SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
เมทริกซ์(matrix) 
รายวิชา นวัตกรรมการศึกษา 
สอนโดย 
อาจารย์ ดร.อนุชา โสมาบุตร 
จัดทาโดย 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 
รหัสนักศึกษา 5630501113 ชั้นปีที่ 2 
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สารบัญ 
เรื่อง หน้าที่ 
เมทริกซ์ คือ อะไร 1 
ลักษณะการเขียนเมทริกซ์ 3 
ประเภทของเมทริกซ์ 4 
การดาเนินการบนเมทริกซ์ 7 
ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 12 
เมทริกซ์ผกผัน 18 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 20 
แบบฝึกหัดเสริมสร้างความรู้ 25 
เอกสารอ้างอิง 27 
คานา 
สมุดเล่มเล็กเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานวัตกรรมการศึกษา ซึ่ง เป็นการนาเอาวิชาความรู้ที่มีอยู่แล้วของเรา มาประยุกต์ให้เข้ากับโลก สมัยใหม่ โดยใช้นวัตกรรมที่ก้าวหน้ามาพัฒนาวิชาชีพให้ดีขึ้น 
และเรื่องที่นามาให้ศึกษานั้น คือ เมทริกซ์ ซึ่งเมทริกซ์เป็นสาขา หนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้น ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่างๆ มากมาย 
หากเนื้อหามีข้อบกพร่องประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย 
จัดทาโดย 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
เมทริกซ์ คือ 
เมทริกซ์เป็นสาขาหนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้น (linear algebra) ซึ่งสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่างๆมากมาย เช่น การแก้ระบบสมการเชิงเส้น การ วิเคราะห์เชิงพีชคณิตและเรขาคณิต ใช้จัดเก็บข้อมูลต่างๆ (MS Excel) ใช้ในการ เก็บ -วิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมต่างๆ (JAVA, C++) รวมถึงการวิเคราะห์ เกี่ยวกับอิเล็กตรอนและอนุภาคอื่นๆในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์ 
เมทริกซ์ ( Matrix) คือ กลุ่มของจานวนที่นามาเขียนเรียงกันอย่างมี ระเบียบภายในเครื่องหมายวงเล็บ โดยจานวนเหล่านี้จะเรียงกันเป็นแถว ซึ่งใน แต่ละแถวจะมีจานวนหลักเท่ากันทุกแถว 
1
2 
เมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
เราเรียกจานวนที่อยู่ในเมทริกซ์ว่า สมาชิกของเมทริกซ์ ซึ่งเราจะระบุตาแหน่งของสมาชิกในเมทริกซ์ โดยบอกแถว (row) และหลัก (column) ของสมาชิก 
เรามักใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่แทนเมทริกซ์ และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กซึ่งเขียนตัวเลข 2 ตัวห้อย ต่อไว้ทางด้านขวาแทนสมาชิก (เช่น aijคือ สมาชิกของเมท ริกซ์ A ที่อยู่ที่แถวที่ i หลักที่ j) 
ขนาดของเมทริกซ์จะเรียกว่า มิติของเมทริกซ์ 
โดยเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลักจะมีขนาด m x n มิติ 
3 
ลักษณะการเขียนเมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์
4 
เมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
ประเภทของเมทริกซ์ 
1. เมทริกซ์ศูนย์(Zero matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัว เป็นศูนย์ เขียนแทนด้วย 0 
2. เมทริกซ์แถว (Row matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีแถวเพียงแถวเดียว 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
3. เมทริกซ์หลัก (Column matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีหลักเพียงหลักเดียว 
4. เมทริกซ์จัตุรัส (Square matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีจานวนแถวเท่ากับ จานวนหลัก (มีมิติ n x n) 
5
6 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
เมทริกซ์จัตุรัสยังอาจแบ่งประเภทย่อยๆได้เป็น 
4.1 เมทริกซ์เอกลักษณ์(Identity matrix) คือ เมทริกซ์ จัตุรัส (หรือเมทริกซ์ทแยงมุม) ที่มีตัวเลขบนเส้นทแยงมุมเป็น 1 ซึ่ง สมมติให้เส้นทแยงมุมนั้นลากจากสมาชิกบนซ้ายไปยังสมาชิกขวาล่าง (เฉียงลง) ส่วนสมาชิกที่เหลือเป็น 0 ทั้งหมด เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ In หรือเพียงแค่ I (ไอ) ส่วนทางกลศาสตร์ควอนตัมจะ 
4.2 เมทริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular matrix) คือ เมทริกซ์ซึ่ง มีสมาชิกที่อยู่เหนือหรือใต้เส้น 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
7 
การดาเนินการบนเมทริกซ์ 
1. การเท่ากันของเมทริกซ์ 
เมทริกซ์ A และ B จะเท่ากันกันได้ ก็ต่อเมื่อ 
- A และ B ต้องมีมิติเท่ากัน (m = p และ n = q) 
- สมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกันต้องมีค่าเท่ากัน (aij = bij) 
2. การบวก-ลบเมทริกซ์ 
การบวก-ลบ เมทริกซ์ทาได้โดยนาสมาชิกที่ตาแหน่งเดียวกันมา บวก-ลบ กัน ซึ่งเราจะบวก-ลบ เมทริกซ์ ได้เมื่อ เมทริกซ์ที่นามาบวก-ลบ กัน มีมิติเท่ากัน
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
8 
3. สมบัติเกี่ยวกับการบวกของเมทริกซ์ 
กาหนด A , B และ C เป็นเมทริกซ์มิติm x n 
1. สมบัติปิดของการบวก A , B เป็นเมทริกซ์มิติ m x n แล้ว A + B เป็น เมทริกซ์มิติ m x n 
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก A + B = B + A 
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก (A + B) +C = A + (B + C) 
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก จะมีเมทริกซ์ 0 ซึ่งทาให้ 
A + 0 = 0+ A = A เรียก 0 ว่า เอกลักษณ์ของการบวกของเมทริกซ์ 
5. สมบัติการมีอินเวอร์สของการบวก สาหรับเมทริกซ์ A จะมีเมทริกซ์ -A ซึ่งทาให้ 
A + (-A) = (-A) + A = 0 เรียก -A ว่า อินเวอร์สของการบวกของ A 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
9 
4. การคูณเมทริกซ์ด้วยจานวนจริง 
การคูณเมทริกซ์ด้วยจานวนจริงทาได้โดย นาสมาชิกทุก ตาแหน่งในเมทริกซ์คูณด้วยจานวนจริงนั้น 
5.การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ 
กาหนด A = [a ] ij m n และ B = [b ] ij p q เป็นเมทริกซ์ 
- เมทริกซ์ A และ B จะคูณกันได้เมื่อ n = p (จานวนหลักของ A เท่ากับ จานวนแถวของ B) 
- เมทริกซ์ผลคูณ A x B จะเป็นเมทริกซ์มิติ m x q 
- สมาชิกแถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ผลคูณ A x B จะหาได้โดยการ นาสมาชิกในแถวที่ i ของ 
A มาคูณกับสมาชิกในหลักที่ j ของ B เป็นคู่ๆ แล้วนามาบวกกัน
10 
กาหนด A , B และ C เป็นเมทริกซ์ 
1. สมบัติปิดของการคูณ A , B เป็นเมทริกซ์แล้ว A x B ยังคงเป็นเมท ริกซ์ 
2. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ (A x B) x C = A x (B x C) 
3. สมบัติการมีเอกลักษณ์ของการคูณ จะมีเมทริกซ์ I ซึ่งทาให้ 
A x I = I x A = A เรียก 0 ว่า เอกลักษณ์ของการบวกของเมทริกซ์ 
4. สมบัติการมีอินเวอร์สของการคูณ สาหรับเมทริกซ์ A จะมีเมทริกซ์ A-1 ซึ่งทาให้ 
A x A-1= A-1 x A = I 
เรียก A-1ว่า อินเวอร์สของการบวกของ A (มีเฉพาะบางเมทริกซ์) 
5. สมบัติการแจกแจง A x (B + C) = A x B + A x C 
ข้อควรระวัง ! เมทริกซ์ไม่มีสมบัติการสลับที่และสมบัติการมีอินเวอร์สสาหรับ การคูณ ดังนั้น สมบัติที่เป็นจริงบางประการในระบบจานวนจริง จะไม่เป็นจริง ในเมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
6.สมบัติเกี่ยวกับการคูณของเมทริกซ์ 
11 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
7.ทรานสโพสของเมทริกซ์ 
ทรานสโพสของเมทริกซ์ก็คือ การสร้างเมทริกซ์ใหม่โดยการ เปลี่ยนจากแถวเป็นหลักนั่นเอง 
สมบัติของทรานสโพสของเมทริกซ์ 
กาหนด A = [a ] ij m n และ B = [b ] ij m n เป็นเมท ริกซ์ และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 
1. (A )t t = A 
2. (A บวก/ลบ B)t = At บวก/ลบ Bt 
3. (kA)t = kAt 
4. (AB)t = Bt x At 
5. (Am)t = (At)m 
6. (A-1)t = (At)-1
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
12 
ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 
ในหัวข้อนี้ เราจะมาศึกษาสมบัติอีกประการหนึ่งของเมทริกซ์ นั่นคือ ดีเทอร์มิแนนต์ ( determinant) และนอกจากนี้จะศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของเมท ริกซ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับดีเทอร์มิแนนท์ ได้แก่ ไมเนอร์ 
ตัวประกอบร่วมเกี่ยว (Cofactor) และ เมทริกซ์ผูกพัน (Adjoint matrix) 
ดีเทอร์มิแนนต์ เป็นสมบัติของเมทริกซ์จัตุรัส ซึ่งเราจะนาไปใช้ในการหาเมท ริกซ์ผกผันและแก้ระบบสมการหลายตัวแปรต่อไป 
ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ det(A) หรือ / A/ 
13 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
1.ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์มิติ 2 x 2 และมิติ 3 x 3 
กาหนด เมทริกซ์ A มีขนาด 2 x 2 ซึ่ง 
กาหนด เมทริกซ์ A มีขนาด 3 x 3 ซึ่ง 
แล้ว det(A) จะหาได้โดยการนาหลักที่ 1 และ 2 ของ A มาเขียนต่อจาก หลักที่ 3 และ หาผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงลง ลบกับผลบวกของผลคูณ ในแนวเฉียงขึ้น จะได้ 
det(A) = (aei + bfg + cdh) – (gec + hfa +idb)
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
2. ไมเนอร์ และ ตัวประกอบร่วมเกี่ยวของเมทริกซ์ 
กาหนด A = [a ij ] n x n เป็นเมทริกซ์จัตุรัส เมื่อ n มากกว่าหรือ เท่ากับ 2 
ไมเนอร์ (minor) ของ aij คือ ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ที่ได้จากการ ตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของ A ออก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Mij(A) 
ตัวประกอบร่วมเกี่ยว (cofactor) ของ aij เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Cij(A) โดย 
สมบัติของไมเนอร์ 
1. Mij(kA) = kn-1 x Mij(A) 
2. Mij(At) = Mji(A) 
14 
เมทริกซ์ 
15 
3. เมทริกซ์ผกผัน 
กาหนด A = [a ij ] n x n เป็นเมทริกซ์จัตุรัส เมื่อ n มากกว่าหรือเท่ากับ 2 
เมทริกซ์ผกพัน (adjoint matrix) ของ A เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ adj(A) โดย 
สมบัติของเมทริกซ์ผกพัน 
1. adj(A) x A = A x adj(A) = det(A) x I 
2. adj(kA) = kn-1 x adj(A) 
3. adj(A-1) = [adj(A)]-1 
4. adj(AB) = adj(B)adj(A) 
5. adj(At) = [adj(A)]t 
คณิตศาสตร์
16 
2.1 ในกรณีที่เลือกแถวที่ i ของเมทริกซ์ A จะได้ว่า 
det(A) = ai1Ci1(A) + ai2Ci2(A) +... + ainCin(A) 
2.2 ในกรณีที่เลือกหลักที่ j ของเมทริกซ์ A จะได้ว่า 
det(A) = a1jC1j(A) + a2jC2j(A) + ... + anjCnj(A) 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
4. ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์มิติ n 
สาหรับเมทริกซ์มิติ n x n (n มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ) เราสามารถหา ดีเทอร์มิแนนต์ได้ โดยวิธีการกระจายโคแฟกเตอร์ตามแถวหรือหลัก ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 
1. เลือกแถวหรือหลักของเมทริกซ์ An x n ขึ้นมา 1 แถว 
2. หาค่าดีเทอร์มิแนนต์ตามสูตร โดยแบ่งออกเป็นสองกรณี 
เมทริกซ์ 
17 
กาหนด A และ B เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 
1. det(At) = det(A) 
2. det(kA) = kn det(A) 
3. det(AB) = det(A) x det(B) 
4. det(Am) = [det(A)]m 
5. det(A-1) = 1/det(A) 
6. det(I) = 1 , det(0) = 0 
7. det(adj(A)) = [det(A)]n-1 
8. det(A) = 0 
9. ถ้า A เป็นเมทริกซ์ สามเหลี่ยมแล้ว det(A) จะ เท่ากับผลคูณของสมาชิกใน แนวเส้นทแยงมุมหลัก 
(A และ B ต้องเป็นเมทริกซ์ จัตุรัสที่มีมิติเท่ากัน) 
(เมื่อ A-1หาค่าได้) 
เมื่อ 
- มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์เป็นศูนย์ทั้งหมด 
- มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์ซ้ากัน 
- มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์เป็น k เท่าของอีกแถว (หรือ หลัก) 
5. สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ 
คณิตศาสตร์
18 
กาหนด A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n แล้ว เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ A คือ 
1. เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ 2 x 2 
กาหนด 
แล้ว 
เมทริกซ์ผกผัน (อินเวอร์สการคูณ) ของเมทริกซ์ A คือ 
2. เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ n x n 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
เมทริกซ์ผกผัน 
19 
กาหนด A, B เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน m เป็นจานวนเต็มบวก และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 
1. A x adj(A) = adj(A) x A = det(A) x I 
2. (kA)-1 = 1/k(A-1) 
3. (A-1)t = (At)-1 
4. (A-1)m = (Am)-1 
5. (A x B)-1 = B-1 x A-1 
6. det(A-1) = 1/det(A) 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
3. สมบัติของเมทริกซ์ผกผัน
20 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 
1. ระบบสมการเชิงเส้น 
สาหรับระบบสมการเชิงเส้นที่มี n ตัวแปร m สมการ ซึ่งมี x1, x2, x3, ... , xnจะมีรูปแบบเป็น 
a11x1 + a12x2 + ... + a1nxn = b1 
a21x1 + a22x2 + ... + a2nxn = b2 
am1x1 + am2x2 + ... + amnxn = bm 
ซึ่งผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากระบบสมการจะแบ่งได้ 3 แบบ คือ 
ระบบสมการมีคาตอบเดียว 
คณิตศาสตร์ 
เมทริกซ์ 
21 
ระบบสมการมีคาตอบเป็น จานวนอนันต์ 
ระบบสมการไม่มีคาตอบ
22 
พิจารณาระบบสมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร 3 สมการ 
ax + by + cz = m 
dx + ey + fz = n 
gx + hy + iz = p 
ซึ่งเราสามารถเขียนเป็นสมการเมทริกซ์ได้เป็น 
เมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
2. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน 
จะอยู่ในรูป A x X = B โดยเราเรียกเมทริกซ์ A ว่า เมทริกซ์ สัมประสิทธิ์ ( Coefficient Matrix) เรียก เมทริกซ์ B ว่า เมทริกซ์ค่าคงตัว และเรียกเมทริกซ์ X ว่า เมทริกซ์ตัวแปร ซึ่งสามารถหาคาตอบของสมการ เมทริกซ์นี้ได้จาก X = A-1 x B (เมื่อ A-1 หาค่าได้) 
เมทริกซ์ 
คณิตศาสตร์ 
23 
3.การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้กฎของคาร์เมอร์ 
กาหนดระบบสมการเชิงเส้น n ตัวแปร n สมการ โดย AX = B (A เป็นเมทริกซ์สัมประสิทธิ์ X เป็นเมทริกซ์ตัวแปร และ B เป็นเมท ริกซ์ค่าคงตัว) เป็นสมการเมทริกซ์ซึ่งสัมพันธ์กับระบบสมการดังกล่าว ถ้า det(A) ไม่เท่ากับ 0
คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 
24 
4.การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้ Row-Operation 
พิจารณาการแก้ระบบสมการเชิงเส้น 2 ตัวแปร 2 สมการ เทียบ 
กับการดา เนินการกับเมทริกซ์ที่สร้างขึ้นใหม่ (เรียกเมทริกซ์นี้ว่า เมทริกซ์ 
แต่งเติม : augmented matrix) 
จบบทเรียนแล้วจ้า 
อย่าลืมทาแบบฝึกหัดด้วยนะ 
คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 
25 
แบบฝึกหัดเสริมสร้างความรู้ 
ลองทาๆ 
ไม่ยากๆ 
แก้สมการ 
ง่ายนิดเดียว 
4. ถ้า = จงหา x, y, z 
5. ถ้า = จงหา x, y 
6. จงหาจา นวนจริง x และ y ที่ทา ให้ A = B เมื่อกา หนดให้ 
A = และ B = 
 
 
 
  
2 4 1 
3 x 2 y 
 
 
 
 
2 4 z 
3 1 5 
 
 
 
  
4 1 
x y 5 
 
 
 
 
4 x  y 
3 5 
 
 
 
 
 
 
 
  
4 
2 1 3 
x y 
x 
 
 
 
 
 1 
0 3 
y
26 
กา หนด A = , B = จงหา 
1. 2A + 2B 
2. 2 ( A + B ) 
3. 3A + 5A 
4. ( 3 + 5 ) A 
5. 0 A 
6. ( 2 3 ) A , 2 ( 3A ) 
 
 
 
  
0 1 
2 1 
 
 
 
  
1 2 
3 5 
 
ปริศนาน่าคิด 
คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 
27 
เอกสารอ้างอิง 
http://www.clipvidva.com/wp-content/ 
uploads/ 
downloads/2012/12/Matrix.pdf 
คณิตศาสตร์ เมทริกซ์

Contenu connexe

Tendances

Sheet series
Sheet  seriesSheet  series
Sheet seriesseelopa
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
คณิตร้อยละ
คณิตร้อยละคณิตร้อยละ
คณิตร้อยละguest89040d
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfssusereb21c61
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 

Tendances (20)

Sheet series
Sheet  seriesSheet  series
Sheet series
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
คณิตร้อยละ
คณิตร้อยละคณิตร้อยละ
คณิตร้อยละ
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

En vedette

เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1K'Keng Hale's
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1Noir Black
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์K'Keng Hale's
 
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายAdisak1341
 
Spreadsheets
SpreadsheetsSpreadsheets
Spreadsheetssaowana
 
Assessment v1
Assessment v1Assessment v1
Assessment v1saowana
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้pohn
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Innovation design
Innovation designInnovation design
Innovation designsaowana
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้กอ หญ้า
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1pohn
 
Assessment v2
Assessment v2Assessment v2
Assessment v2saowana
 
What is innovation
What is innovationWhat is innovation
What is innovationsaowana
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอpohn
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 

En vedette (20)

Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
 
Matrix3
Matrix3Matrix3
Matrix3
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตายเมทริกซ์ง่ายจะตาย
เมทริกซ์ง่ายจะตาย
 
Spreadsheets
SpreadsheetsSpreadsheets
Spreadsheets
 
Assessment v1
Assessment v1Assessment v1
Assessment v1
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Innovation design
Innovation designInnovation design
Innovation design
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
Assessment v2
Assessment v2Assessment v2
Assessment v2
 
What is innovation
What is innovationWhat is innovation
What is innovation
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 

Similaire à สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 

Similaire à สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์ (20)

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
1.1 matrix
1.1 matrix1.1 matrix
1.1 matrix
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
Real
RealReal
Real
 

สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์

  • 1.
  • 2. เมทริกซ์(matrix) รายวิชา นวัตกรรมการศึกษา สอนโดย อาจารย์ ดร.อนุชา โสมาบุตร จัดทาโดย นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง รหัสนักศึกษา 5630501113 ชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้าที่ เมทริกซ์ คือ อะไร 1 ลักษณะการเขียนเมทริกซ์ 3 ประเภทของเมทริกซ์ 4 การดาเนินการบนเมทริกซ์ 7 ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 12 เมทริกซ์ผกผัน 18 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 20 แบบฝึกหัดเสริมสร้างความรู้ 25 เอกสารอ้างอิง 27 คานา สมุดเล่มเล็กเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานวัตกรรมการศึกษา ซึ่ง เป็นการนาเอาวิชาความรู้ที่มีอยู่แล้วของเรา มาประยุกต์ให้เข้ากับโลก สมัยใหม่ โดยใช้นวัตกรรมที่ก้าวหน้ามาพัฒนาวิชาชีพให้ดีขึ้น และเรื่องที่นามาให้ศึกษานั้น คือ เมทริกซ์ ซึ่งเมทริกซ์เป็นสาขา หนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้น ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่างๆ มากมาย หากเนื้อหามีข้อบกพร่องประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย จัดทาโดย นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง
  • 4. คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ เมทริกซ์ คือ เมทริกซ์เป็นสาขาหนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้น (linear algebra) ซึ่งสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่างๆมากมาย เช่น การแก้ระบบสมการเชิงเส้น การ วิเคราะห์เชิงพีชคณิตและเรขาคณิต ใช้จัดเก็บข้อมูลต่างๆ (MS Excel) ใช้ในการ เก็บ -วิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมต่างๆ (JAVA, C++) รวมถึงการวิเคราะห์ เกี่ยวกับอิเล็กตรอนและอนุภาคอื่นๆในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์ เมทริกซ์ ( Matrix) คือ กลุ่มของจานวนที่นามาเขียนเรียงกันอย่างมี ระเบียบภายในเครื่องหมายวงเล็บ โดยจานวนเหล่านี้จะเรียงกันเป็นแถว ซึ่งใน แต่ละแถวจะมีจานวนหลักเท่ากันทุกแถว 1
  • 5. 2 เมทริกซ์ คณิตศาสตร์ เราเรียกจานวนที่อยู่ในเมทริกซ์ว่า สมาชิกของเมทริกซ์ ซึ่งเราจะระบุตาแหน่งของสมาชิกในเมทริกซ์ โดยบอกแถว (row) และหลัก (column) ของสมาชิก เรามักใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่แทนเมทริกซ์ และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กซึ่งเขียนตัวเลข 2 ตัวห้อย ต่อไว้ทางด้านขวาแทนสมาชิก (เช่น aijคือ สมาชิกของเมท ริกซ์ A ที่อยู่ที่แถวที่ i หลักที่ j) ขนาดของเมทริกซ์จะเรียกว่า มิติของเมทริกซ์ โดยเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลักจะมีขนาด m x n มิติ 3 ลักษณะการเขียนเมทริกซ์ คณิตศาสตร์ เมทริกซ์
  • 6. 4 เมทริกซ์ คณิตศาสตร์ ประเภทของเมทริกซ์ 1. เมทริกซ์ศูนย์(Zero matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัว เป็นศูนย์ เขียนแทนด้วย 0 2. เมทริกซ์แถว (Row matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีแถวเพียงแถวเดียว คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 3. เมทริกซ์หลัก (Column matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีหลักเพียงหลักเดียว 4. เมทริกซ์จัตุรัส (Square matrix) คือ เมทริกซ์ที่มีจานวนแถวเท่ากับ จานวนหลัก (มีมิติ n x n) 5
  • 7. 6 คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ เมทริกซ์จัตุรัสยังอาจแบ่งประเภทย่อยๆได้เป็น 4.1 เมทริกซ์เอกลักษณ์(Identity matrix) คือ เมทริกซ์ จัตุรัส (หรือเมทริกซ์ทแยงมุม) ที่มีตัวเลขบนเส้นทแยงมุมเป็น 1 ซึ่ง สมมติให้เส้นทแยงมุมนั้นลากจากสมาชิกบนซ้ายไปยังสมาชิกขวาล่าง (เฉียงลง) ส่วนสมาชิกที่เหลือเป็น 0 ทั้งหมด เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ In หรือเพียงแค่ I (ไอ) ส่วนทางกลศาสตร์ควอนตัมจะ 4.2 เมทริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular matrix) คือ เมทริกซ์ซึ่ง มีสมาชิกที่อยู่เหนือหรือใต้เส้น คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 7 การดาเนินการบนเมทริกซ์ 1. การเท่ากันของเมทริกซ์ เมทริกซ์ A และ B จะเท่ากันกันได้ ก็ต่อเมื่อ - A และ B ต้องมีมิติเท่ากัน (m = p และ n = q) - สมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกันต้องมีค่าเท่ากัน (aij = bij) 2. การบวก-ลบเมทริกซ์ การบวก-ลบ เมทริกซ์ทาได้โดยนาสมาชิกที่ตาแหน่งเดียวกันมา บวก-ลบ กัน ซึ่งเราจะบวก-ลบ เมทริกซ์ ได้เมื่อ เมทริกซ์ที่นามาบวก-ลบ กัน มีมิติเท่ากัน
  • 8. คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 8 3. สมบัติเกี่ยวกับการบวกของเมทริกซ์ กาหนด A , B และ C เป็นเมทริกซ์มิติm x n 1. สมบัติปิดของการบวก A , B เป็นเมทริกซ์มิติ m x n แล้ว A + B เป็น เมทริกซ์มิติ m x n 2. สมบัติการสลับที่ของการบวก A + B = B + A 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก (A + B) +C = A + (B + C) 4. สมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก จะมีเมทริกซ์ 0 ซึ่งทาให้ A + 0 = 0+ A = A เรียก 0 ว่า เอกลักษณ์ของการบวกของเมทริกซ์ 5. สมบัติการมีอินเวอร์สของการบวก สาหรับเมทริกซ์ A จะมีเมทริกซ์ -A ซึ่งทาให้ A + (-A) = (-A) + A = 0 เรียก -A ว่า อินเวอร์สของการบวกของ A คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 9 4. การคูณเมทริกซ์ด้วยจานวนจริง การคูณเมทริกซ์ด้วยจานวนจริงทาได้โดย นาสมาชิกทุก ตาแหน่งในเมทริกซ์คูณด้วยจานวนจริงนั้น 5.การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ กาหนด A = [a ] ij m n และ B = [b ] ij p q เป็นเมทริกซ์ - เมทริกซ์ A และ B จะคูณกันได้เมื่อ n = p (จานวนหลักของ A เท่ากับ จานวนแถวของ B) - เมทริกซ์ผลคูณ A x B จะเป็นเมทริกซ์มิติ m x q - สมาชิกแถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ผลคูณ A x B จะหาได้โดยการ นาสมาชิกในแถวที่ i ของ A มาคูณกับสมาชิกในหลักที่ j ของ B เป็นคู่ๆ แล้วนามาบวกกัน
  • 9. 10 กาหนด A , B และ C เป็นเมทริกซ์ 1. สมบัติปิดของการคูณ A , B เป็นเมทริกซ์แล้ว A x B ยังคงเป็นเมท ริกซ์ 2. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ (A x B) x C = A x (B x C) 3. สมบัติการมีเอกลักษณ์ของการคูณ จะมีเมทริกซ์ I ซึ่งทาให้ A x I = I x A = A เรียก 0 ว่า เอกลักษณ์ของการบวกของเมทริกซ์ 4. สมบัติการมีอินเวอร์สของการคูณ สาหรับเมทริกซ์ A จะมีเมทริกซ์ A-1 ซึ่งทาให้ A x A-1= A-1 x A = I เรียก A-1ว่า อินเวอร์สของการบวกของ A (มีเฉพาะบางเมทริกซ์) 5. สมบัติการแจกแจง A x (B + C) = A x B + A x C ข้อควรระวัง ! เมทริกซ์ไม่มีสมบัติการสลับที่และสมบัติการมีอินเวอร์สสาหรับ การคูณ ดังนั้น สมบัติที่เป็นจริงบางประการในระบบจานวนจริง จะไม่เป็นจริง ในเมทริกซ์ คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 6.สมบัติเกี่ยวกับการคูณของเมทริกซ์ 11 คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 7.ทรานสโพสของเมทริกซ์ ทรานสโพสของเมทริกซ์ก็คือ การสร้างเมทริกซ์ใหม่โดยการ เปลี่ยนจากแถวเป็นหลักนั่นเอง สมบัติของทรานสโพสของเมทริกซ์ กาหนด A = [a ] ij m n และ B = [b ] ij m n เป็นเมท ริกซ์ และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 1. (A )t t = A 2. (A บวก/ลบ B)t = At บวก/ลบ Bt 3. (kA)t = kAt 4. (AB)t = Bt x At 5. (Am)t = (At)m 6. (A-1)t = (At)-1
  • 10. คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 12 ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ ในหัวข้อนี้ เราจะมาศึกษาสมบัติอีกประการหนึ่งของเมทริกซ์ นั่นคือ ดีเทอร์มิแนนต์ ( determinant) และนอกจากนี้จะศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของเมท ริกซ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับดีเทอร์มิแนนท์ ได้แก่ ไมเนอร์ ตัวประกอบร่วมเกี่ยว (Cofactor) และ เมทริกซ์ผูกพัน (Adjoint matrix) ดีเทอร์มิแนนต์ เป็นสมบัติของเมทริกซ์จัตุรัส ซึ่งเราจะนาไปใช้ในการหาเมท ริกซ์ผกผันและแก้ระบบสมการหลายตัวแปรต่อไป ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ det(A) หรือ / A/ 13 คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 1.ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์มิติ 2 x 2 และมิติ 3 x 3 กาหนด เมทริกซ์ A มีขนาด 2 x 2 ซึ่ง กาหนด เมทริกซ์ A มีขนาด 3 x 3 ซึ่ง แล้ว det(A) จะหาได้โดยการนาหลักที่ 1 และ 2 ของ A มาเขียนต่อจาก หลักที่ 3 และ หาผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงลง ลบกับผลบวกของผลคูณ ในแนวเฉียงขึ้น จะได้ det(A) = (aei + bfg + cdh) – (gec + hfa +idb)
  • 11. คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 2. ไมเนอร์ และ ตัวประกอบร่วมเกี่ยวของเมทริกซ์ กาหนด A = [a ij ] n x n เป็นเมทริกซ์จัตุรัส เมื่อ n มากกว่าหรือ เท่ากับ 2 ไมเนอร์ (minor) ของ aij คือ ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ที่ได้จากการ ตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของ A ออก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Mij(A) ตัวประกอบร่วมเกี่ยว (cofactor) ของ aij เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Cij(A) โดย สมบัติของไมเนอร์ 1. Mij(kA) = kn-1 x Mij(A) 2. Mij(At) = Mji(A) 14 เมทริกซ์ 15 3. เมทริกซ์ผกผัน กาหนด A = [a ij ] n x n เป็นเมทริกซ์จัตุรัส เมื่อ n มากกว่าหรือเท่ากับ 2 เมทริกซ์ผกพัน (adjoint matrix) ของ A เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ adj(A) โดย สมบัติของเมทริกซ์ผกพัน 1. adj(A) x A = A x adj(A) = det(A) x I 2. adj(kA) = kn-1 x adj(A) 3. adj(A-1) = [adj(A)]-1 4. adj(AB) = adj(B)adj(A) 5. adj(At) = [adj(A)]t คณิตศาสตร์
  • 12. 16 2.1 ในกรณีที่เลือกแถวที่ i ของเมทริกซ์ A จะได้ว่า det(A) = ai1Ci1(A) + ai2Ci2(A) +... + ainCin(A) 2.2 ในกรณีที่เลือกหลักที่ j ของเมทริกซ์ A จะได้ว่า det(A) = a1jC1j(A) + a2jC2j(A) + ... + anjCnj(A) คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 4. ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์มิติ n สาหรับเมทริกซ์มิติ n x n (n มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ) เราสามารถหา ดีเทอร์มิแนนต์ได้ โดยวิธีการกระจายโคแฟกเตอร์ตามแถวหรือหลัก ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกแถวหรือหลักของเมทริกซ์ An x n ขึ้นมา 1 แถว 2. หาค่าดีเทอร์มิแนนต์ตามสูตร โดยแบ่งออกเป็นสองกรณี เมทริกซ์ 17 กาหนด A และ B เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 1. det(At) = det(A) 2. det(kA) = kn det(A) 3. det(AB) = det(A) x det(B) 4. det(Am) = [det(A)]m 5. det(A-1) = 1/det(A) 6. det(I) = 1 , det(0) = 0 7. det(adj(A)) = [det(A)]n-1 8. det(A) = 0 9. ถ้า A เป็นเมทริกซ์ สามเหลี่ยมแล้ว det(A) จะ เท่ากับผลคูณของสมาชิกใน แนวเส้นทแยงมุมหลัก (A และ B ต้องเป็นเมทริกซ์ จัตุรัสที่มีมิติเท่ากัน) (เมื่อ A-1หาค่าได้) เมื่อ - มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์เป็นศูนย์ทั้งหมด - มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์ซ้ากัน - มีบางแถว (หรือบางหลัก) ของเมท ริกซ์เป็น k เท่าของอีกแถว (หรือ หลัก) 5. สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ คณิตศาสตร์
  • 13. 18 กาหนด A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n แล้ว เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ A คือ 1. เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ 2 x 2 กาหนด แล้ว เมทริกซ์ผกผัน (อินเวอร์สการคูณ) ของเมทริกซ์ A คือ 2. เมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ n x n คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ เมทริกซ์ผกผัน 19 กาหนด A, B เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน m เป็นจานวนเต็มบวก และ k เป็นจานวนจริงใดๆ 1. A x adj(A) = adj(A) x A = det(A) x I 2. (kA)-1 = 1/k(A-1) 3. (A-1)t = (At)-1 4. (A-1)m = (Am)-1 5. (A x B)-1 = B-1 x A-1 6. det(A-1) = 1/det(A) คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 3. สมบัติของเมทริกซ์ผกผัน
  • 14. 20 คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 1. ระบบสมการเชิงเส้น สาหรับระบบสมการเชิงเส้นที่มี n ตัวแปร m สมการ ซึ่งมี x1, x2, x3, ... , xnจะมีรูปแบบเป็น a11x1 + a12x2 + ... + a1nxn = b1 a21x1 + a22x2 + ... + a2nxn = b2 am1x1 + am2x2 + ... + amnxn = bm ซึ่งผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากระบบสมการจะแบ่งได้ 3 แบบ คือ ระบบสมการมีคาตอบเดียว คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 21 ระบบสมการมีคาตอบเป็น จานวนอนันต์ ระบบสมการไม่มีคาตอบ
  • 15. 22 พิจารณาระบบสมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร 3 สมการ ax + by + cz = m dx + ey + fz = n gx + hy + iz = p ซึ่งเราสามารถเขียนเป็นสมการเมทริกซ์ได้เป็น เมทริกซ์ คณิตศาสตร์ 2. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน จะอยู่ในรูป A x X = B โดยเราเรียกเมทริกซ์ A ว่า เมทริกซ์ สัมประสิทธิ์ ( Coefficient Matrix) เรียก เมทริกซ์ B ว่า เมทริกซ์ค่าคงตัว และเรียกเมทริกซ์ X ว่า เมทริกซ์ตัวแปร ซึ่งสามารถหาคาตอบของสมการ เมทริกซ์นี้ได้จาก X = A-1 x B (เมื่อ A-1 หาค่าได้) เมทริกซ์ คณิตศาสตร์ 23 3.การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้กฎของคาร์เมอร์ กาหนดระบบสมการเชิงเส้น n ตัวแปร n สมการ โดย AX = B (A เป็นเมทริกซ์สัมประสิทธิ์ X เป็นเมทริกซ์ตัวแปร และ B เป็นเมท ริกซ์ค่าคงตัว) เป็นสมการเมทริกซ์ซึ่งสัมพันธ์กับระบบสมการดังกล่าว ถ้า det(A) ไม่เท่ากับ 0
  • 16. คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 24 4.การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้ Row-Operation พิจารณาการแก้ระบบสมการเชิงเส้น 2 ตัวแปร 2 สมการ เทียบ กับการดา เนินการกับเมทริกซ์ที่สร้างขึ้นใหม่ (เรียกเมทริกซ์นี้ว่า เมทริกซ์ แต่งเติม : augmented matrix) จบบทเรียนแล้วจ้า อย่าลืมทาแบบฝึกหัดด้วยนะ คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 25 แบบฝึกหัดเสริมสร้างความรู้ ลองทาๆ ไม่ยากๆ แก้สมการ ง่ายนิดเดียว 4. ถ้า = จงหา x, y, z 5. ถ้า = จงหา x, y 6. จงหาจา นวนจริง x และ y ที่ทา ให้ A = B เมื่อกา หนดให้ A = และ B =      2 4 1 3 x 2 y     2 4 z 3 1 5      4 1 x y 5     4 x  y 3 5          4 2 1 3 x y x      1 0 3 y
  • 17. 26 กา หนด A = , B = จงหา 1. 2A + 2B 2. 2 ( A + B ) 3. 3A + 5A 4. ( 3 + 5 ) A 5. 0 A 6. ( 2 3 ) A , 2 ( 3A )      0 1 2 1      1 2 3 5  ปริศนาน่าคิด คณิตศาสตร์ เมทริกซ์ 27 เอกสารอ้างอิง http://www.clipvidva.com/wp-content/ uploads/ downloads/2012/12/Matrix.pdf คณิตศาสตร์ เมทริกซ์