SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
INTRODUCTION TO
TECHNOLOGIES
AND
EDUCATIONAL MEDIA
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
โรงเรียนบ ้านหนองใหญ่ได ้รับบริจาคห ้องคอมพิวเตอร์ใหม่
หลังจากที่ได ้มีโครงการผ ้าป่ าซื้อคอมพิวเตอร์ให ้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.
โรงเรียนจึงได ้มีนโยบายให ้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช ้
คอมพิวเตอร์หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร ้างเองได ้ก็บูรณาการ
คอมพิวเตอร์ในการสอน และเปิดช่วงเวลาให ้นักเรียนเข ้ามาใช ้
คอมพิวเตอร์ได ้ผลจากการประเมินการใช ้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนที่
ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน
การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบ
หลังเรียนก็ยังเป็นเพียงการท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให ้ผู้เรียนเข ้าไปใช ้
คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช ้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social
media โดยเฉพาะ Face book ซึ่งไม่ได ้ใช ้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาและสร ้างการเรียนรู้ของตนเอง
ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือ
ในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา การ
ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็ นเพียงการท่องจาเนื้ อหา ไม่
ส่งเสริมกระบวนการคิด
จากปัญหา คือ ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็น
เครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอน
โดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการ
ทดสอบ นาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาท
ผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม
กระบวนการคิด ซึ่งวิธีนี้ครูพัฒนาสื่อโดยการใช ้คอมพิวเตอร์
เป็นครู โดยวิธีนี้เป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม
กระบวนการคิดของผู้เรียน แก ้ปัญหาได ้จากการที่ครูใช ้
คอมพิวเตอร์เป็นครูเพียงอย่างเดียว ให ้เพิ่มการใช ้คอมพิวเตอร์
เป็นผู้ช่วย และ การใช ้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
แนวทางการใช ้คอมพิวเตอร์เพื่อแก ้ปัญหา
ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการ
ถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา
การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็นเพียงการท่องจา
เนื้ อหา ไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
การใช ้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วยนั้นเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการ
ทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทา
รายงาน การคิดคานวณ การสร ้างผลงานกราฟฟิก เป็นต ้น ซึ่งผู้เรียนสามารถ
เลือกใช ้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร ้างผลงานให ้สาเร็จตามเป้าหมายได ้
แนวทางการใช ้คอมพิวเตอร์เพื่อแก ้ปัญหา
การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้เรียนนั้น ก็คือจากคอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกาหนดกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให ้ผู้เรียนทาตามกลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้
กาหนดวิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให ้คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้เรียนจะต ้องมี
ความเข ้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช ้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ใน
วิถีทางที่ทาให ้คอมพิวเตอร์นั้นเข ้าใจคาสั่งและสามารถทางานตามที่ต ้องการ
ได ้ การใช ้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะต ้องได ้รับหรือมีทักษะด ้าน
การจัดการ ทักษะด ้านการคิด เชิงตรรกะ ทักษะด ้านการแก ้ปัญหา
ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือ
ในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา การ
ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็ นเพียงการท่องจาเนื้ อหา ไม่
ส่งเสริมกระบวนการคิด
*การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
ครู
*การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
ผู้ช่วย
*การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
ผู้เรียน
นั้นจะทาให ้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน
ช่วยให ้ผู้เรียนทางาน
เกี่ยวกับการเรียนที่ครู
มอบหมายได ้
นอกจากนั้นยังส่งเสริม
กระบวนการคิดของเด็ก
อีกด ้วย
ปัญหาที่ 2 เมื่อครูจัดกิจกรรมให ้ผู้เรียนเข ้าใช ้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช ้เพื่อ
เล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media
โดยเฉพาะ Face book ซึ่งไม่ได ้ใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือในการแสวงหาและสร ้างความรู้ของตน
วิธีแก ้ปัญหาคือ กิจกรรมให ้เหมาะสมกับผู้เรียน
ให ้เหมาะสมกับอายุ และกิจกรรมต ้องมีความน่าสนใจ
มีความแปลกใหม่ เพราะหากครูผู้สอนจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนที่มีเนื้อหาที่ยากเกินไปหรือง่ายเกินไป
เด็กก็จะไม่สนใจในกิจกรรมที่ครูจัดขึ้น เด็กจึงให ้ความ
สนใจกับการเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์
และ Social media
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู
เป็นการใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอการ
เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
(Transmit Knowledge) เช่น คอมพิวเตอร์
ช่วยสอน การเรียนการสอนโดยใช ้
คอมพิวเตอร์เป็นฐาน หรือการใช ้
คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้การใช ้คอมพิวเตอร์
รูปแบบนี้เป็นการนาเสนอการเรียนการสอน
โดยการให ้ผู้เรียนได ้รับกิจกรรม การทดสอบ
ผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจาก
ผู้เรียนด ้วยการให ้ผลป้อนกลับและกาหนด
กิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อให ้ผู้เรียนกระทา
ตามบทเรียนเป็นลาดับขั้นของกิจกรรมการ
เรียนการสอน
ครู
คอมพิวเตอร์
ถ่ายทอด
ความรู้
นาเสนอการ
เรียนการสอน
ผู้เรียน
ใช ้เครื่องมือ
2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้ช่วยสอน
บทบาทของคอมพิวเตอร์ใน
ฐานะเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทางาน
ต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครู
มอบหมาย เช่น การทารายงาน การคิด
คานวณ การสร ้างผลงานกราฟิก เป็นต ้น
ลักษณะของการใช ้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือช่วยผู้เรียนจาแนกได ้ดังนี้ การ
ประมวลคา โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรม
การนาเสนอ โปรแกรมการจัดทาฐานข ้อมูล
และเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ซึ่งผู้เรียน
สามารถเลือกใช ้โปแกรมเหล่านี้ในการช่วย
สร ้างผลงานให ้สาเร็จตามเป้าหมายได ้
คอมพิวเตอร์
ผู้เรียน
ผู้เรียนสามารถสร้างสื่อและ
ทาผลงานได้อย่างสาเร็จ
เป็นเครื่องมือ
3. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้เรียน
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่เป็น
ตัวกาหนดกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให ้
ผู้เรียนทาตาม กลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้
กาหนดวิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให ้
คอมพิวเตอร์ บทบาทของผู้เรียนจึงเป็น
ผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็น
ผู้เรียน การใช ้คอมพิวเตอร์ในแนวทางนี้
ผู้เรียนจะได ้รับหรือมีทักษะด ้านการจัดการ
ทักษะด ้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด ้านการ
แก ้ปัญหา
คอมพิวเตอร์
ผู้เรียน
ตัวกาหนด
กิจกรรมและ
วิธีการเรียนรู้
1. ครูจะพานักเรียนเข ้า website เรียนภาษาจีน online
http://thai.cri.cn/learnchinese/
3. ให ้นักเรียนเรียนรู้ด ้วยตนเองตั้งแต่ คาศัพท์ใหม่ บทเรียน
ภาพประกอบเสียง คาอธิบายการใช ้ภาษา อ่านประโยคตาม
สุดท ้ายให ้นักเรียนทาแบบทอสอบตรงท ้าประลองท ้ายบท
แล ้วบอกคะแนนครูเป็นรายบุคคล
2. ให ้นักเรียนคลิกตรงบทที่1 สวัสดี!第一课:你好!
http://thai.cri.cn/learnchinese/lesson01/1.html
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู
1. หลังจากที่นักเรียนเรียนรู้ด ้วยตนเองเป็นรายบุคคลตรง
บทที่1 สวัสดี ! 第一课:你好!
3. ให ้แต่ละกลุ่มนั้นร่วมกันสรุปเนื้อหาตรง คาอธิบายการใช ้
ภาษา ในรูปแบบของ power point แล ้วออกมานาเสนอหน้า
ห ้อง
2. ให ้นักเรียนแบ่งกลุ่มภายในห ้องเรียน กลุ่มละ5คน
2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้ช่วย
Introduction to technologies chapter 5

Contenu connexe

Tendances

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
201700 chapter 5
201700 chapter 5201700 chapter 5
201700 chapter 5goojaewwaow
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Ktmaneewan
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learningproranat
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 

Tendances (11)

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
201700 chapter 5
201700 chapter 5201700 chapter 5
201700 chapter 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learning
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 

En vedette

Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?
Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?
Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?DeltaChamber
 
Digipack analysis
Digipack analysisDigipack analysis
Digipack analysisPodge0123
 
Arusha | Jun-14 | Heather Cruickshank, Sustainable Implementation
Arusha | Jun-14 |  Heather Cruickshank, Sustainable ImplementationArusha | Jun-14 |  Heather Cruickshank, Sustainable Implementation
Arusha | Jun-14 | Heather Cruickshank, Sustainable ImplementationSmart Villages
 
4 nf 5 nf l #27 28
4 nf 5 nf l #27 284 nf 5 nf l #27 28
4 nf 5 nf l #27 28abhi_free
 
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresa
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresaSharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresa
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresaEvangelina González
 
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...Smart Villages
 

En vedette (8)

Practical3
Practical3Practical3
Practical3
 
Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?
Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?
Global Outlook: Double Dip Or Single Slog?
 
Practica n3
Practica n3Practica n3
Practica n3
 
Digipack analysis
Digipack analysisDigipack analysis
Digipack analysis
 
Arusha | Jun-14 | Heather Cruickshank, Sustainable Implementation
Arusha | Jun-14 |  Heather Cruickshank, Sustainable ImplementationArusha | Jun-14 |  Heather Cruickshank, Sustainable Implementation
Arusha | Jun-14 | Heather Cruickshank, Sustainable Implementation
 
4 nf 5 nf l #27 28
4 nf 5 nf l #27 284 nf 5 nf l #27 28
4 nf 5 nf l #27 28
 
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresa
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresaSharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresa
Sharepoint2010vuelcaenel social20computing20para20la20empresa
 
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...
Kathmandu | Apr-15 | Interactions Between Productive Use of Energy and Access...
 

Similaire à Introduction to technologies chapter 5

Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)FerNews
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5beta_t
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learningproranat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Turdsak Najumpa
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมNaCk Wanasanan
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 

Similaire à Introduction to technologies chapter 5 (20)

Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learning
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Innovation chapter 5
Innovation chapter 5Innovation chapter 5
Innovation chapter 5
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอม
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 

Plus de pompompam

INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 

Plus de pompompam (18)

chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 

Introduction to technologies chapter 5

  • 2. โรงเรียนบ ้านหนองใหญ่ได ้รับบริจาคห ้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได ้มีโครงการผ ้าป่ าซื้อคอมพิวเตอร์ให ้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ. โรงเรียนจึงได ้มีนโยบายให ้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช ้ คอมพิวเตอร์หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร ้างเองได ้ก็บูรณาการ คอมพิวเตอร์ในการสอน และเปิดช่วงเวลาให ้นักเรียนเข ้ามาใช ้ คอมพิวเตอร์ได ้ผลจากการประเมินการใช ้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนที่ ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบ หลังเรียนก็ยังเป็นเพียงการท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให ้ผู้เรียนเข ้าไปใช ้ คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช ้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ Face book ซึ่งไม่ได ้ใช ้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาและสร ้างการเรียนรู้ของตนเอง
  • 3.
  • 4. ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือ ในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา การ ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็ นเพียงการท่องจาเนื้ อหา ไม่ ส่งเสริมกระบวนการคิด จากปัญหา คือ ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็น เครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอน โดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการ ทดสอบ นาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาท ผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม กระบวนการคิด ซึ่งวิธีนี้ครูพัฒนาสื่อโดยการใช ้คอมพิวเตอร์ เป็นครู โดยวิธีนี้เป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม กระบวนการคิดของผู้เรียน แก ้ปัญหาได ้จากการที่ครูใช ้ คอมพิวเตอร์เป็นครูเพียงอย่างเดียว ให ้เพิ่มการใช ้คอมพิวเตอร์ เป็นผู้ช่วย และ การใช ้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน แนวทางการใช ้คอมพิวเตอร์เพื่อแก ้ปัญหา
  • 5. ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการ ถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็นเพียงการท่องจา เนื้ อหา ไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด การใช ้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วยนั้นเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการ ทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทา รายงาน การคิดคานวณ การสร ้างผลงานกราฟฟิก เป็นต ้น ซึ่งผู้เรียนสามารถ เลือกใช ้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร ้างผลงานให ้สาเร็จตามเป้าหมายได ้ แนวทางการใช ้คอมพิวเตอร์เพื่อแก ้ปัญหา การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้เรียนนั้น ก็คือจากคอมพิวเตอร์เป็น ตัวกาหนดกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให ้ผู้เรียนทาตามกลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้ กาหนดวิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให ้คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้เรียนจะต ้องมี ความเข ้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช ้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ใน วิถีทางที่ทาให ้คอมพิวเตอร์นั้นเข ้าใจคาสั่งและสามารถทางานตามที่ต ้องการ ได ้ การใช ้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะต ้องได ้รับหรือมีทักษะด ้าน การจัดการ ทักษะด ้านการคิด เชิงตรรกะ ทักษะด ้านการแก ้ปัญหา
  • 6. ปัญหาที่ 1 ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือ ในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้ อหาการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้ อหา การ ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็เป็ นเพียงการท่องจาเนื้ อหา ไม่ ส่งเสริมกระบวนการคิด *การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น ครู *การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้ช่วย *การใช ้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้เรียน นั้นจะทาให ้ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน ช่วยให ้ผู้เรียนทางาน เกี่ยวกับการเรียนที่ครู มอบหมายได ้ นอกจากนั้นยังส่งเสริม กระบวนการคิดของเด็ก อีกด ้วย
  • 7. ปัญหาที่ 2 เมื่อครูจัดกิจกรรมให ้ผู้เรียนเข ้าใช ้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช ้เพื่อ เล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ Face book ซึ่งไม่ได ้ใช ้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือในการแสวงหาและสร ้างความรู้ของตน วิธีแก ้ปัญหาคือ กิจกรรมให ้เหมาะสมกับผู้เรียน ให ้เหมาะสมกับอายุ และกิจกรรมต ้องมีความน่าสนใจ มีความแปลกใหม่ เพราะหากครูผู้สอนจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนที่มีเนื้อหาที่ยากเกินไปหรือง่ายเกินไป เด็กก็จะไม่สนใจในกิจกรรมที่ครูจัดขึ้น เด็กจึงให ้ความ สนใจกับการเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media
  • 8.
  • 9. 1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู เป็นการใช ้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอการ เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน (Transmit Knowledge) เช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การเรียนการสอนโดยใช ้ คอมพิวเตอร์เป็นฐาน หรือการใช ้ คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้การใช ้คอมพิวเตอร์ รูปแบบนี้เป็นการนาเสนอการเรียนการสอน โดยการให ้ผู้เรียนได ้รับกิจกรรม การทดสอบ ผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจาก ผู้เรียนด ้วยการให ้ผลป้อนกลับและกาหนด กิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อให ้ผู้เรียนกระทา ตามบทเรียนเป็นลาดับขั้นของกิจกรรมการ เรียนการสอน ครู คอมพิวเตอร์ ถ่ายทอด ความรู้ นาเสนอการ เรียนการสอน ผู้เรียน ใช ้เครื่องมือ
  • 10. 2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้ช่วยสอน บทบาทของคอมพิวเตอร์ใน ฐานะเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทางาน ต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครู มอบหมาย เช่น การทารายงาน การคิด คานวณ การสร ้างผลงานกราฟิก เป็นต ้น ลักษณะของการใช ้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือช่วยผู้เรียนจาแนกได ้ดังนี้ การ ประมวลคา โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรม การนาเสนอ โปรแกรมการจัดทาฐานข ้อมูล และเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ซึ่งผู้เรียน สามารถเลือกใช ้โปแกรมเหล่านี้ในการช่วย สร ้างผลงานให ้สาเร็จตามเป้าหมายได ้ คอมพิวเตอร์ ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถสร้างสื่อและ ทาผลงานได้อย่างสาเร็จ เป็นเครื่องมือ
  • 11. 3. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้เรียน บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่เป็น ตัวกาหนดกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให ้ ผู้เรียนทาตาม กลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้ กาหนดวิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให ้ คอมพิวเตอร์ บทบาทของผู้เรียนจึงเป็น ผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็น ผู้เรียน การใช ้คอมพิวเตอร์ในแนวทางนี้ ผู้เรียนจะได ้รับหรือมีทักษะด ้านการจัดการ ทักษะด ้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด ้านการ แก ้ปัญหา คอมพิวเตอร์ ผู้เรียน ตัวกาหนด กิจกรรมและ วิธีการเรียนรู้
  • 12.
  • 13. 1. ครูจะพานักเรียนเข ้า website เรียนภาษาจีน online http://thai.cri.cn/learnchinese/ 3. ให ้นักเรียนเรียนรู้ด ้วยตนเองตั้งแต่ คาศัพท์ใหม่ บทเรียน ภาพประกอบเสียง คาอธิบายการใช ้ภาษา อ่านประโยคตาม สุดท ้ายให ้นักเรียนทาแบบทอสอบตรงท ้าประลองท ้ายบท แล ้วบอกคะแนนครูเป็นรายบุคคล 2. ให ้นักเรียนคลิกตรงบทที่1 สวัสดี!第一课:你好! http://thai.cri.cn/learnchinese/lesson01/1.html 1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู
  • 14. 1. หลังจากที่นักเรียนเรียนรู้ด ้วยตนเองเป็นรายบุคคลตรง บทที่1 สวัสดี ! 第一课:你好! 3. ให ้แต่ละกลุ่มนั้นร่วมกันสรุปเนื้อหาตรง คาอธิบายการใช ้ ภาษา ในรูปแบบของ power point แล ้วออกมานาเสนอหน้า ห ้อง 2. ให ้นักเรียนแบ่งกลุ่มภายในห ้องเรียน กลุ่มละ5คน 2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นผู้ช่วย