงค์ของการแสดงพฤติกรรม
เพื่อความอยู่รอด (survival) เช่น พฤติกรรมการหาอาหาร
การล่าเหยื่อ การหลบหนีศัตรู และการหาที่อยู่อาศัยเป็นต้น
เพื่อสืบพันธุ์ (reproduction) เช่น พฤติกรรมการเกี้ยวพารา
สี (courtship behavior)
สารเหตุของการแสดงพฤติกรรม
2
Proximate cause เป็นเหตุโดยตรงที่เกินขึ้นขณะนั้น อัน
เนื่องมาจากสภาวะทางสรีระวิทยาทางร่างกายขณะนั้น เมื่อร่างกายได้
รับสิ่งเร้า ก็จะเกิดปฏิกิริยาตอยสนองออกมา
Ultimate cause เป็นสาเหตุรากฐานที่เกิดจากวิวัฒนาการ
มายาวนาน ได้แก่ natural selection ( ตามทฤษฏีวิวัฒนาการของ
ชาร์ล ดาร์วิน )
พฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อ
มีสิ่งเร้า (stimulus) มากระตุ้น ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมกับความ
พร้อมภายในร่างกายของสัตว์ทำาให้สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมา
เรียกได้ว่า ตัวกระตุ้นปลดปล่อย (releasing stimulus) มีเหตุจูงใจ
(motivation) มีกลไกการปลดปล่อยพฤติกรรม (releasing
mechanism) ซึ่งเป็นวงจรกระแสประสาทซึ่งไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อง
ร่างกายของสัตว์ต้องมี sensory receptor ที่สามารถรับการกระตุ้นจาก
สิ่งเร้านั้นได้ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีข้อจำากัดของ sensory receptor ที่
แตกต่างกัน ดังนั้นพฤติกรรมที่แตกต่างกันของสัตว์ ขึ้นอยู่กับ
วิวัฒนาการความสามารถของระบบรับความรู้สึก (sensory system)
ระบบควบคุม (control system) คือ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
และหน่วยปฏิบัติงาน (effector) ของสัตว์ชนิดนั้น
สิ่งกำาหนดพฤติกรรม
Gene เช่น พันธุกรรมเป็นตัวกำาหนดการสร้างระบบประสาท
ได้แก่ พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด (Inherited behavior) หรือ innate
behavior ไม่มีการตอบสนองแบบตรงไปตรงมา และเหมือนๆกันทุกครั้ง
(stereotype) พบในสัตว์ชั้นตำ่าพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่
พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ (reflex) และรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex)
หรือสัญชาตญาณ (instinct)
สิ่งแวดล้อม เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้หรือ
learning behavior ซึ่งความสามารถในการเรียนรู้จะแตกต่างกัน
ตัวอย่างการศึกษาว่า gene เป็นพื้นฐานที่กำาหนดพฤติกรรมของสัตว์
ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมการสร้างรังของนกแก้ว lovebird ซึ่งจะสร้าง
รังเป็นรูปถ้วยแบบต่างๆ ความแตกต่างของพฤติกรรมการสร้างรงของ
นก 2 species นี้ขึ้นกับ gene แต่อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมก็ยังสามารถ
ดัดแปลงได้บ้างจากประสบการณ์ ในขณะที่บางพฤติกรรมก็ถูกกำาหนด
ไว้อย่างคงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยประสบการณ์
3
การที่สัตว์แสดงพฤติกรรมใดๆออกมา มีเหตุปัจจัยต่างๆ
ที่มาเกี่ยวข้อง เช่น
cost and benefit คือ สัตว์จะเลือกแสดงพฤติกรรมที่มันจะ
ได้ประโยช์นคุ้มกับที่จะเสี่ยง จึงเป็น learning behavior ผลอันนี้ทำาให้
เกิด natural selection เช่น นกนางนวลที่ฟักไข่ เมื่อลูกนกฟักออกมา
แล้วรอจนตัวแห้งมีผลปกปุย แม่นกจึงบินไปคาบเปลือกไข่ไปทิ้งนอกรัง
เพื่อไม่ให้เป็นเป้าสายตาของนกกา ที่จะมากินลูกนกหรือไข่ในรัง
motivation คือ เหตุจูงใจ หมายถึง ความบกพร่องของ
ร่างกายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภายในร่างกาย ซึ่งจะผลักดัน
ให้สัตว์แสดงพฤติกรรมออกา เช่น ความหิว ความกระหาย ความ
ต้องการทางเพศ และการหลบหนี ดังนั้น จึงเป็นผลจากสภาวะทาง
สรีรวิทยาของร่างกายตลอดจนการเคยมีประสบการณ์
releaser หรือ sign stimulus หมายถึง ตัวกระตุ้นปลดปล่อย
คือ ตัวกระตุ้นที่มีความเหมาะสมกับความพร้อมของร่างกายขณะนั้น ให้
สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมา ดังนั้นสัตว์จะแสดงพฤติกรรมที่เฉพาะ
ตัวต่อตัวกระตุ้นที่มีลักษณะเฉพาะหนึ่งๆเท่านั้น ซึ่งอาจเป็นเสียง สี รูป
ร่าง เช่น นก ทเลชนิดหนึ่งจะเลือกกกไข่ที่มีขนาดใหญ่ ปลา
stickleback ตัวผู้จะเลือกโจมตีปลาหรือวัตถุใดๆ ที่มีสีแดง
chemical signal เช่น pheromone เป็น releaser สำาหรับ
พวก social insect ในคนเราขณะหนึ่งๆ จะได้รับสิ่งเร้าหลายอย่าง
พร้อมกันแต่สิ่งเร้าที่เป็นตัวกระตุ้นปลดปล่อยเท่านั้นที่คนจะเลือกตอบ
สนอง กรณีความหิวเป็น motivation อาหารจะเป็น releaser เป็นต้น
การตอบสนองต่อ sign stimulus ในสัตว์ชั้นตำ่าเป็น innate behavior
ส่วนในสัตว์ชั้นสูงจะมี learning behavior เกี่ยวข้องด้วย
biological clock ทำาให้เกิดเป็นพฤติกรรมที่มีจังหวะเวลา
(rhythmic behavior) ในช่วงเวลาที่แน่นอนซำ้าๆกัน วงจรจังหวะเวลา
อาจสั้น เช่น หนูทดลองจะกินอาหารทุกๆ 2 ชม. หรือเป็นวันซึ่งเป็นการ
ตอบสนองต่อช่วงกลางวันกลางคืนในวงจร 23-25 ชม. โดยเรียกว่า
circadian rhythm หรืออาจยาวเป็นปี เช่น การอพยพของนกเกิดขึ้นปี
ละครั้ง ความสามารถในการตอบสนองต่อ photoperiod ขึ้นกับสิ่งมีชีวิต
นั้นจะต้องมีนาฬิกาชีวิต หรือ biological clock ซึ่งเป็นกลไกลที่เกิดขึ้น
ภายในร่างกาย (internal timer) ที่ยังไม่รู้กลไกแน่นอน เป็นกลไก
กำาหนดจังหวะชีวิตภายในร่างกาย กระตุ้นให้แสดงพฤติกรรมในเวลา
นั้นๆ
orientation หมายถึง สัตว์จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อ
ปัจจัยภายนอกอย่างเหมาะสมเพื่อการดำารงชีพ โดยการวางตัวอย่าง
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ดังนั้นพฤติกรรมตอบสนองต่อปัจจัย
4
ภายนอกอย่างเหมาะสมเพื่อการดำารงชีพ โดยการวางสิ่งเร้า เช่น ผีเสื้อ
บินต้านกระแสลมไปตามกลิ่นของเกสรดอกไม้ เป็นพฤติกรรมเพื่อการ
หาอาหาร การที่ปลาว่ายนำ้าให้หลังตั้งฉากกับแสงอาทิตย์ เป็นพฤติกรรม
เพื่อหลบเลี่ยงศัตรูที่อยู่ในระดับตำ่า
Navigation หมายถึง การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ในช่วง
เวลาหนึ่ง โดยอาศัยปัจจับภายนอกเป็นตัวนำาทาง เช่นการอพยพของ
แมลง นก และ ปลาวาฬ โดยอาศัยดาวบนทองฟ้า หรือ ดวงอาทิตย์ หรือ
ดวงจันทร์ หรือ สนามแม่เหล็กโลกเป็นตัวนำาทาง เป็นต้น
พฤติกรรมจำาแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด (innate behavior) เป็น
พฤติกรรมแบบง่ายๆ และเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ตอบสนองสิ่งเร้า
ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แสง เสียง สารเคมี และแรงดึงดูดของโลก
เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นเป้นช่วงเวลาสมำ่าเสมอ เช่น กลางวัน กลางคืน และ
การเปลี่ยนฤดูกาลด้วยการเคลื่อนไหวเพื่อปรับตำาแหน่ง ให้อยู่ในสภาพ
ที่เหมาะสม หรือหลีกเลี่ยงสภาพที่ไม่เหมาะสม ความสามารถในการ
แสดง พฤติกรรมพื้นฐาน และลักษณะสำาคัญดังนี้
- เป็นพฤติกรรมที่ถ่ายทอดทางพฤติกรรมจะแสดงออก
มาได้ ต้องขึ้น ยีน (gene) เป็นสำาคัญ
- สิ่งมีชีวิตไม่ต้องเรียนรู้มาก่อนก็สามารถแสดง
พฤติกรรมนี้ได้
- พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด บางพฤติกรรมจะ
แสดงออกมาได้ ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อม ทางร่างกาย เช่น นก แรกเกิด
ไม่สามารถหัดบินได้ จะบินได้ต่อเมื่เจริญเติบโต แข็งแรงพอที่จะบินได้
ดังนั้น พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดอาจจะแสดงออกในตอนหลังได้
- แบบแผนของพฤติกรรมที่แสดงออกมีลักษณะแน่นอน
เฉพาะตัวในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ทุกตัว จะแสดงเหมือนกันหมด เช่น
การที่แมลงพวกสร้างรัง หรือไก่ตัวผู้เคลื่อนไหวขณะทำาการเกี้ยวตัวเมีย
แต่อย่างไรก็ดีพฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดนี้สามารถถูกพัฒนาให้ดีขึ้น
ด้วยการเรียนรู้
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดมีความสำาคัญมาก ในพวกที่ระบบ
ประสาทยังไม่เจริญดีหรือยังไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง เช่น โปรโตซัว
ส่วนสิ่งมีชีวิตชั้นสูงที่มีระบบประสาทส่วนกลางเจริญมากๆ พฤติกรรมนี้
จะมีความสำาคัญนี้น้อยลง
แบบแผนของพฤติกรรม พร้อมที่จะแสดงออกได้ทันที เมื่อได้
รับสิ่งกระตุ้นง่ายๆ เท่านั้น แต่ถ้าสิ่งกระตุ้นที่ซับซ้อนสัตว์จะนิ่งเฉยไม่
แสดงพฤติกรรม หรืออาจตอบสนองเฉพาะบางส่วน และการแสดงออก
5
ของพฤติกรรมจะทำำได้อย่ำงเต็มที่และแดงออกได้ทันที่ที่สัตว์คลอดหรือ
ฟักออกจำกไข่ (ยกเว้นพฤติกรรมกำรเกี้ยวของสัตว์และกำรบินของนกที่
ต้องอกศัยสภำวะพร้อมของร่ำงกำยด้ำนต่ำงๆ) เช่น กรณีของลูกไก่เมื่อ
ฟักออกจำกไข่ก็เดินได้ทันที กำรจิกเมล็ดข้ำว กำรขุดดินเพื่อหำอำหำร
กำรดื่มนำ้ำและพฤติกรรมกำรป้องกันตัว สำมำรถแสดง พฤติกรรมได้โดย
ไม่ต้องเรียนรู้
พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิด เป็นพฤติกรรมแบบง่ำยๆ และเป็น
ลักษณะเฉพำะตัวที่สัตว์ใช้ในกำรตอบสนองสิ่งเร้ำชนิดใดชนิดหนึ่ง เพื่อ
หำสภำวะแวดล้อมที่เหมำะสม หรือหลีกเลี่ยงสภำวะที่ไม่เหมำะสม
(orientation) พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิดสำมำรถแบงเป็น
Kinisis หมำยถึง กำรเคลื่อนที่เข้ำหำ หรือหนีจำกสิ่งเร้ำ
อย่ำงไม่มีทิศทำงแน่นอน (random) พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้น
ตำ่ำ เช่น พำรำมีเซียม ซึ่งหน่วนรับควำมรู้สึกไม่มีประสิทธิภำพ และระยย
ประสำทไม่เจริญดี ปฏิกิริยำตอบสนองของพำรำมีเซียมต่อควำมร้อน ถ้ำ
กำรเคลื่อนที่ 1 รอบนี้สำมำรถให้พ้นจำกที่ร้อนได้ ก็จะแสดงกำร
เคลื่อนที่แบบเดิมนี้ซ้ำอีกจนกว่ำจะพบบริเวณที่มีอุณหภูมิตำ่ำ ก็จะหยุด
แสดงพฤติกรรมกำรเคลื่อนที่นี้
Taxis หมำยถึง กำรเคลื่อนที่เข้ำหำ หรือหนีจำกสิ่งเร้ำอย่ำง
มีทิศทำงแน่นอนไม่วกวน หรือ ถ้ำวกวนก็เป็นแบบมีสมมำรถ
(symmetry) พบในสัตว์ที่มีหน่วยรับควำมรู้สึกเจริญดีพอสำมำรถรับรู้สิ่ง
เร้ำที่อยู่ไกลออกไปได้ พฤติกรรมนี้จะทำำให้เกิดกำรรวมกลุ่มได้ เช่น
แมลงเม่ำบินเข้ำกองไฟ กำรเคลื่อนที่แบบแทกซิสแบ่งได้เป็น 2 แบบ
กำรเคลื่อนที่เข้ำหำสิ่งกระตุ้น และกำรเคลื่อนที่หนีสิ่งกระตุ้น
Reflex เป็นพฤติกรรมในรูปแบบที่ง่ำยที่สุด เป็นกำรตอบ
สนองแบบตรงไปตรงมำและเหมือนๆกันทุกครั้ง (stereotyped
response) หรือ เรียกว่ำ fixed action pattern (FAP) ซึ่งเป็นกำร
ทำำงำนของวงจรประสำทอย่ำงง่ำยที่รับกำรกระตุ้นจำกสิ่งเร้ำ แล้วส่งไป
ควบคุมหน่วยปฏิบัติงำน เช่น กล้ำมเนื้อโดยตรง เป็นกำรเคลื่อนไหวของ
ร่ำงกำยบำงส่วน และเกิดเร็วมำก เช่น กำรกระพริบตำเมื่อมีสิ่งแปลก
ปลอมจะเข้ำตำ รีเฟล็กนี้ต่ำงจำกไคเนซิสและแทกซิสเนื่องจำกไม่มีกำร
เคลื่อนที่ของทั้งตัว แต่เป็นพฤติกรรมที่มีรูปแบบเหมือนกันทุกครั้งที่เกิด
รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมสำำคัญอันหนึ่งช่วยให้สัตว์รอดพ้นจำกอันตรำย
เป็นปฏิกิริยำที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำที่ไปกระตุ้นทันที เพื่อหลีกเลี่ยง
อันตรำย
พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ต่อเนี่อง (chain of reflex) เป็น
พฤติกรรมที่มีควำมซับซ้อนซึ่งมีมำแต่กำำเนิดไม่ต้องมีกำรเรียนรู้มำก่อน
ประกอบด้วยพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์หลำยๆพฤติกรรม มีแบบแผนที่
6
แน่นอนมักไม่เปลี่ยแปลงและเป็นลักษณะเฉพำะของ species เช่น กำร
ดูดนมของแม่ของเด็กอ่อน กำรฟักไข่ กำรที่แม่นกป้อนอำหำรลูกนก
กำรบินได้ของลูกนกเมื่อมีควำมพร้อมทำงร่ำงกำย กำรสร้ำงรังของนก
กำรชักใยของแม่งมุม กำรเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ และกำทำำเสียงกุ๊กๆของ
ไก่ เป็นต้น และจำกกำรทดลองพบว่ำ courtship behavior ของแมงมุม
ตัวผู้ที่มีต่อแมงมุมตัวเมียเป็นพฤติกรรมแบบต่อเนื่อง
2 พฤติกรรมที่เกิดขจำกกำรเรียนรู้ ( learning behavior ) หมำย
ถึง กำรเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมซึ่งเกิดขึ้นได้โดยประสบกำรณ์ใน
อดีต แต่มิใช่เนื่องมำจำกอำยุมำกขึ้น สัตว์แต่ละชนิดมีควำมสำมำถใน
กำรเรียนรุ้ได้ไม่เท่ำกัน แบ่งเป็น 5 ประเภท
2.1 ควำมเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมกำรตอบ
สนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มีควำมหมำยต่อกำรดำำรงชีวิตในที่สุดสัตว์จะ
ค่อยลดพฤติกรรมลงทั้นที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่
เป็นพฤติกรรมกำรเรียนรู้แบบที่ง่ำยที่สุด คือ กำรเรียนรู้
ที่จะไม่สนใจต่อสิ่งเร้ำที่ไม่มีผลเป็นรำงวัล หรือ กำรลงโทษ ดังนั้นกำร
ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำนั้นก็จะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ เมื่อเวลำผ่ำนไป
(เป็นกำรตอบสนอง ของสัตว์ต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่มีผลอะไรสำำหรับที่มันเกิด
ขึ้นซำ้ำซำก) โดยกำรค่อยๆลดพฤติกรรมกำรตอบสนองลงจนในที่สุด
แม้ว่ำจะยังมีตัวกระตุ้นอยู่ในสัตว์นั้นก็ไม่ตอบสนองเลย
เป็นพฤติกรรมที่เพิกเฉยต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่ให้คุณให้
โทษ กำรเรียนรู้แบบนี้ช่วยให้สัตว์ไม่เสียพลังงำนในกำรตอบสนองต่อ
สิ่งกระตุ้นที่ไม่มีควำมสำำคัญในกำรดำำรงชีพ เช่น ดอกไม้ทะเล (Sea
Anemone) มีระบบประสำทเป็นร่ำงแห ถ้ำเรำแตะหนวดมันเบำๆ พบว่ำ
มันจะหุบหนวดแล้วค่อยๆยืดหนวดออกอย่ำงช้ำๆแต่ถ้ำแตะหนวดมัน
บ่อยๆ ดอกไม่ทะเลจะไม่หุบหนวดอีกต่อไป คนที่ย้ำยบ้ำนไปอยู่ริมถนน
พบว่ำนอนไม่หลับเพรำะเสียงดังอึกทึก แต่เมื่ออำศำยอยู่ไปนำนๆ ระบบ
ประสำทจะมีกำรปรับตัว โดยไม่ตอบสนองต่อเสียงอึกทึกจึงทำำให้นอน
หลับได้แม้มีเสียงดังเช่นเดิม ลูกนกนำงนวลในช่วงแรกมีกำรตอบสนอง
ต่อเงำสีดำำที่พำดผ่ำน เมื่อเรียนรู้ว่ำเงำที่มีลักษณะแบบ A ( นกคอสั้น
ตัวแทนของเหยี่ยว ) เท่ำนั้นที่อันตรำย มันก็จะลดกำรตอบสนองต่อเงำ
แบบ B (นกคอยำวตัวแทนของนกนำงนวลด้วยกันเอง ) ซึ่งไม่เป็น
อันตรำยต่อมัน
2.2 กำรเรียนรู้แบบฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์
มักติดตำมวัตถุที่มันมองเห็นหรือได้ยินในช่วงสำำคัญ (Critical Period)
หลังเกิดใหม่ๆ พฤติกรรมเช่นนี้เห็นได้ชัดเจนในสัตว์ปีก พบเสมอว่ำ
ลูกไก่หรือลูกเป็ดมักจะเดินตำมแม่ทันทีหลังจำกฟักออกจำกไข่ ถ้ำได้พบ
7
แม่ในช่วงสำำคัญ คือ ช่วง 13-16 ชม. หลังจำกฟักจำกไข่ เป็นพฤติกรรม
กำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลำหนึ่งของชีวิตสัตว์ และเกิดขึ้นในช่วง
เวลำหนึ่งของชีวิต (Critical Period) เช่น ระยะแรกๆ หลังจำกเกิดและ
จะเกิดขึ้นในระยะเวลำสั้นมำก ถ้ำเลยระยะ Critical Period แล้วกำร
เรียนรู้ก็จะไม่ดีพฤติกรรมกำรฝังใจที่เกิดขึ้นอำจจำำไปตลอดชีวิต หรือ
ฝังใจเพียงระยะหนึ่ง ตัวอย่ำงพฤติกรรมที่เกิดจำกกำรเรียนรู้เช่น
- กำรเดินตำมวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ลูกสัตว์
เช่น ลูกนก ลูกห่ำน ลูกวัว
- กำรฝังใจต่อกลิ่นของพืชชนิดที่แมลงหวี่วักออกจำก
ไข่ที่แมลงหวี่วำงไว้
- กำรฝังใจที่เกิดจำกกลิ่น ทำำให้ปลำแซลมอน ว่ำยนำ้ำ
กลับไปวำงไข่ยังบริเวณนำ้ำจืดที่มันเคยฟักออกมำ
- กำรเดินไปกอดวัตถุที่อ่อนนุ่มและมีขวดนมของลูกลิง
ชิมแพนซี
ตัวอย่ำงกำรศึกษำที่กล่ำวถึงมำกคือ กำรศึกษำมำกใน
พวกนก โดย Konrad Lorensz ได้ศึกษำ parental Imprinting ลูกนก
แรกเกิดจะมีควำมฝังใจและคอยติดตำมวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียง
ได้ ซึ่งมันเห็นครั้งแรกหลังฟักออกจำกไข่ (จึงเป็นพฤติกรรมเพื่อ
survival) สำำหรับลูกห่ำนพฤติกรรมนี้มี Critical Period อยู่ในช่วง 36
ชม. หลังฟักออกจำกไข่
นอกจำกพบนั้นพบว่ำ sound pattern ของนกก็เป็น
Imprinting behavior โดยมี Critical Period อยู่ในช่วง 10-15 วัน ฟัก
ออกจำกไข่ กำรร้องเพลงของนก เป็นพฤติกรรมกำรเรียนรู้ และ bird
song ของนกแต่ละ species มีแบบฉบับเฉพำะตัว จำกกำรศึกษำรูป
แบบของเสียงร้องเพลงของนกแก้วตัวผู้ชนิดหนึ่ง ที่อยู่ป่ำตำมธรรมชำติ
พบว่ำจะแตกต่ำงจำกพวกที่นำำมำเลี้ยงตั้งแต่เกิดโดยไม่เคยได้ยินเสียง
ร้องเพลงของพวกเดียวกันมำก่อนเลย
2.3 กำรเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (conditioning หรือ
associate stimulus) หมำยถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้ำสิ่งหนึ่ง
เข้ำไปแทนที่ สิ่งเร้ำเดิม ในกำรชักนำำให้เกิดกำรตอบสนองชนิดเดียวกัน
เช่น พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำ 2 ชนิด คือสิ่งเร้ำที่แท้จริง
(unconditioned stimulus) และสิ่งเร้ำไม่แท้จริง (conditioned
stimulus) ติดต่อกันเป็นเวลำนำน จนกระทั่งผลที่สุด แม้จะไม่มีสิ่งเร้ำ
ที่แท้จริงอยู่ด้วย เฉพำะสิ่งเร้ำไม่แทจริงเพียงอย่ำงเดียวก็สำมำรถกระตุ้น
ใน สัตว์นั้นๆตอบสนองได้

Contenu connexe

Tendances

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
Kittiya GenEnjoy
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
Wan Ngamwongwan
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 

Tendances (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 

En vedette

Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
Ramlan Ruspan
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
สำเร็จ นางสีคุณ
 
моя читающая семья-
 моя читающая семья- моя читающая семья-
моя читающая семья-
Марина Бовт
 
Tinderbox slideshow
Tinderbox slideshowTinderbox slideshow
Tinderbox slideshow
LLameta
 
บท1
บท1บท1
บท1
bank_b
 
Врожденные нарушения ритма сердца
Врожденные нарушения ритма сердцаВрожденные нарушения ритма сердца
Врожденные нарушения ритма сердца
andrii68
 
บท5
บท5บท5
บท5
bank_b
 
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวีแบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 

En vedette (20)

Leaflet of the Comenius Project - Czech Republic
Leaflet of the Comenius Project - Czech RepublicLeaflet of the Comenius Project - Czech Republic
Leaflet of the Comenius Project - Czech Republic
 
Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
Ahli jawatan kuasa hal ehwal murid 2011
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวอิสระชาวต่างชาติที่มีต่อวัดพระเชต...
 
Hernia inguinal con tension
Hernia inguinal con tensionHernia inguinal con tension
Hernia inguinal con tension
 
Truongquocte.ifno_Nhân vật lịch sử & giai thoại
Truongquocte.ifno_Nhân vật lịch sử & giai thoạiTruongquocte.ifno_Nhân vật lịch sử & giai thoại
Truongquocte.ifno_Nhân vật lịch sử & giai thoại
 
Natural User Interfaces as a powerful tool for courseware design in Physical ...
Natural User Interfaces as a powerful tool for courseware design in Physical ...Natural User Interfaces as a powerful tool for courseware design in Physical ...
Natural User Interfaces as a powerful tool for courseware design in Physical ...
 
Truongquocte.info_Giáo trình bảo trì máy tính & cài đặt phần mềm
Truongquocte.info_Giáo trình bảo trì máy tính & cài đặt phần mềmTruongquocte.info_Giáo trình bảo trì máy tính & cài đặt phần mềm
Truongquocte.info_Giáo trình bảo trì máy tính & cài đặt phần mềm
 
моя читающая семья-
 моя читающая семья- моя читающая семья-
моя читающая семья-
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Tinderbox slideshow
Tinderbox slideshowTinderbox slideshow
Tinderbox slideshow
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
Врожденные нарушения ритма сердца
Врожденные нарушения ритма сердцаВрожденные нарушения ритма сердца
Врожденные нарушения ритма сердца
 
บท5
บท5บท5
บท5
 
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวีแบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
แบบสอบถาม โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี
 
Bln merdeka 2013
Bln merdeka 2013Bln merdeka 2013
Bln merdeka 2013
 
Корпоративные открытки по индивидуальному дизайну
Корпоративные открытки по индивидуальному дизайнуКорпоративные открытки по индивидуальному дизайну
Корпоративные открытки по индивидуальному дизайну
 
RMTeK Environmental Overview
RMTeK Environmental OverviewRMTeK Environmental Overview
RMTeK Environmental Overview
 
Truongquocte.info bo mon-phan_tich_tai_chinh-bai2-3
Truongquocte.info bo mon-phan_tich_tai_chinh-bai2-3Truongquocte.info bo mon-phan_tich_tai_chinh-bai2-3
Truongquocte.info bo mon-phan_tich_tai_chinh-bai2-3
 
Manometria
ManometriaManometria
Manometria
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 

Similaire à ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน

พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
Nokko Bio
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
supreechafkk
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
Abhai Lawan
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
Wichai Likitponrak
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
Wichai Likitponrak
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
Pattiya Lasutti
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
supphawan
 

Similaire à ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน (20)

Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 

ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน

  • 1. 1 ใบงานเรื่อง พฤติกรรม ของสิ่งมีชีวิต รายวิชา ชีววิทยา 2 ผู้สอนครูสำาเร็จ นางสีคุณ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษา พฤติกรรม โดยวิธีการสังเกตเป็นระยะเวลานาน แล้วเก็บรวบรวมข้อมูล ทดลอง และสรุปผลออกมาเพื่อพยายามอธิบายพฤติกรรมต่างๆของสัตว์ เพื่อนำาประโยช์นมาใช้ไม่มากก็น้อย จึงมีการศึกษาพฤติกรรมในหลาย แง่มุม ได้แก่ ศึกษาในแง่ระบบนิเวศ วิวัฒนาการในหลายแง่มุม ได้แก่ ศึกษาในแง่ระบบนิเวศ วิวัฒนาการ อนุกรมวิธาน พันธุกรรม สรีรวิทยา และแง่จิตวิทยา Ethology คือ การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ และกลไกที่สัตว์ แสดงออกในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติของสัตว์นั้น ความหมายของพฤติกรรม พฤติกรรม (Behavior) คือกิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกเพื่อตอบ สนองต่อสิ่งเร้า อันเป็นไปอย่างเหมาะสมเพื่อการอยู่รอดของชีวิต ให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป พฤติกรรมอาจหมายถึง กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงอออกเพื่อตอบ สนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น ซึ่งอาจเป็นสิ่งแวดล้อมภายนอกที่ เปลี่ยนแปลงไป หรือจากการกระตุ้นจากภายในร่างกายเอง สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย (External stimulus) ได้แก่ ระดับอุณหภูมิ แสงสว่าง เสียง สารเคมี วัตถุ ความชื้น กลิ่น ความดัน สารเคมี และ แรงดึงดูดของโลก เป็นต้น สิ่งเร้าภายในร่างกาย (Internal stimulus) ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง สรีระที่เกิดขึ้นในร่างกาย เช่น ระดับออกซิเจนในเลือด ฮอร์โมน หรือ ความรัก ความหิว ความคิด ความโกรธ ความอิจฉา ฯลฯ กิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออก เพื่อการตอบโต้สิ่งเร้าอาจเกิดในรูปของ การกิน การนอน การหาอาหาร การเจริญเติบโต การช่วยเหลือ การ ต่อสู้ การช่วยเหลือ เป็นต้น กิริยาท่แสดงออกมานี้อาจเป็นเพียงการ เคลื่อนไหวของเนื้อเยื่อบางส่วน หรือทั้งตัวก็ได้ วัตถุประสงค์ของการแสดงพฤติกรรม เพื่อความอยู่รอด (survival) เช่น พฤติกรรมการหาอาหาร การล่าเหยื่อ การหลบหนีศัตรู และการหาที่อยู่อาศัยเป็นต้น เพื่อสืบพันธุ์ (reproduction) เช่น พฤติกรรมการเกี้ยวพารา สี (courtship behavior) สารเหตุของการแสดงพฤติกรรม
  • 2. 2 Proximate cause เป็นเหตุโดยตรงที่เกินขึ้นขณะนั้น อัน เนื่องมาจากสภาวะทางสรีระวิทยาทางร่างกายขณะนั้น เมื่อร่างกายได้ รับสิ่งเร้า ก็จะเกิดปฏิกิริยาตอยสนองออกมา Ultimate cause เป็นสาเหตุรากฐานที่เกิดจากวิวัฒนาการ มายาวนาน ได้แก่ natural selection ( ตามทฤษฏีวิวัฒนาการของ ชาร์ล ดาร์วิน ) พฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อ มีสิ่งเร้า (stimulus) มากระตุ้น ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมกับความ พร้อมภายในร่างกายของสัตว์ทำาให้สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมา เรียกได้ว่า ตัวกระตุ้นปลดปล่อย (releasing stimulus) มีเหตุจูงใจ (motivation) มีกลไกการปลดปล่อยพฤติกรรม (releasing mechanism) ซึ่งเป็นวงจรกระแสประสาทซึ่งไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อง ร่างกายของสัตว์ต้องมี sensory receptor ที่สามารถรับการกระตุ้นจาก สิ่งเร้านั้นได้ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีข้อจำากัดของ sensory receptor ที่ แตกต่างกัน ดังนั้นพฤติกรรมที่แตกต่างกันของสัตว์ ขึ้นอยู่กับ วิวัฒนาการความสามารถของระบบรับความรู้สึก (sensory system) ระบบควบคุม (control system) คือ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ และหน่วยปฏิบัติงาน (effector) ของสัตว์ชนิดนั้น สิ่งกำาหนดพฤติกรรม Gene เช่น พันธุกรรมเป็นตัวกำาหนดการสร้างระบบประสาท ได้แก่ พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด (Inherited behavior) หรือ innate behavior ไม่มีการตอบสนองแบบตรงไปตรงมา และเหมือนๆกันทุกครั้ง (stereotype) พบในสัตว์ชั้นตำ่าพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ (reflex) และรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) หรือสัญชาตญาณ (instinct) สิ่งแวดล้อม เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้หรือ learning behavior ซึ่งความสามารถในการเรียนรู้จะแตกต่างกัน ตัวอย่างการศึกษาว่า gene เป็นพื้นฐานที่กำาหนดพฤติกรรมของสัตว์ ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมการสร้างรังของนกแก้ว lovebird ซึ่งจะสร้าง รังเป็นรูปถ้วยแบบต่างๆ ความแตกต่างของพฤติกรรมการสร้างรงของ นก 2 species นี้ขึ้นกับ gene แต่อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมก็ยังสามารถ ดัดแปลงได้บ้างจากประสบการณ์ ในขณะที่บางพฤติกรรมก็ถูกกำาหนด ไว้อย่างคงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยประสบการณ์
  • 3. 3 การที่สัตว์แสดงพฤติกรรมใดๆออกมา มีเหตุปัจจัยต่างๆ ที่มาเกี่ยวข้อง เช่น cost and benefit คือ สัตว์จะเลือกแสดงพฤติกรรมที่มันจะ ได้ประโยช์นคุ้มกับที่จะเสี่ยง จึงเป็น learning behavior ผลอันนี้ทำาให้ เกิด natural selection เช่น นกนางนวลที่ฟักไข่ เมื่อลูกนกฟักออกมา แล้วรอจนตัวแห้งมีผลปกปุย แม่นกจึงบินไปคาบเปลือกไข่ไปทิ้งนอกรัง เพื่อไม่ให้เป็นเป้าสายตาของนกกา ที่จะมากินลูกนกหรือไข่ในรัง motivation คือ เหตุจูงใจ หมายถึง ความบกพร่องของ ร่างกายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภายในร่างกาย ซึ่งจะผลักดัน ให้สัตว์แสดงพฤติกรรมออกา เช่น ความหิว ความกระหาย ความ ต้องการทางเพศ และการหลบหนี ดังนั้น จึงเป็นผลจากสภาวะทาง สรีรวิทยาของร่างกายตลอดจนการเคยมีประสบการณ์ releaser หรือ sign stimulus หมายถึง ตัวกระตุ้นปลดปล่อย คือ ตัวกระตุ้นที่มีความเหมาะสมกับความพร้อมของร่างกายขณะนั้น ให้ สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมา ดังนั้นสัตว์จะแสดงพฤติกรรมที่เฉพาะ ตัวต่อตัวกระตุ้นที่มีลักษณะเฉพาะหนึ่งๆเท่านั้น ซึ่งอาจเป็นเสียง สี รูป ร่าง เช่น นก ทเลชนิดหนึ่งจะเลือกกกไข่ที่มีขนาดใหญ่ ปลา stickleback ตัวผู้จะเลือกโจมตีปลาหรือวัตถุใดๆ ที่มีสีแดง chemical signal เช่น pheromone เป็น releaser สำาหรับ พวก social insect ในคนเราขณะหนึ่งๆ จะได้รับสิ่งเร้าหลายอย่าง พร้อมกันแต่สิ่งเร้าที่เป็นตัวกระตุ้นปลดปล่อยเท่านั้นที่คนจะเลือกตอบ สนอง กรณีความหิวเป็น motivation อาหารจะเป็น releaser เป็นต้น การตอบสนองต่อ sign stimulus ในสัตว์ชั้นตำ่าเป็น innate behavior ส่วนในสัตว์ชั้นสูงจะมี learning behavior เกี่ยวข้องด้วย biological clock ทำาให้เกิดเป็นพฤติกรรมที่มีจังหวะเวลา (rhythmic behavior) ในช่วงเวลาที่แน่นอนซำ้าๆกัน วงจรจังหวะเวลา อาจสั้น เช่น หนูทดลองจะกินอาหารทุกๆ 2 ชม. หรือเป็นวันซึ่งเป็นการ ตอบสนองต่อช่วงกลางวันกลางคืนในวงจร 23-25 ชม. โดยเรียกว่า circadian rhythm หรืออาจยาวเป็นปี เช่น การอพยพของนกเกิดขึ้นปี ละครั้ง ความสามารถในการตอบสนองต่อ photoperiod ขึ้นกับสิ่งมีชีวิต นั้นจะต้องมีนาฬิกาชีวิต หรือ biological clock ซึ่งเป็นกลไกลที่เกิดขึ้น ภายในร่างกาย (internal timer) ที่ยังไม่รู้กลไกแน่นอน เป็นกลไก กำาหนดจังหวะชีวิตภายในร่างกาย กระตุ้นให้แสดงพฤติกรรมในเวลา นั้นๆ orientation หมายถึง สัตว์จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อ ปัจจัยภายนอกอย่างเหมาะสมเพื่อการดำารงชีพ โดยการวางตัวอย่าง สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ดังนั้นพฤติกรรมตอบสนองต่อปัจจัย
  • 4. 4 ภายนอกอย่างเหมาะสมเพื่อการดำารงชีพ โดยการวางสิ่งเร้า เช่น ผีเสื้อ บินต้านกระแสลมไปตามกลิ่นของเกสรดอกไม้ เป็นพฤติกรรมเพื่อการ หาอาหาร การที่ปลาว่ายนำ้าให้หลังตั้งฉากกับแสงอาทิตย์ เป็นพฤติกรรม เพื่อหลบเลี่ยงศัตรูที่อยู่ในระดับตำ่า Navigation หมายถึง การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ในช่วง เวลาหนึ่ง โดยอาศัยปัจจับภายนอกเป็นตัวนำาทาง เช่นการอพยพของ แมลง นก และ ปลาวาฬ โดยอาศัยดาวบนทองฟ้า หรือ ดวงอาทิตย์ หรือ ดวงจันทร์ หรือ สนามแม่เหล็กโลกเป็นตัวนำาทาง เป็นต้น พฤติกรรมจำาแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด (innate behavior) เป็น พฤติกรรมแบบง่ายๆ และเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ตอบสนองสิ่งเร้า ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แสง เสียง สารเคมี และแรงดึงดูดของโลก เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นเป้นช่วงเวลาสมำ่าเสมอ เช่น กลางวัน กลางคืน และ การเปลี่ยนฤดูกาลด้วยการเคลื่อนไหวเพื่อปรับตำาแหน่ง ให้อยู่ในสภาพ ที่เหมาะสม หรือหลีกเลี่ยงสภาพที่ไม่เหมาะสม ความสามารถในการ แสดง พฤติกรรมพื้นฐาน และลักษณะสำาคัญดังนี้ - เป็นพฤติกรรมที่ถ่ายทอดทางพฤติกรรมจะแสดงออก มาได้ ต้องขึ้น ยีน (gene) เป็นสำาคัญ - สิ่งมีชีวิตไม่ต้องเรียนรู้มาก่อนก็สามารถแสดง พฤติกรรมนี้ได้ - พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิด บางพฤติกรรมจะ แสดงออกมาได้ ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อม ทางร่างกาย เช่น นก แรกเกิด ไม่สามารถหัดบินได้ จะบินได้ต่อเมื่เจริญเติบโต แข็งแรงพอที่จะบินได้ ดังนั้น พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดอาจจะแสดงออกในตอนหลังได้ - แบบแผนของพฤติกรรมที่แสดงออกมีลักษณะแน่นอน เฉพาะตัวในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ทุกตัว จะแสดงเหมือนกันหมด เช่น การที่แมลงพวกสร้างรัง หรือไก่ตัวผู้เคลื่อนไหวขณะทำาการเกี้ยวตัวเมีย แต่อย่างไรก็ดีพฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดนี้สามารถถูกพัฒนาให้ดีขึ้น ด้วยการเรียนรู้ พฤติกรรมที่มีมาแต่กำาเนิดมีความสำาคัญมาก ในพวกที่ระบบ ประสาทยังไม่เจริญดีหรือยังไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง เช่น โปรโตซัว ส่วนสิ่งมีชีวิตชั้นสูงที่มีระบบประสาทส่วนกลางเจริญมากๆ พฤติกรรมนี้ จะมีความสำาคัญนี้น้อยลง แบบแผนของพฤติกรรม พร้อมที่จะแสดงออกได้ทันที เมื่อได้ รับสิ่งกระตุ้นง่ายๆ เท่านั้น แต่ถ้าสิ่งกระตุ้นที่ซับซ้อนสัตว์จะนิ่งเฉยไม่ แสดงพฤติกรรม หรืออาจตอบสนองเฉพาะบางส่วน และการแสดงออก
  • 5. 5 ของพฤติกรรมจะทำำได้อย่ำงเต็มที่และแดงออกได้ทันที่ที่สัตว์คลอดหรือ ฟักออกจำกไข่ (ยกเว้นพฤติกรรมกำรเกี้ยวของสัตว์และกำรบินของนกที่ ต้องอกศัยสภำวะพร้อมของร่ำงกำยด้ำนต่ำงๆ) เช่น กรณีของลูกไก่เมื่อ ฟักออกจำกไข่ก็เดินได้ทันที กำรจิกเมล็ดข้ำว กำรขุดดินเพื่อหำอำหำร กำรดื่มนำ้ำและพฤติกรรมกำรป้องกันตัว สำมำรถแสดง พฤติกรรมได้โดย ไม่ต้องเรียนรู้ พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิด เป็นพฤติกรรมแบบง่ำยๆ และเป็น ลักษณะเฉพำะตัวที่สัตว์ใช้ในกำรตอบสนองสิ่งเร้ำชนิดใดชนิดหนึ่ง เพื่อ หำสภำวะแวดล้อมที่เหมำะสม หรือหลีกเลี่ยงสภำวะที่ไม่เหมำะสม (orientation) พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิดสำมำรถแบงเป็น Kinisis หมำยถึง กำรเคลื่อนที่เข้ำหำ หรือหนีจำกสิ่งเร้ำ อย่ำงไม่มีทิศทำงแน่นอน (random) พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้น ตำ่ำ เช่น พำรำมีเซียม ซึ่งหน่วนรับควำมรู้สึกไม่มีประสิทธิภำพ และระยย ประสำทไม่เจริญดี ปฏิกิริยำตอบสนองของพำรำมีเซียมต่อควำมร้อน ถ้ำ กำรเคลื่อนที่ 1 รอบนี้สำมำรถให้พ้นจำกที่ร้อนได้ ก็จะแสดงกำร เคลื่อนที่แบบเดิมนี้ซ้ำอีกจนกว่ำจะพบบริเวณที่มีอุณหภูมิตำ่ำ ก็จะหยุด แสดงพฤติกรรมกำรเคลื่อนที่นี้ Taxis หมำยถึง กำรเคลื่อนที่เข้ำหำ หรือหนีจำกสิ่งเร้ำอย่ำง มีทิศทำงแน่นอนไม่วกวน หรือ ถ้ำวกวนก็เป็นแบบมีสมมำรถ (symmetry) พบในสัตว์ที่มีหน่วยรับควำมรู้สึกเจริญดีพอสำมำรถรับรู้สิ่ง เร้ำที่อยู่ไกลออกไปได้ พฤติกรรมนี้จะทำำให้เกิดกำรรวมกลุ่มได้ เช่น แมลงเม่ำบินเข้ำกองไฟ กำรเคลื่อนที่แบบแทกซิสแบ่งได้เป็น 2 แบบ กำรเคลื่อนที่เข้ำหำสิ่งกระตุ้น และกำรเคลื่อนที่หนีสิ่งกระตุ้น Reflex เป็นพฤติกรรมในรูปแบบที่ง่ำยที่สุด เป็นกำรตอบ สนองแบบตรงไปตรงมำและเหมือนๆกันทุกครั้ง (stereotyped response) หรือ เรียกว่ำ fixed action pattern (FAP) ซึ่งเป็นกำร ทำำงำนของวงจรประสำทอย่ำงง่ำยที่รับกำรกระตุ้นจำกสิ่งเร้ำ แล้วส่งไป ควบคุมหน่วยปฏิบัติงำน เช่น กล้ำมเนื้อโดยตรง เป็นกำรเคลื่อนไหวของ ร่ำงกำยบำงส่วน และเกิดเร็วมำก เช่น กำรกระพริบตำเมื่อมีสิ่งแปลก ปลอมจะเข้ำตำ รีเฟล็กนี้ต่ำงจำกไคเนซิสและแทกซิสเนื่องจำกไม่มีกำร เคลื่อนที่ของทั้งตัว แต่เป็นพฤติกรรมที่มีรูปแบบเหมือนกันทุกครั้งที่เกิด รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมสำำคัญอันหนึ่งช่วยให้สัตว์รอดพ้นจำกอันตรำย เป็นปฏิกิริยำที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำที่ไปกระตุ้นทันที เพื่อหลีกเลี่ยง อันตรำย พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ต่อเนี่อง (chain of reflex) เป็น พฤติกรรมที่มีควำมซับซ้อนซึ่งมีมำแต่กำำเนิดไม่ต้องมีกำรเรียนรู้มำก่อน ประกอบด้วยพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์หลำยๆพฤติกรรม มีแบบแผนที่
  • 6. 6 แน่นอนมักไม่เปลี่ยแปลงและเป็นลักษณะเฉพำะของ species เช่น กำร ดูดนมของแม่ของเด็กอ่อน กำรฟักไข่ กำรที่แม่นกป้อนอำหำรลูกนก กำรบินได้ของลูกนกเมื่อมีควำมพร้อมทำงร่ำงกำย กำรสร้ำงรังของนก กำรชักใยของแม่งมุม กำรเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ และกำทำำเสียงกุ๊กๆของ ไก่ เป็นต้น และจำกกำรทดลองพบว่ำ courtship behavior ของแมงมุม ตัวผู้ที่มีต่อแมงมุมตัวเมียเป็นพฤติกรรมแบบต่อเนื่อง 2 พฤติกรรมที่เกิดขจำกกำรเรียนรู้ ( learning behavior ) หมำย ถึง กำรเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมซึ่งเกิดขึ้นได้โดยประสบกำรณ์ใน อดีต แต่มิใช่เนื่องมำจำกอำยุมำกขึ้น สัตว์แต่ละชนิดมีควำมสำมำถใน กำรเรียนรุ้ได้ไม่เท่ำกัน แบ่งเป็น 5 ประเภท 2.1 ควำมเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมกำรตอบ สนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มีควำมหมำยต่อกำรดำำรงชีวิตในที่สุดสัตว์จะ ค่อยลดพฤติกรรมลงทั้นที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่ เป็นพฤติกรรมกำรเรียนรู้แบบที่ง่ำยที่สุด คือ กำรเรียนรู้ ที่จะไม่สนใจต่อสิ่งเร้ำที่ไม่มีผลเป็นรำงวัล หรือ กำรลงโทษ ดังนั้นกำร ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำนั้นก็จะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ เมื่อเวลำผ่ำนไป (เป็นกำรตอบสนอง ของสัตว์ต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่มีผลอะไรสำำหรับที่มันเกิด ขึ้นซำ้ำซำก) โดยกำรค่อยๆลดพฤติกรรมกำรตอบสนองลงจนในที่สุด แม้ว่ำจะยังมีตัวกระตุ้นอยู่ในสัตว์นั้นก็ไม่ตอบสนองเลย เป็นพฤติกรรมที่เพิกเฉยต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่ให้คุณให้ โทษ กำรเรียนรู้แบบนี้ช่วยให้สัตว์ไม่เสียพลังงำนในกำรตอบสนองต่อ สิ่งกระตุ้นที่ไม่มีควำมสำำคัญในกำรดำำรงชีพ เช่น ดอกไม้ทะเล (Sea Anemone) มีระบบประสำทเป็นร่ำงแห ถ้ำเรำแตะหนวดมันเบำๆ พบว่ำ มันจะหุบหนวดแล้วค่อยๆยืดหนวดออกอย่ำงช้ำๆแต่ถ้ำแตะหนวดมัน บ่อยๆ ดอกไม่ทะเลจะไม่หุบหนวดอีกต่อไป คนที่ย้ำยบ้ำนไปอยู่ริมถนน พบว่ำนอนไม่หลับเพรำะเสียงดังอึกทึก แต่เมื่ออำศำยอยู่ไปนำนๆ ระบบ ประสำทจะมีกำรปรับตัว โดยไม่ตอบสนองต่อเสียงอึกทึกจึงทำำให้นอน หลับได้แม้มีเสียงดังเช่นเดิม ลูกนกนำงนวลในช่วงแรกมีกำรตอบสนอง ต่อเงำสีดำำที่พำดผ่ำน เมื่อเรียนรู้ว่ำเงำที่มีลักษณะแบบ A ( นกคอสั้น ตัวแทนของเหยี่ยว ) เท่ำนั้นที่อันตรำย มันก็จะลดกำรตอบสนองต่อเงำ แบบ B (นกคอยำวตัวแทนของนกนำงนวลด้วยกันเอง ) ซึ่งไม่เป็น อันตรำยต่อมัน 2.2 กำรเรียนรู้แบบฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์ มักติดตำมวัตถุที่มันมองเห็นหรือได้ยินในช่วงสำำคัญ (Critical Period) หลังเกิดใหม่ๆ พฤติกรรมเช่นนี้เห็นได้ชัดเจนในสัตว์ปีก พบเสมอว่ำ ลูกไก่หรือลูกเป็ดมักจะเดินตำมแม่ทันทีหลังจำกฟักออกจำกไข่ ถ้ำได้พบ
  • 7. 7 แม่ในช่วงสำำคัญ คือ ช่วง 13-16 ชม. หลังจำกฟักจำกไข่ เป็นพฤติกรรม กำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลำหนึ่งของชีวิตสัตว์ และเกิดขึ้นในช่วง เวลำหนึ่งของชีวิต (Critical Period) เช่น ระยะแรกๆ หลังจำกเกิดและ จะเกิดขึ้นในระยะเวลำสั้นมำก ถ้ำเลยระยะ Critical Period แล้วกำร เรียนรู้ก็จะไม่ดีพฤติกรรมกำรฝังใจที่เกิดขึ้นอำจจำำไปตลอดชีวิต หรือ ฝังใจเพียงระยะหนึ่ง ตัวอย่ำงพฤติกรรมที่เกิดจำกกำรเรียนรู้เช่น - กำรเดินตำมวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ลูกสัตว์ เช่น ลูกนก ลูกห่ำน ลูกวัว - กำรฝังใจต่อกลิ่นของพืชชนิดที่แมลงหวี่วักออกจำก ไข่ที่แมลงหวี่วำงไว้ - กำรฝังใจที่เกิดจำกกลิ่น ทำำให้ปลำแซลมอน ว่ำยนำ้ำ กลับไปวำงไข่ยังบริเวณนำ้ำจืดที่มันเคยฟักออกมำ - กำรเดินไปกอดวัตถุที่อ่อนนุ่มและมีขวดนมของลูกลิง ชิมแพนซี ตัวอย่ำงกำรศึกษำที่กล่ำวถึงมำกคือ กำรศึกษำมำกใน พวกนก โดย Konrad Lorensz ได้ศึกษำ parental Imprinting ลูกนก แรกเกิดจะมีควำมฝังใจและคอยติดตำมวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียง ได้ ซึ่งมันเห็นครั้งแรกหลังฟักออกจำกไข่ (จึงเป็นพฤติกรรมเพื่อ survival) สำำหรับลูกห่ำนพฤติกรรมนี้มี Critical Period อยู่ในช่วง 36 ชม. หลังฟักออกจำกไข่ นอกจำกพบนั้นพบว่ำ sound pattern ของนกก็เป็น Imprinting behavior โดยมี Critical Period อยู่ในช่วง 10-15 วัน ฟัก ออกจำกไข่ กำรร้องเพลงของนก เป็นพฤติกรรมกำรเรียนรู้ และ bird song ของนกแต่ละ species มีแบบฉบับเฉพำะตัว จำกกำรศึกษำรูป แบบของเสียงร้องเพลงของนกแก้วตัวผู้ชนิดหนึ่ง ที่อยู่ป่ำตำมธรรมชำติ พบว่ำจะแตกต่ำงจำกพวกที่นำำมำเลี้ยงตั้งแต่เกิดโดยไม่เคยได้ยินเสียง ร้องเพลงของพวกเดียวกันมำก่อนเลย 2.3 กำรเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (conditioning หรือ associate stimulus) หมำยถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้ำสิ่งหนึ่ง เข้ำไปแทนที่ สิ่งเร้ำเดิม ในกำรชักนำำให้เกิดกำรตอบสนองชนิดเดียวกัน เช่น พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำ 2 ชนิด คือสิ่งเร้ำที่แท้จริง (unconditioned stimulus) และสิ่งเร้ำไม่แท้จริง (conditioned stimulus) ติดต่อกันเป็นเวลำนำน จนกระทั่งผลที่สุด แม้จะไม่มีสิ่งเร้ำ ที่แท้จริงอยู่ด้วย เฉพำะสิ่งเร้ำไม่แทจริงเพียงอย่ำงเดียวก็สำมำรถกระตุ้น ใน สัตว์นั้นๆตอบสนองได้