SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
การ เสวนาเพื่อรับฟงความคิดเห็น
เรื่องการใหสัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ในวัน
พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2555 ณ หองประชุมไสว สุทธิพิทักษ อาคาร 6 ชั้น 7 มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย กรุงเทพฯ จัดโดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน สํานักงานแรงงานสัมพันธ รวมกับ
ศูนยวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มีผูเขารวมประมาณ 200 คน
นางณัชชา สุนทรพรรค นักวิชาการชํานาญการ พิเศษ สํานักแรงงานสัมพันธ กรมสวัสดิการ
และคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ไดนําเสนอเรื่องการใหสัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงาน
ระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ98 วา ความเปนมาของการเคลื่อนไหวเรียกรองใหสัตยาบัน นั้น
ไดมีการเสนอขอเรียกรองตอรัฐบาลในวันแรงงานแหงชาติ ตั้งแตป 2535 การเคลื่อนไหวเรียกรองของ
คณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย และคณะทํางานผลักดันอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 87 และ98 ตั้งแต
เดือนตุลาคม 2552 ถึงปจจุบันองคกรไตรภาคีใหขอเสนอแนะในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ
กําหนดทิศทางการทํางานของกรมฯ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2553 วา ขอใหพิจารณารับรองอนุสัญญาILO
ทั้ง 2 ฉบับเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงโลก กรณีการเปดเขตการคาเสรี และการเปนประชาคม
อาเซียน เพื่อปองกันปญหา และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในการแขงขันทางการคาในอนาคตของ
ประเทศ และสมาพันธแรงงานโลก สํานักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และสํานักงานประจําประเทศไทย
และสหพันธแรงงานโลก ไดยื่นหนังสือขอตกลงรวมระหวางหนวยงานตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง
แรงงาน เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2553 เรียกรองใหรัฐบาลไทยรับรองอนุสัญญา ILOทั้ง 2 ฉบับ เพื่อ
นําไปสูการปฏิรูปกฎหมายแรงงานใหสอดคลองกับอนุสัญญาดังกลาวอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ98
เปนอนุสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ที่อยูในหมวดเสรีภาพในการสมาคม และเปน 2 ใน 8
ของอนุสัญญาพื้นฐานที่ประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบัน ซึ่งประเทศไทยไดใหสัตยาบันอนุสัญญาพื้นฐาน
แลว 5 ฉบับ ไดแก 1. อนุสัญญาฉบับที่ 29 วาดวยแรงงานบังคับ 2. อนุสัญญาฉบับที่ 105 วาดวยการ
ยกเลิกแรงงานบังคับ 3. อนุสัญญาฉบับที่ 100 วาดวยคาตอบแทนที่เทาเทียมกัน 4. อนุสัญญาฉบับที่
138 วาดวยอายุขั้นต่ํา และ5. อนุสัญญาฉบับที่ 182 วาดวยรูปแบบที่เลวรายที่สุดของการใชแรงงานเด็ก
ปจจุบันมีกระเทศที่ใหสัตยาบันอนุสัญญาฉบับที่ 87 จํานวน 150 ประเทศ และใหสัตยาบันฉบับที่ 98
จํานวน 160 ประเทศ จากประเทศสมาชิกทั้งหมด 183 ประเทศ สาระสําคัญของอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ
โดยอนุสัญญาฉบับที่ 87 มีสาระสําคัญ ดังนี้ คนงาน และนายจางสามารถใชสิทธิในการจัดตั้งสมาคม
และรวมตัวกันไดอยางเสรี โดยไมตองไดรับการอนุญาตลวงหนาจากหนวยงานของรัฐ องคกรของ
คนงาน และนายจาง สามารถมีธรรมนูญ และขอบังคับของตนเอง สามารถเลือกผูแทนของตนเองไดโดย
เสรี รวมทั้งบริหารจัดการ และกําหนดกิจกรรม และแผนงานของตนเองได โดยที่หนวยงานของรัฐตองละ
เวนการแทรกแซงใดๆ อันจะเปนการยุติ หรือจํากัดสิทธิในการดําเนินกิจกรรมขององคกรของคนงาน
และองคกรนายจาง และองคกรของคนงาน และองคกรนายจางตองมีเสรีภาพในการเขารวมองคกรตางๆ
ทั้งในระดับประเทศ และระหวางประเทศการใชสิทธิของคนงาน และนายจาง และองคกรของกลุมคน
เหลานี้ ตองใหการเคารพกฎหมายของทองถิ่น ซึ่งกฎหมายดังกลาว จะตองไมมีผลเสีย หรือนําไปใชให
เกิดผลเสียตอหลักประกันที่กําหนดไวในอนุสัญญาฉบับนี้ขอบเขตของอนุสัญญานี้ บังคับใชกับนายจาง
และลูกจางทุกคนทั้งในภาครัฐ และเอกชน รวมถึงขาราชการ และการที่จะนําอนุสัญญาฉบับนี้ใชบังคับ
กับกองกําลังทหาร หรือตํารวจ จะตองมีการพิจารณากําหนดไวในกฎหมายของประเทศนั้นสาระสําคัญ
ของอนุสัญญาILO ฉบับที่ 98 คือ
1. คุมครองคนงานจากการกระทําอันเปนการเลือกปฏิบัติ ในการจางงาน เชน ทําใหคนงานไม
เขารวมสหภาพแรงงาน หรือสละการเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน
2. คุมครองคนงานจากการถูกไลออกจากงาน หรือมีอคติตอคนงานดวยสาเหตุที่ เปนสมาชิก
สหภาพแรงงาน หรือเขารวมกิจกรรมของสหภาพแรงงาน
3. คุมครององคกรของคนงาน และองคกรของนายจาง จากการกระทําอันเปนการแทรกแซง ซึ่ง
กันและกัน ไมวาจะเปนการแทรกแซงในดานการกอตั้งองคการ การปฏิบัติงาน หรือการบริหาร
หรือจากการกระทําใดๆอันเปนการมุงสนับสนุนใหองคกรของคนทํางนอยูภายใตการ ควบคุม
ของนายจาง หรือองคกรของนายจาง และ
4. สงเสริมใหมีการพัฒนา และการใชประโยชนจากกลไกการเจรจาโดยสมัครใจระหวางนายจาง
หรือองคกรนายจาง กับองคกรของคนงานในเรื่องกฎเกณฑ และเงื่อนไขของการจางงาน
5. ขอบเขตของอนุสัญญาฉบับนี้ ไมใชบังคับกับขาราชการที่มีหนาที่เกี่ยวของกับบิหารการจาง
งาน
6. การนําหลักการของอนุสัญญาฉบับนี้ ไปบังคับใชกับกองกําลัง และตํารวจใหเปนไปตาม
กฎหมายภายในประเทศนั้นๆพันธะของประเทศไทยภายหลังการใหสัตยาบันคือ
1 ตองปฏิบัติตามบทบัญญัติของอนุสัญญาในทุกมาตรา และในทุกถอยคําที่เปนเงื่อนไข
2. แกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ
สัมพันธ พ.ศ. 2543 ซึ่งขณะนี้กระทรวงแรงงานไดมีการแกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธทั้ง
2 ฉบับ ซึ่งอยูระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อใหเกิดความสอดคลองกับ
อนุสัญญา รวมถึงแกไขบทบัญญัติในกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับอื่นๆที่ไมสอดคลองกับ
อนุสัญญาดังกลาว
3. เมื่อมีการแกไขกฎหมายตามขอ 2 แลว จะตองสามารถปฏิบัติไดจริงภายหลังการใหสัตยาบัน
เพราะหากปฏิบัติไดไมครบถวน ประเทศไทยจะตองจัดทํารายงานชี้แจงทุกๆ 2 ป นับตั้งแตวันที่
ใหสัตยาบัน หรือถูกประณามจากองคการแรงงานระหวางประเทศ และประเทศอื่นๆ
4. หากมีการใหสัตยาบันไปแลว จะยังไมสามารถยกเลิกการใหสัตยาบันไดจนกวาจะครบ 10 ป
นับแตวันที่อนุสัญญามีผลบังคับใชผลดีของการใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ คือ
1. เกิดการขับเคลื่อนการเรียนรู และพัฒนาในระบบแรงงานสัมพันธของประเทศไทย
อันจะนําไปสูความเขมแข็ง และสรางอํานาจตอรองบนพื้นฐานของความเปน
ประชาธิปไตย
2. สอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 64 และ 3. เปน
การแสดงทาทีของประเทศไทยตอประชาคมโลกวา ประเทศไทยมีกฎหมาย และแนว
ปฏิบัติภายในประเทศที่สอดคลองกับมาตรฐานแรงงานขององคการแรงงาน ระหวาง
ประเทศ และพรอมที่จะปรับปรุง และพัฒนากฎ และแนวปฏิบัติภายในประเทศทัดเทียม
กับมาตรฐานสากล
ผลกระทบจาการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งมีการพูดถึงความมั่นคง สิทธิแรงงาน
ขามชาติ โดยสรุปคือ 1. การเปดเสรีใหแรงงานขามชาติจัดตั้งองคกรแรงงานของตนได เปนประเด็น
ปญหาความมั่นคงภายในประเทศ จําเปนตองมีการศึกษา และพิจารณารวมกันระหวางหนวยงานที่
เกี่ยวของเพื่อใหเกิดความชัดเจนใน เชิงนโยบายแหงรัฐ และการเตรียมมาตรการรองรับปญหาในสังคมที่
อาจตามมา 2. อาจเกิดความขัดแยงในวงการแรงงานมากขึ้น จากเสรีภาพในการรวมตัวจัดตั้งองคกร ดัง
จะเห็นไดวา แมในปจจุบันประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ และมีการควบคุมการ
จัดตั้งองคกรดานแรงงาน โดยการจดทะเบียนองคการแรงงาน ยังมีการจัดตั้งสภาองคการแรงงานของทั้ง
ฝายนายจาง และลูกจางถึง 25 สภา 3. การใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ มีผลกระทบ และมีผล
ผูกพันกับนายจาง ลูกจาง หนวยงานภายนอก รวมทั้งองคกรสวนทองถิ่นมากกวา อนุสัญญาฉบับอื่นๆ
ที่เกี่ยวของกับหนวยงานภายนอกเพียงบางสวน ดังนั้น การพิจารณาใหสัตยาบัน โดยปราศจากการ
ยอมรับจากหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกระทรวงแรงงาน อาจถูกโตแยงคัดคานได ดังนั้น การทําความ
เขาใจกับทุกภาคสวนในสังคมไทย จําเปนตองใชระยะเวลา และความรอบคอบ มิฉะนั้นการใหสัตยาบัน
อนุสัญญาดังกลาวอาจกอใหเกิดผลเสียมากกวาผลดีแก สังคม และวงการแรงงานของประเทศการ
ดําเนินงานเพื่อเตรียมความพรอมในการใหสัตยาบัน อนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ98 โดยเมื่อป 2546
ไดมีการจัดจางที่ปรึกษาดําเนินการศึกษาวิจัยขอเท็จจริงและความพรอมของ ประเทศไทยดานกฎหมาย
การบริหารจัดการ แนวทางในการปรับปรุงกฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวของรวมทั้งศึกษาทัศนคติ ความ
คิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียในทุกกลุมอาชีพ ผลการวิจัยดังกลาวไดสรุปวา ควรชะลอการใหสัตยาบัน
อนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับออกไปกอนเพื่อใหมีการศึกษาผลดี ผลเสีย และผลกระทบในทุกดานใหครอบคลุมป
2551 ไดมีการแตงตั้งคณะทํางานพิจารณาแกไขกฎหมายวาดวยการแรงงานสัมพันธใหสอด คลองกับ
หลักการของอนุสัญญา การดําเนินการปรับปรุงแกไขบทบัญญัติของกฎหมายแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518
และกฎหมายแรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. 2543 ใหสอดคลองกับอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ จัดทําบันทึก
หลักการ และเหตุผลประกอบการพิจารณายกรางแกไขกฎหมายทั้ง 2 ฉบับ เพื่อนําเขาสูการนําเสนอราง
พระราชบัญญัติเมื่อป 2552 มีการจัดทําการสํารวจความคิดเห็นไปยังหนวยงานของภาครัฐเพื่อให
ความเห็นตอ การใหสัตยาบัน ผลสํารวจที่ไดรับขอมูลจากหนวยงาน 66 แหง สรุปไดวา ภาครัฐสวนใหญ
มีความเห็นวา ประเทศไทยใหสัตยาบัน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการบริหารงานบุคคลของหนวยงาน
และเห็นวาประเทศไทยควร ใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ จึงมีการแตงตั้งคณะทํางานเพื่อให
สัตยาบันซึ่งประกอบดวยทุกฝายทั้งนายจาง ลูกจาง ขาราชการ นักวิชาการ มีหนาที่พิจารณาแนว
ทางการใหสัตยาบัน และใหขอเสนอแนะตอการดําเนินงานของกระทรวงแรงงาน ตลอดจนดําเนินการ
เตรียมความพรอมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกับการให สัตยาบัน มีการจัดประชุม และที่ประชุม
เห็นชอบใหกระทรวงแรงงานเสนอเรื่องการใหสัตยาบัน ILOทั้ง 2 ฉบับเขาสูการพิจารณาคณะรัฐมนตรีป
2553 ตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม 2553 กระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ไดเสนอ
เรื่องการใหสัตยาบัน พรอมรางการปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธทั้ง 2 ฉบับ ใหกับ
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบในการใหสัตยาบัน
และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 เห็นชอบอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ใหเสนอเขา
รัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบตามมาตร 190 วรรคสองของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
กอนดําเนินการใหสัตยาบัน พรอมอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ (ฉบับที่..) พ.ศ. ….
และรางพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ใหสงสํานักงานกฤษฎีกาตรวจ
พิจารณา หลังจากนั้นจึงสงใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณา และตอมาในวันที่ 22 ธันวาคม 2253 สํานัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดสงรางพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธทั้ง 2 ฉบับใหคณะกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแกไข
ปรับปรุง ซึ่งในวันที่ 18 มกราคม 2554 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นไดเสนอ
อนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับตอประธานรัฐสภาเพื่อขอใหนําเสนอรัฐสภาใหความเห็นขอบ กอนใหสัตยาบัน ซึ่ง
วันที่ 11 กุมภาพันธ 2554รัฐสภาพิจารณาแกไขเพิ่มเติมในมาตรา 190 โดยบัญญัติใหมีกฎหมายวาดวย
การกําหนดประเภทกรอบการเจรจา ขั้นตอน และวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความั่นคง
ทางเศรษฐกิจ หรือสังคมของประเทศอยางกวางขวางฯ และใหดําเนินการจัดใหมีกฎหมายลําดับรองตาม
มาตรา 190 ภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ ตอมาวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ครม.มีมติขอ
ถอนอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับดังกลาวออกจากการพิจารณาของรัฐสภา ดวยอางเหตุผลรอ รางกฎหมาย
แรงงานสัมพันธที่เกี่ยวของกอน เมื่อยุบสภา จึงนําเรื่องกลับมาที่กระทรวงแรงงานความคืบหนาปจจุบัน
คือ รางพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. และรางพ.ร.บ.แรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ (ฉบับที่
..) อยูระหวางการตรวจพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และการดําเนินงานเพื่อเตรียมความพรอม
ในการใหสัตยาบัน อยูระหวางการจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามมาตรา 190 วรรค
สามของรับธรรมนูญฯแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2)พุทธศักราช 2554 เกี่ยวกับการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง
2 ฉบับ ซึ่งไดมีการรับฟงทั้งหมด 5 ภาค และไดผานการรับฟงความคิดเห็นมาแลว 4 ครั้ง ไดแก
ภาคเหนือ จัดที่จังหวัดเชียงใหม
ภาคอีสาน ที่จังหวัดขอนแกน
ภาคตะวันออก จัดที่จังหวัดชลบุรี
ภาคใตจัดที่จังหวัดสุราษฎรธานี
และวันนี้จัดครั้งสุดทายที่กรุงเทพมหานคร เมื่อดําเนินการแลวเสร็จสิ้นการรับฟงความคิดเห็น
ตามขั้นตอนใหเสนอตอคณะรัฐมนตรีตอไปทั้งนี้ ขอสังเกตจากความเห็นของหนวยงานอื่นๆ ที่ไดสํารวจ
นั้น โดยสรุปคือ ผูใชแรงงานเห็นวาควรมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับไดเลย โดย ไมตองรอให
แกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เสนอความเห็นวาตอคณะรัฐมนตรี
วาควรใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับเชนกัน แตก็มีบางหนวยงานเห็นวา ควรใหสัตยาบันเฉพาะอนุสัญญาฉบับ
ที่ 98 เพียงฉบับเดียว เพราะการใหสัตยาบันฉบับที่ 87 จะมีผลกระทบถึงความมั่นคงของชาติ
เนื่องมาจากการรวมตัวของแรงงานขามชาติ และภาครัฐควรมีขั้นตอนในการควบคุมแรงงานขามชาติใน
ลักษณะกําหนดเงื่อนไขดาน กฎหมาย โดยไมควรเปดเสรีอยางเต็มที่ และสมควรที่จะเก็บภาษีแรงงาน
ขามชาติดวย และหากจะใหสัตยาบันอนุสัญญาก็ไมเปนปญหา เนื่องจากอนุสัญญาไมเอื้อประโยชนตอ
แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายจนกวาจะมี การพิสูจนสัญชาติใหถูกตองกอน และถาปฏิบัติตอเขาเยี่ยง
มนุษยชาติทั่วไปก็จะเปนกําลังในการพัฒนาประเทศ
เราซึ่ง ILO เห็นวาแรงงานขามชาติที่ไมถูกกฎหมาย จะไมไดรับสิทธิในการรวมตัว และการ
เจรจาตอรองบางหนวยงานเห็นวา ควรยกเวนในการปฏิบัติตามอนุสัญญาสําหรับจังหวัดที่มีความเสี่ยง
สูงดานความ มั่นคงของชาติที่สืบเนื่องจากการรวมตัวเปนสมาคมโดยเสรีภาพของแรงงานขาม ชาติ โดย
พิจารณาจังหวัดที่มีสถิติการเคลื่อนยายแรงงานขามชาติเขามาจํานวนมาก เปนตน สวนของILO แจงวา
การตั้งขอสงวนสิทธิตามอนุสัญญานั้นอนุญาตใหมีการปฏิบัติตามอนุสัญญาใน ลักษณะ แตกตางกันได
ซึ่งอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ มีมาตั้งแตป ค.ศ. 1948 และค.ศ.1949 ซึ่งเปนประเทศตะวันตกที่มีเมืองขึ้น จึง
กําหนดใหปฏิบัติตามอนุสัญญาในเมืองขึ้นนั้นๆ แตกตางกันได แตประเทศไทยเปนประเทศไมมีเมืองขึ้น
และจังหวัดตางๆไมใชเมืองขึ้นของไทย ดังนั้น ILO จะไมยอมรับการตั้งขอสงวนสิทธิของไทยทางดาน
ความมั่นคงของประเทศ รัฐคงจะตองออกกฎหมายควบคุมดูแลแรงงานขามชาติ โดยเฉพาะการควบคุม
การชุมนุมรวมตัวโดยเสรี ในสภาพปจจุบันแรงงานขามชาติไมวาจะเขาเมืองถูกกฎหมาย หรือผิด
กฎหมาย ศาลไดบังคับใชกฎหมายไทยโดยเสมอภาคเทาเทียมกันรางพระราชกฤษฎีกากําหนด
หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการรวมกลุมขาราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. …. ปจจุบันอยูในขั้นตอน
รอ สนง.คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอรางเขาสูการพิจารณาของครม.ใชบังคับเฉพาะขา ราชการพลเรือน
สามัญเทานั้น ไมรวมตํารวจ ทหาร ตุลาการ รัฐสภา และขาราชการสวนทองถิ่น มีเจตนารมณ คือ การ
รวมกลุมของขาราชการพลเรือนสามัญตองไมกระทบตอการบริหารราชการแผนดิน ไมกระทบตอการ
บริหารสาธารณะ และไมมีวัตถุประสงคทางการเมือง และเห็นควรที่จะไดเผยแพรความรู ขอมูล ภายใน
สถานศึกษาใหแกนักเรียน นักศึกษาที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษาเพื่อใหรูสิทธิหนาที่ขั้นพื้นฐานในการ
รวมตัว และการคุยกับนายจางอยางสันติวิธี กอนที่จะเขาสูตลาดแรงงาน
โดยสรุปขอสังเกตสวนใหญคอนขางกังวลเรื่องการรวมตัวของ แรงงานขามชาติ ที่อาจสงผล
กระทบ และมีความกังวลเรื่องการรวมตัวของขาราชการที่อาจมีการนัดหยุดงานหรือกระทํา การที่สงผล
ตอความมั่นคงของชาติไดนายทิม เดอ เมเยอร ผูเชี่ยวชาญอาวุโส ดานมาตรฐานแรงงานระหวาง
ประเทศ และกฎหมายแรงงานองคการแรงงานระหวางประเทศไทย กลาววา ประเทศไทยไดเขารวม
กอตั้งและเปนสมาชิกองคการแรงงานระหวาง ประเทศ (ILO) ตั้งแตป ค.ศ.1919 การรับรองอนุสัญญา
ILO ฉบับที่87 และ98 ถือวาเปนหลักประกันใหกับลูกจาง นายจาง ในดานการปกปองสิทธิ เสรีภาพของ
ทั้งสองฝาย ซึ่งหลังการใหสัตยาบันแตละประเทศจะกําหนดหลักเกณฑกฎหมายดานแรงงาน สัมพันธกัน
ตามลักษณะของแตละประเทศที่แตกตางกันไปการที่ประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2
ฉบับ นั้นก็มีอีกหลายประเทศที่ไมไดใหสัตยาบันซึ่งมีกลุมประเทศที่เปน สังคมนิยม และที่เคยเปนสังคม
นิยม เชน เวียดนาม ลาว จีน ซึ่งยังไมไดใหสัตยาบัน เพราะลูกจางยังไมสามารถที่จะเลือกตัวแทนของ
ตนเองได แตตองเขาเปนสมาชิก โดยรัฐบาลจะกํากับดูแล อีกกลุมคือ ประเทศสิงคโปร มาเลเซีย ที่อาง
วา ในประเทศมีคนหลากหลายชาติพันธุ ยังมีประเทศเกาหลีที่ไมไดใหสัตยาบัน ประเทศเกาหลีใตเปน
ตลาดเสรี อางวา มีการแบงแยกประเทศอาจทําใหถูกแทรกแซงจากอีกฝายได ยังมีประเทศใหญๆเชน
อิหราน ที่ปกครองโดยระบบศาสนา มีตัวอยางในกลุมของOECD คือประเทศยักษใหญ 34 ประเทศที่
ร่ํารวย ทุกประเทศไดมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 อาจมีขอยกเวนบาง
แตมีบางประเทศที่ไมใหสัตยาบัน เชนสหรัฐอเมริกา นิวซีแลนใหสัตยาบันฉบับที่ 87 แคนนาดา
ใหสัตยาบันฉบับที่ 98 หากถามประเทศเหลานี้จะตอบวาเขาไดใหสิทธิ เสรีภาพและใหประชาชนมีสวน
รวมทางเศรษฐกิจ สังคม ทําใหเกิดความเจริญกาวหนา คําถาม เราควรเปนประเทศที่ร่ํารวย หรือเปนคน
จนในประเทศรวย ดีกวาเปนคนรวยในประเทศจน 3 เทา และคิดวาควรใหสัตยาบันอนุสัญญาILOเพียง
ฉบับใดฉบับหนึ่ง หรือวาใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ ประชาคมโลกเห็นวาควรใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ
เนื่องจากไมสามารถแยกการเจรจาตอรองออกจากสิทธิเสรีภาพในการรวมตัวได และมีสิทธิในการนัด
หยุดงาน ควรนํามาใชในการปกปองสิทธิองสมาชิกในการตอรอง ไมใชในการนํามาใชในการกอความ
วุนวายจําเปนตองใหสัตยาบันหรือ เนื่องจากรัฐธรรมนูญมีกําหนดใหสิทธิในการรวมตัวเจรจาตอรองอยู
แลว คําตอบ คือ จําเปนตอใหสัตยาบันดวยเหตุผลวาประชาคมโลกเรียกรองใหสัตยาบัน เพื่อประชาคม
โลกจะไดเขามามีสวนรวม และรัฐธรรมนูญ สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดอีก 5 ป 10 ป หลักการ
รัฐธรรมนูญอาจถูกแกไข หากใหสัตยาบันแลวก็ไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดสําหรับการติดตามบริบทที่
ILO ยอมรับ คือ มีการสนับสนุนใหมีการรวมตัว เจรจาตอรองกัน และมีการปฏิบัติตามอนุสัญญาเรื่อง
แรงงานขามชาติจะทําอยางไร? แรงงานขามชาติมีทั้งที่มาแบบผิดปกติ คือไมมีเอกสาร สําหรับแรงงาน
ขามชาติที่มีเอกสาร ควรมีสิทธิตั้งสหภาพแรงงานได เพราะตองมีการทํางานในตําแหนงพื้นที่ และ
สามารถอยูอาศัยทํางานได 2-3 ปเปนตน สวนแรงงานขามชาติที่เขามาผิดกฎหมาย ไมมีเอกสารสิทธิใน
การสมาคมก็เปนสิทธิที่เขาเปนแรงงานปกติ แตใหสิทธิในการรวมตัวคงไมได
แตขอเท็จจริงเขาเขามาในประเทศไทยมาทํางานก็ควรไดรับสิทธิตามกฎหมายแรงงาน ระดับ
หนึ่ง และการเรียกรองสิทธินั้นดวยการรวมตัวเจรจาตอรอง คือแรงงานกลุมนี้ไมมีสิทธิจัดตั้งองคกร แตมี
สิทธิที่เกิดจากการทํางานมาแตอดีต และควรไดรับสิทธิ หลักการคือ การอยู หรือเขามาทํางานใน
ประเทศอยางผิดกฎหมาย แตมีคนที่ไดรับประโยชนจากการทํางานของเขา คือนายจาง เขาจึงมีสิทธิ
ไดรับความคุมครองตามกฎหมายไมควรปลอยใหเขาไมมีสิทธิและ ไมไดรับสิทธิ หลักการสําคัญ คือการ
ปฏิบัติอยางเทาเทียมกันระหวางพลเมืองกับแรงงานขามชาติเสรีภาพกับความมั่นคงเกี่ยวของกันอยางไร
กับแรงงานขาม ชาติ คือ อยูในมาตรา 8 วาดวยเสรีภาพนั้นอยูภายใตกฎหมายและขอกําหนดเองแตละ
ประเทศ สหภาพแรงงานที่ตั้งขึ้นมาเพื่อกอใหเกิดความรุนแรง ไมเกี่ยวกับผลประโยชน ของสมาชิก
อนุญาตใหลมสหภาพแรงงานได ซึ่งรวมทั้งสหภาพแรงงานที่ไมมีการดําเนินการอยางเปนประชาธิปไตย
ใหถอดถอนได แตกฎหมายของประเทศตองตราไววา หนวยงานบทบาทการบริหาร เชน ศาล บัญญัติ
ตามกฎหมายใหกระทําการถอดถอน หรือยุบสหภาพแรงงานได ควรมีการระบุรายละเอียด ขอกําหนด
ทั้งหมดไมวา จะเปนการยกเลิก ก็ตองทําหลังขบวนการดําเนินการทางยุติธรรมแลว และไมใหหนวยงาน
ราชการของรัฐที่มาอนุมานลวงหนาขีดความแขงขันทางการคา คาจาง และเงินเฟอแงมุม สังคมใน
ประเทศไทย คือประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ หมายความวา มีคนจํานวนนอยที่มีรายได และ
ตองหารายไดเพิ่มมากขึ้น คนเหลานี้ ตองมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชิงเศรษฐศาสตร สิ่งที่มองหาระบบใน
อนาคต คือ ตองเพิ่มผลิตภาพ รายไดที่สูงขึ้น มีการเรียกรองคาจางที่เพิ่มขึ้น และนายจางก็จะเรียกรอง
ใหลูกจางเพิ่มผลิตภาพมากขึ้น จึงตองมีกลไกกลางในการทําใหทั้งคาจาง และผลิตภาพเพิ่มขึ้น กิจกรรม
เจรจาตอรองรวมจะเปนระบบที่ลูกจางมาบอกความตองการเจาหนาที่รัฐบอกวาอยางไร? ก็มีหลายกลุม
การรวมตัวเจรจาตอรองก็สามารถกําหนดใหสอดคลองกับสถานการณของ แตละกลุมได หลักการคือ
การที่ทําใหภาครัฐ ขาราชการ ครู รัฐวิสาหกิจ สามารถจัดตั้งองคกรสมาคมได และกฎหมายไมควรมี
บทบัญญัติหามไวปญหาแรงงานผิดกฎหมายถือเปนปญหาใหญสําหรับหลายประเทศ อนุสัญญาILO
ฉบับที่ 143 เพื่อการเคารพสิทธิแรงงานที่เขาเมืองผิดกําหมาย แตไมใชการไดสิทธิเทากับคนที่เขาเมือง
ถูกกฎหมาย แตก็ควรไดรับสิทธิ เพราะวา มีคนไดรับสิทธิจากการทํางานของแรงงานขามชาติผิด
กฎหมายนายจางไมควรมีสิทธิในการขมขูแรงงานขามชาติ หากมีการเรียกรองใหนายจางปรับคาจางขั้น
ต่ําตามกฎหมาย ดวยการสงกลับประเทศ การที่แรงงานขามชาติถูกละเมิดสิทธิดานแรงงาน แตถูก
สงกลับประเทศเนื่องจากการเขาเมืองผิดกฎหมาย เมื่อเขาถูกสงกลับประเทศไปแลว จะบอกไดอยางไร
วาถูกนายจางละเมิดสิทธินายชาลีลอยสูง
ประธานคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย กลาววา ขบวนการแรงงานไดมีการเคลื่อนไหวให
รัฐบาลรับรองอนุสัญญาองคการแรงงาน ระหวางประเทศ (ILO)มีตั้งแตป 2535 จนถึงปจจุบัน ซึ่งเมื่อป
2552 ขบวนการแรงงานไดจับมือกันทุกสวน ประกอบดวยสภาองคการลูกจาง สหพันธแรงงาน กลุม
สหภาพแรงงาน สมาพันธแรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ และคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย เพื่อ
เคลื่อนไหวรณรงคผลักดันใหรัฐบาลรับรองอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งก็มีแรงตานทางสังคมที่มองเรื่อง
ความมั่นคงของประเทศ ถึงกีดกันการรวมตัวของแรงงานขามชาติ เมื่อปลายป 2553ปลายรัฐบาล
ประชาธิปตย ทางกระทรวงแรงงานไดมีการตั้งคณะทํางานฯเสนอใหมีการรับรองอนุสัญญา ซึ่งกฤษฎีกา
มีการตีความวาไมเกี่ยวกับมาตรา 190 และรัฐบาลไดดึงเรื่องกลับมาที่กระทรวงแรงงานเพื่อรอกฎหมาย
รองนายชินโชติแสงสังข ประธานสภาองคการ ลูกจางแรงงานแหงประเทศไทย นําเสนอวา ประเทศไทย
ควรรับรองอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ไมควรมีการคัดคาน
อะไรอีก หมดเวลาที่จะมาจัดการแลกเปลี่ยน สัมมนา การวิเคราะห วิจัย เพราะทํามามากพอแลวการ
เรียกรองของผูใชแรงงานที่มีมานาน เปนการตกผลึกไปแลววาตองการใหมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง
สองฉบับ การมาเปดรับฟงขอเสนอวาเห็นดวย หรือไมเห็นดวยคงไมจําเปนอีกไมอยากไดยินวาการ
กลาวหาวาใหสัตยาบันแลวจะเกิดปญหา แรงงาน และแรงงานขามชาติจะมีการรวมตัวกัน การให
สัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 ทั้ง 2 ฉบับตองรับทั้ง 2 ฉบับ จะใหเพียงฉบับใดฉบับหนึ่งคง
ไมไดหากแรงงานขามชาติมีการรวมตัวกัน เกิดปญหาเกี่ยวกับความมั่นคง ถามสังคมไทยทุกวันนี้ขาด
แรงงานขามชาติไดหรือไม ทําไมกลัวการรวมตัวกันของแรงงานขามชาติ เมื่อเขามาถูกกฎหมายทําไมจะ
รวมตัวไมได และมีการพูดกวางถึงการรวมตัวของขาราชการ ตํารวจ ทหารรวมตัว แลวมีการนัดหยุด
งาน เกิดความไมมั่นคงกับประเทศ และบอกวาประเทศไทยไมไดหามตั้งสหภาพแรงงาน สามารถตั้งได
และมีสหภาพแรงงานรวม 1,400 แหง จากสถานประกอบกิจการ 4 แสนแหง จริงแลวมีกี่สหภาพแรงงาน
ที่มีการดําเนินกิจกรรมทําหนาที่ กฎหมายแรงงานไทยไมไดใหความคุมครอง หรือสนับสนุนการรวมตัว
จริง มีการลมสหภาพแรงงานตั้งแตเริ่มกอตั้ง หาเหตุเลิกจางกลั่นแกลง แทรกแซงการบริหารงาน มีการ
บอนไซสหภาพใหแคระแกน สหภาพแรงงานอยูอยางไรทําไมไมโตถูกจํากัดสิทธิมากมายการให
สัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับเปนการรับรองกับประชาคมโลกวา เปนสัญลักษณในการดูแลคน ไม
จํากัดสิทธิเสรีภาพในการรวมตัว และเจรจาตอรองรวม ซึ่งเปนประโยชนกับการคาการลงทุน
การรวมตัวตั้งสหภาพแรงงาน ในประเทศไทยสามารถทําไดอยางเปดเผย ไมตองจัดตั้งสหภาพ
แรงงานแบบเดิมที่ลักขโมย แบบลับๆ หลบๆซอนๆเหมือนกอการรายอีก
นางสิริวัน รมฉัตรทอง เลขาธิการสภาองคการนายจางแหงประเทศไทย กลาววา ขอกังวลของ
นายจาง และขอที่เห็นดวย คือ การใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 คงไมตองรอ เพราะนายจางก็มี
ปญหาดานกฎหมายเรื่องการจัดตั้ง การรวมตัว เพราะมีขอกําหนดเรื่องสัญชาติไว นายจางที่เปนคน
ตางชาติก็ไมสามารถที่จะมารวมตัวดวยไดเชนกัน
ขอสรุปจากตัวแทนนายจาง คือ รัฐบาลมีการใหงบประมาณสนับสนุน การอบรม แมวาจะมีการ
สนับสนุนอยางเปนทางการใหแรงงาน ในการรวมตัว เจรจาตอรอง ทําไมมีการรวมตัวนอย หากดีจริง
ทําไมคนไมจัดตั้งสหภาพแรงงานสหภาพแรงงานมีสิทธิในการนัดหยุดงาน เมื่อมีการรวมตัวเจรจาตอรอง
รวมถึงมีการลาปวย ลากิจ ลาหยุดตางๆ เพื่อใหการสนับสนุนสหภาพแรงงาน ตรงนี้ตองตอบขอกังวลกับ
นายจางเชนกัน
แรงงานขามชาติมีสิทธิในการสมัครเปนสมาชิกสหภาพแรงงานอยู แลว เชนเดียวกับนายจาง
ตางชาติที่มาลงทุนในประเทศไทยก็ไมมีสิทธิในการตั้ง องคกรเชนกัน ก็เปนไดแคสมาชิก หากแรงงาน
ขามชาติสามารถรวมตัวตั้งสหภาพแรงงานได ในกลุมที่มาอยางถูกกฎหมาย ถามวา ในสวนไมถูก
กฎหมาย แตมีใบอนุญาตใหทํางานรัฐจะทําอยางไร จะดูแลอยางไร มีอะไรที่จะกําหนดมาเพื่อแกขอของ
ใจ กังวลใจของนายจางไดเรื่องของสิทธิการรวมตัวเจรจาตอรอง กระทรวงแรงงานควรมีการจัดอบรมให
ความรูกับนายจางเพื่อสรางความเขาใจ เชนเดียวกับอบรมใหกับสหภาพแรงงานวา สหภาพแรงงาน
ไมใชเชื้อโรค ไมนากลัว แมวา รัฐจะมีงบประมาณในการอบรมใหกับแรงงาน หากนายจางไมใหหยุด
ไมใหลางาน และไมสนับสนุน แรงงานจะไดรับการอบรมไดอยางไร และนายจางก็จะปลอยใหแรงงานอยู
แบบไมรูตอไป
นายสุรพงษ กองจันทึก นักวิชาการดานแรงงานขามชาติ และผูพลัดถิ่น สภาทนายความแหง
ประเทศไทย กลาววา ทุกวันนี้อินเตอรเน็ต เว็บไซตสื่ออิเล็กทรอนิคสทําใหการสื่อสารไปไดรวดเร็วขึ้น
ประเทศไทยไมไดอยูประเทศเดียว มีการสัมพันธกับอีกหลายประเทศในการคาขาย ทําธุรกิจขอสังเกต
ตอการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 จะเกิดการรวมตัวมากขึ้น และจะทําใหมีการ
เรียกรองมากขึ้น แรงงานขามชาติจะมีการรวมตัวเจรจาตอรอง ซึ่งแมวา จะไมมีการใหสัตยาบันILO
แรงงานขามชาติก็มีการรวมตัวเรียกรองบางแลว เพื่อใหไดรับการปรับขึ้นคาจางขั้นต่ําตามกฎหมายผล
จากการศึกษาซึ่งเปนผลงานจากตางประเทศ ตอกรณีการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98
วา ทําใหมีการตั้งสหภาพแรงงานเพิ่มขึ้น มีการตั้งสหภาพแรงงานขนาดเล็กนอยลง การจัดตั้งสหภาพ
แรงงานเขมแข็งมากขึ้น การเรียกรองมีการนัดหยุดงานประทวงนอยลง เมื่อใหสัตยาบันครบ 10 ป
สามารถที่จะถอนยกเลิกการใหสัตยาบันได แตก็พลวายังไมเคยมีใครขอยกเลิกหรือถอนการใหสัตยาบัน
จึงสรุปไดวา นายจาง และรัฐ ไดประโยชนแรงงานขามชาติ กลุมที่เขามาแบบถูกกฎหมาย มีเอกสาร
พาสปอรต กับกลุมที่ผิดกฎหมายที่มีการผอนผันใหขึ้นทะเบียนอนุญาตใหทํางานไดชั่ว คราว และกลุม
ที่มาแบบผิดกฎหมายไมมีเอกสารอะไร แตรัฐธรรมนูญก็บังคับใชใหบุคลากรอยูภายใตการกํากับดูแล
อยางเทาเทียม กันหมด ทั้งกฎหมายแพง กฎหมายอาญา รวมทั้งการคุมครองแรงงานดวยคาจาง 300
บาท ตองคุมครองเทาเทียมกันไมวาจะเปนแรงงานไทย แรงงานขามชาติ จะมาทํางานดวยถูกตองตามก็
กฎหมาย หรือไมถูกกฎหมาย การทํางานเปนสิทธิขั้นพื้นฐานหากมีการทํางานจริง ก็ตองไดรับสิทธิขั้น
พื้นฐานนั้นเชนกัน จึงไมเห็นดวยกับการที่ไมใหแรงงานขามชาติที่เขามาทํางานแบบผิดกฎหมายไม
ไดรับสิทธิในการรวมตัว เปนการที่จะทําใหเขามาสูดารคุมครองตามกฎหมาย
การที่รัฐบาลกลาววา รัฐจะใหการคุมครองดานสิทธิมนุษยชนกับประเทศเพื่อบาน ที่มีการสงแรง
งานจํานวนมากมาทํางาน การที่มองความมั่นคงอยางเดียวก็ไมได มองเรื่องสิทธิมนุษยชนอยางเดียวก็
ไมได รัฐบาลมียุทธศาสตร รับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ของพมา กัมพูชา อาจเปนปจจัยใน
การดึงแรงงานขามชาติกลับ อาจทําใหเกิดการขาดแคลนแรงงานได การที่แรงงานขามชาติเขามาทํางาน
เราตองการแรงงานไมใชแคปญหาใหสัตยาบันจากนั้นไดมีการเปดใหมีการแสดงความคิดเห็นจากผูเขา
รวม โดยสรุปไดดังนี้ เสนอใหรัฐใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ดวยมองวา ไมควรแยกออกจาก
กัน เพราะสิทธิในการรวมตัว ตองมีสิทธิในการเจรจาตอรองรวมดวย เรื่องของแรงงานขามชาติ บางสวน
เห็นวา ควรมีการกําหนดเรื่องสิทธิการรวมตัวเฉพาะกลุมที่เขามาถูกกฎหมาย แตสวนใหญเห็นวา ควร
ใหสิทธิขั้นพื้นฐานอยางเทาเทียมกัน ไมควรมีการเลือกปฏิบัติ เพราะเมื่อมีการจางงาน มีคนไดรับ
ประโยชน คือนายจาง ตองมีการดูแลดานสิทธิอยางเทาเทียม
นักสื่อสารแรงงาน รายงาน

Contenu connexe

Plus de Thanai Punyakalamba

Plus de Thanai Punyakalamba (17)

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
Eep time issue_7
Eep time issue_7Eep time issue_7
Eep time issue_7
 
Eep time issue_6
Eep time issue_6Eep time issue_6
Eep time issue_6
 
Eep time issue_5
Eep time issue_5Eep time issue_5
Eep time issue_5
 
Eep time issue_4
Eep time issue_4Eep time issue_4
Eep time issue_4
 
Eep time issue_3
Eep time issue_3Eep time issue_3
Eep time issue_3
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
Labour protection 2541_new
Labour protection 2541_newLabour protection 2541_new
Labour protection 2541_new
 
Eep time issue_1
Eep time issue_1Eep time issue_1
Eep time issue_1
 
Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3
 
Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2
 
Labour protection 2541
Labour protection 2541Labour protection 2541
Labour protection 2541
 
เกี่ยวกับ มทร
เกี่ยวกับ มทรเกี่ยวกับ มทร
เกี่ยวกับ มทร
 

การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น

  • 1. การ เสวนาเพื่อรับฟงความคิดเห็น เรื่องการใหสัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ในวัน พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2555 ณ หองประชุมไสว สุทธิพิทักษ อาคาร 6 ชั้น 7 มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย กรุงเทพฯ จัดโดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน สํานักงานแรงงานสัมพันธ รวมกับ ศูนยวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มีผูเขารวมประมาณ 200 คน นางณัชชา สุนทรพรรค นักวิชาการชํานาญการ พิเศษ สํานักแรงงานสัมพันธ กรมสวัสดิการ และคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ไดนําเสนอเรื่องการใหสัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงาน ระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ98 วา ความเปนมาของการเคลื่อนไหวเรียกรองใหสัตยาบัน นั้น ไดมีการเสนอขอเรียกรองตอรัฐบาลในวันแรงงานแหงชาติ ตั้งแตป 2535 การเคลื่อนไหวเรียกรองของ คณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย และคณะทํางานผลักดันอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 87 และ98 ตั้งแต เดือนตุลาคม 2552 ถึงปจจุบันองคกรไตรภาคีใหขอเสนอแนะในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ กําหนดทิศทางการทํางานของกรมฯ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2553 วา ขอใหพิจารณารับรองอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงโลก กรณีการเปดเขตการคาเสรี และการเปนประชาคม อาเซียน เพื่อปองกันปญหา และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในการแขงขันทางการคาในอนาคตของ ประเทศ และสมาพันธแรงงานโลก สํานักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และสํานักงานประจําประเทศไทย และสหพันธแรงงานโลก ไดยื่นหนังสือขอตกลงรวมระหวางหนวยงานตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง แรงงาน เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2553 เรียกรองใหรัฐบาลไทยรับรองอนุสัญญา ILOทั้ง 2 ฉบับ เพื่อ นําไปสูการปฏิรูปกฎหมายแรงงานใหสอดคลองกับอนุสัญญาดังกลาวอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ98 เปนอนุสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ที่อยูในหมวดเสรีภาพในการสมาคม และเปน 2 ใน 8 ของอนุสัญญาพื้นฐานที่ประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบัน ซึ่งประเทศไทยไดใหสัตยาบันอนุสัญญาพื้นฐาน แลว 5 ฉบับ ไดแก 1. อนุสัญญาฉบับที่ 29 วาดวยแรงงานบังคับ 2. อนุสัญญาฉบับที่ 105 วาดวยการ ยกเลิกแรงงานบังคับ 3. อนุสัญญาฉบับที่ 100 วาดวยคาตอบแทนที่เทาเทียมกัน 4. อนุสัญญาฉบับที่ 138 วาดวยอายุขั้นต่ํา และ5. อนุสัญญาฉบับที่ 182 วาดวยรูปแบบที่เลวรายที่สุดของการใชแรงงานเด็ก ปจจุบันมีกระเทศที่ใหสัตยาบันอนุสัญญาฉบับที่ 87 จํานวน 150 ประเทศ และใหสัตยาบันฉบับที่ 98 จํานวน 160 ประเทศ จากประเทศสมาชิกทั้งหมด 183 ประเทศ สาระสําคัญของอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ โดยอนุสัญญาฉบับที่ 87 มีสาระสําคัญ ดังนี้ คนงาน และนายจางสามารถใชสิทธิในการจัดตั้งสมาคม และรวมตัวกันไดอยางเสรี โดยไมตองไดรับการอนุญาตลวงหนาจากหนวยงานของรัฐ องคกรของ คนงาน และนายจาง สามารถมีธรรมนูญ และขอบังคับของตนเอง สามารถเลือกผูแทนของตนเองไดโดย เสรี รวมทั้งบริหารจัดการ และกําหนดกิจกรรม และแผนงานของตนเองได โดยที่หนวยงานของรัฐตองละ
  • 2. เวนการแทรกแซงใดๆ อันจะเปนการยุติ หรือจํากัดสิทธิในการดําเนินกิจกรรมขององคกรของคนงาน และองคกรนายจาง และองคกรของคนงาน และองคกรนายจางตองมีเสรีภาพในการเขารวมองคกรตางๆ ทั้งในระดับประเทศ และระหวางประเทศการใชสิทธิของคนงาน และนายจาง และองคกรของกลุมคน เหลานี้ ตองใหการเคารพกฎหมายของทองถิ่น ซึ่งกฎหมายดังกลาว จะตองไมมีผลเสีย หรือนําไปใชให เกิดผลเสียตอหลักประกันที่กําหนดไวในอนุสัญญาฉบับนี้ขอบเขตของอนุสัญญานี้ บังคับใชกับนายจาง และลูกจางทุกคนทั้งในภาครัฐ และเอกชน รวมถึงขาราชการ และการที่จะนําอนุสัญญาฉบับนี้ใชบังคับ กับกองกําลังทหาร หรือตํารวจ จะตองมีการพิจารณากําหนดไวในกฎหมายของประเทศนั้นสาระสําคัญ ของอนุสัญญาILO ฉบับที่ 98 คือ 1. คุมครองคนงานจากการกระทําอันเปนการเลือกปฏิบัติ ในการจางงาน เชน ทําใหคนงานไม เขารวมสหภาพแรงงาน หรือสละการเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน 2. คุมครองคนงานจากการถูกไลออกจากงาน หรือมีอคติตอคนงานดวยสาเหตุที่ เปนสมาชิก สหภาพแรงงาน หรือเขารวมกิจกรรมของสหภาพแรงงาน 3. คุมครององคกรของคนงาน และองคกรของนายจาง จากการกระทําอันเปนการแทรกแซง ซึ่ง กันและกัน ไมวาจะเปนการแทรกแซงในดานการกอตั้งองคการ การปฏิบัติงาน หรือการบริหาร หรือจากการกระทําใดๆอันเปนการมุงสนับสนุนใหองคกรของคนทํางนอยูภายใตการ ควบคุม ของนายจาง หรือองคกรของนายจาง และ 4. สงเสริมใหมีการพัฒนา และการใชประโยชนจากกลไกการเจรจาโดยสมัครใจระหวางนายจาง หรือองคกรนายจาง กับองคกรของคนงานในเรื่องกฎเกณฑ และเงื่อนไขของการจางงาน 5. ขอบเขตของอนุสัญญาฉบับนี้ ไมใชบังคับกับขาราชการที่มีหนาที่เกี่ยวของกับบิหารการจาง งาน 6. การนําหลักการของอนุสัญญาฉบับนี้ ไปบังคับใชกับกองกําลัง และตํารวจใหเปนไปตาม กฎหมายภายในประเทศนั้นๆพันธะของประเทศไทยภายหลังการใหสัตยาบันคือ 1 ตองปฏิบัติตามบทบัญญัติของอนุสัญญาในทุกมาตรา และในทุกถอยคําที่เปนเงื่อนไข 2. แกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ พ.ศ. 2543 ซึ่งขณะนี้กระทรวงแรงงานไดมีการแกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งอยูระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อใหเกิดความสอดคลองกับ
  • 3. อนุสัญญา รวมถึงแกไขบทบัญญัติในกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับอื่นๆที่ไมสอดคลองกับ อนุสัญญาดังกลาว 3. เมื่อมีการแกไขกฎหมายตามขอ 2 แลว จะตองสามารถปฏิบัติไดจริงภายหลังการใหสัตยาบัน เพราะหากปฏิบัติไดไมครบถวน ประเทศไทยจะตองจัดทํารายงานชี้แจงทุกๆ 2 ป นับตั้งแตวันที่ ใหสัตยาบัน หรือถูกประณามจากองคการแรงงานระหวางประเทศ และประเทศอื่นๆ 4. หากมีการใหสัตยาบันไปแลว จะยังไมสามารถยกเลิกการใหสัตยาบันไดจนกวาจะครบ 10 ป นับแตวันที่อนุสัญญามีผลบังคับใชผลดีของการใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ คือ 1. เกิดการขับเคลื่อนการเรียนรู และพัฒนาในระบบแรงงานสัมพันธของประเทศไทย อันจะนําไปสูความเขมแข็ง และสรางอํานาจตอรองบนพื้นฐานของความเปน ประชาธิปไตย 2. สอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 64 และ 3. เปน การแสดงทาทีของประเทศไทยตอประชาคมโลกวา ประเทศไทยมีกฎหมาย และแนว ปฏิบัติภายในประเทศที่สอดคลองกับมาตรฐานแรงงานขององคการแรงงาน ระหวาง ประเทศ และพรอมที่จะปรับปรุง และพัฒนากฎ และแนวปฏิบัติภายในประเทศทัดเทียม กับมาตรฐานสากล ผลกระทบจาการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งมีการพูดถึงความมั่นคง สิทธิแรงงาน ขามชาติ โดยสรุปคือ 1. การเปดเสรีใหแรงงานขามชาติจัดตั้งองคกรแรงงานของตนได เปนประเด็น ปญหาความมั่นคงภายในประเทศ จําเปนตองมีการศึกษา และพิจารณารวมกันระหวางหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อใหเกิดความชัดเจนใน เชิงนโยบายแหงรัฐ และการเตรียมมาตรการรองรับปญหาในสังคมที่ อาจตามมา 2. อาจเกิดความขัดแยงในวงการแรงงานมากขึ้น จากเสรีภาพในการรวมตัวจัดตั้งองคกร ดัง จะเห็นไดวา แมในปจจุบันประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ และมีการควบคุมการ จัดตั้งองคกรดานแรงงาน โดยการจดทะเบียนองคการแรงงาน ยังมีการจัดตั้งสภาองคการแรงงานของทั้ง ฝายนายจาง และลูกจางถึง 25 สภา 3. การใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ มีผลกระทบ และมีผล ผูกพันกับนายจาง ลูกจาง หนวยงานภายนอก รวมทั้งองคกรสวนทองถิ่นมากกวา อนุสัญญาฉบับอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับหนวยงานภายนอกเพียงบางสวน ดังนั้น การพิจารณาใหสัตยาบัน โดยปราศจากการ ยอมรับจากหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกระทรวงแรงงาน อาจถูกโตแยงคัดคานได ดังนั้น การทําความ เขาใจกับทุกภาคสวนในสังคมไทย จําเปนตองใชระยะเวลา และความรอบคอบ มิฉะนั้นการใหสัตยาบัน อนุสัญญาดังกลาวอาจกอใหเกิดผลเสียมากกวาผลดีแก สังคม และวงการแรงงานของประเทศการ
  • 4. ดําเนินงานเพื่อเตรียมความพรอมในการใหสัตยาบัน อนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ98 โดยเมื่อป 2546 ไดมีการจัดจางที่ปรึกษาดําเนินการศึกษาวิจัยขอเท็จจริงและความพรอมของ ประเทศไทยดานกฎหมาย การบริหารจัดการ แนวทางในการปรับปรุงกฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวของรวมทั้งศึกษาทัศนคติ ความ คิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียในทุกกลุมอาชีพ ผลการวิจัยดังกลาวไดสรุปวา ควรชะลอการใหสัตยาบัน อนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับออกไปกอนเพื่อใหมีการศึกษาผลดี ผลเสีย และผลกระทบในทุกดานใหครอบคลุมป 2551 ไดมีการแตงตั้งคณะทํางานพิจารณาแกไขกฎหมายวาดวยการแรงงานสัมพันธใหสอด คลองกับ หลักการของอนุสัญญา การดําเนินการปรับปรุงแกไขบทบัญญัติของกฎหมายแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518 และกฎหมายแรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. 2543 ใหสอดคลองกับอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ จัดทําบันทึก หลักการ และเหตุผลประกอบการพิจารณายกรางแกไขกฎหมายทั้ง 2 ฉบับ เพื่อนําเขาสูการนําเสนอราง พระราชบัญญัติเมื่อป 2552 มีการจัดทําการสํารวจความคิดเห็นไปยังหนวยงานของภาครัฐเพื่อให ความเห็นตอ การใหสัตยาบัน ผลสํารวจที่ไดรับขอมูลจากหนวยงาน 66 แหง สรุปไดวา ภาครัฐสวนใหญ มีความเห็นวา ประเทศไทยใหสัตยาบัน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการบริหารงานบุคคลของหนวยงาน และเห็นวาประเทศไทยควร ใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ จึงมีการแตงตั้งคณะทํางานเพื่อให สัตยาบันซึ่งประกอบดวยทุกฝายทั้งนายจาง ลูกจาง ขาราชการ นักวิชาการ มีหนาที่พิจารณาแนว ทางการใหสัตยาบัน และใหขอเสนอแนะตอการดําเนินงานของกระทรวงแรงงาน ตลอดจนดําเนินการ เตรียมความพรอมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกับการให สัตยาบัน มีการจัดประชุม และที่ประชุม เห็นชอบใหกระทรวงแรงงานเสนอเรื่องการใหสัตยาบัน ILOทั้ง 2 ฉบับเขาสูการพิจารณาคณะรัฐมนตรีป 2553 ตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม 2553 กระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ไดเสนอ เรื่องการใหสัตยาบัน พรอมรางการปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธทั้ง 2 ฉบับ ใหกับ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบในการใหสัตยาบัน และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 เห็นชอบอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ใหเสนอเขา รัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบตามมาตร 190 วรรคสองของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กอนดําเนินการใหสัตยาบัน พรอมอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ (ฉบับที่..) พ.ศ. …. และรางพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ใหสงสํานักงานกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา หลังจากนั้นจึงสงใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณา และตอมาในวันที่ 22 ธันวาคม 2253 สํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดสงรางพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธทั้ง 2 ฉบับใหคณะกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแกไข ปรับปรุง ซึ่งในวันที่ 18 มกราคม 2554 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นไดเสนอ อนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับตอประธานรัฐสภาเพื่อขอใหนําเสนอรัฐสภาใหความเห็นขอบ กอนใหสัตยาบัน ซึ่ง วันที่ 11 กุมภาพันธ 2554รัฐสภาพิจารณาแกไขเพิ่มเติมในมาตรา 190 โดยบัญญัติใหมีกฎหมายวาดวย การกําหนดประเภทกรอบการเจรจา ขั้นตอน และวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความั่นคง
  • 5. ทางเศรษฐกิจ หรือสังคมของประเทศอยางกวางขวางฯ และใหดําเนินการจัดใหมีกฎหมายลําดับรองตาม มาตรา 190 ภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ ตอมาวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ครม.มีมติขอ ถอนอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับดังกลาวออกจากการพิจารณาของรัฐสภา ดวยอางเหตุผลรอ รางกฎหมาย แรงงานสัมพันธที่เกี่ยวของกอน เมื่อยุบสภา จึงนําเรื่องกลับมาที่กระทรวงแรงงานความคืบหนาปจจุบัน คือ รางพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. และรางพ.ร.บ.แรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ (ฉบับที่ ..) อยูระหวางการตรวจพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และการดําเนินงานเพื่อเตรียมความพรอม ในการใหสัตยาบัน อยูระหวางการจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามมาตรา 190 วรรค สามของรับธรรมนูญฯแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2)พุทธศักราช 2554 เกี่ยวกับการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งไดมีการรับฟงทั้งหมด 5 ภาค และไดผานการรับฟงความคิดเห็นมาแลว 4 ครั้ง ไดแก ภาคเหนือ จัดที่จังหวัดเชียงใหม ภาคอีสาน ที่จังหวัดขอนแกน ภาคตะวันออก จัดที่จังหวัดชลบุรี ภาคใตจัดที่จังหวัดสุราษฎรธานี และวันนี้จัดครั้งสุดทายที่กรุงเทพมหานคร เมื่อดําเนินการแลวเสร็จสิ้นการรับฟงความคิดเห็น ตามขั้นตอนใหเสนอตอคณะรัฐมนตรีตอไปทั้งนี้ ขอสังเกตจากความเห็นของหนวยงานอื่นๆ ที่ไดสํารวจ นั้น โดยสรุปคือ ผูใชแรงงานเห็นวาควรมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับไดเลย โดย ไมตองรอให แกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เสนอความเห็นวาตอคณะรัฐมนตรี วาควรใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับเชนกัน แตก็มีบางหนวยงานเห็นวา ควรใหสัตยาบันเฉพาะอนุสัญญาฉบับ ที่ 98 เพียงฉบับเดียว เพราะการใหสัตยาบันฉบับที่ 87 จะมีผลกระทบถึงความมั่นคงของชาติ เนื่องมาจากการรวมตัวของแรงงานขามชาติ และภาครัฐควรมีขั้นตอนในการควบคุมแรงงานขามชาติใน ลักษณะกําหนดเงื่อนไขดาน กฎหมาย โดยไมควรเปดเสรีอยางเต็มที่ และสมควรที่จะเก็บภาษีแรงงาน ขามชาติดวย และหากจะใหสัตยาบันอนุสัญญาก็ไมเปนปญหา เนื่องจากอนุสัญญาไมเอื้อประโยชนตอ แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายจนกวาจะมี การพิสูจนสัญชาติใหถูกตองกอน และถาปฏิบัติตอเขาเยี่ยง มนุษยชาติทั่วไปก็จะเปนกําลังในการพัฒนาประเทศ เราซึ่ง ILO เห็นวาแรงงานขามชาติที่ไมถูกกฎหมาย จะไมไดรับสิทธิในการรวมตัว และการ เจรจาตอรองบางหนวยงานเห็นวา ควรยกเวนในการปฏิบัติตามอนุสัญญาสําหรับจังหวัดที่มีความเสี่ยง สูงดานความ มั่นคงของชาติที่สืบเนื่องจากการรวมตัวเปนสมาคมโดยเสรีภาพของแรงงานขาม ชาติ โดย
  • 6. พิจารณาจังหวัดที่มีสถิติการเคลื่อนยายแรงงานขามชาติเขามาจํานวนมาก เปนตน สวนของILO แจงวา การตั้งขอสงวนสิทธิตามอนุสัญญานั้นอนุญาตใหมีการปฏิบัติตามอนุสัญญาใน ลักษณะ แตกตางกันได ซึ่งอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ มีมาตั้งแตป ค.ศ. 1948 และค.ศ.1949 ซึ่งเปนประเทศตะวันตกที่มีเมืองขึ้น จึง กําหนดใหปฏิบัติตามอนุสัญญาในเมืองขึ้นนั้นๆ แตกตางกันได แตประเทศไทยเปนประเทศไมมีเมืองขึ้น และจังหวัดตางๆไมใชเมืองขึ้นของไทย ดังนั้น ILO จะไมยอมรับการตั้งขอสงวนสิทธิของไทยทางดาน ความมั่นคงของประเทศ รัฐคงจะตองออกกฎหมายควบคุมดูแลแรงงานขามชาติ โดยเฉพาะการควบคุม การชุมนุมรวมตัวโดยเสรี ในสภาพปจจุบันแรงงานขามชาติไมวาจะเขาเมืองถูกกฎหมาย หรือผิด กฎหมาย ศาลไดบังคับใชกฎหมายไทยโดยเสมอภาคเทาเทียมกันรางพระราชกฤษฎีกากําหนด หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการรวมกลุมขาราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. …. ปจจุบันอยูในขั้นตอน รอ สนง.คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอรางเขาสูการพิจารณาของครม.ใชบังคับเฉพาะขา ราชการพลเรือน สามัญเทานั้น ไมรวมตํารวจ ทหาร ตุลาการ รัฐสภา และขาราชการสวนทองถิ่น มีเจตนารมณ คือ การ รวมกลุมของขาราชการพลเรือนสามัญตองไมกระทบตอการบริหารราชการแผนดิน ไมกระทบตอการ บริหารสาธารณะ และไมมีวัตถุประสงคทางการเมือง และเห็นควรที่จะไดเผยแพรความรู ขอมูล ภายใน สถานศึกษาใหแกนักเรียน นักศึกษาที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษาเพื่อใหรูสิทธิหนาที่ขั้นพื้นฐานในการ รวมตัว และการคุยกับนายจางอยางสันติวิธี กอนที่จะเขาสูตลาดแรงงาน โดยสรุปขอสังเกตสวนใหญคอนขางกังวลเรื่องการรวมตัวของ แรงงานขามชาติ ที่อาจสงผล กระทบ และมีความกังวลเรื่องการรวมตัวของขาราชการที่อาจมีการนัดหยุดงานหรือกระทํา การที่สงผล ตอความมั่นคงของชาติไดนายทิม เดอ เมเยอร ผูเชี่ยวชาญอาวุโส ดานมาตรฐานแรงงานระหวาง ประเทศ และกฎหมายแรงงานองคการแรงงานระหวางประเทศไทย กลาววา ประเทศไทยไดเขารวม กอตั้งและเปนสมาชิกองคการแรงงานระหวาง ประเทศ (ILO) ตั้งแตป ค.ศ.1919 การรับรองอนุสัญญา ILO ฉบับที่87 และ98 ถือวาเปนหลักประกันใหกับลูกจาง นายจาง ในดานการปกปองสิทธิ เสรีภาพของ ทั้งสองฝาย ซึ่งหลังการใหสัตยาบันแตละประเทศจะกําหนดหลักเกณฑกฎหมายดานแรงงาน สัมพันธกัน ตามลักษณะของแตละประเทศที่แตกตางกันไปการที่ประเทศไทยยังไมไดใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ นั้นก็มีอีกหลายประเทศที่ไมไดใหสัตยาบันซึ่งมีกลุมประเทศที่เปน สังคมนิยม และที่เคยเปนสังคม นิยม เชน เวียดนาม ลาว จีน ซึ่งยังไมไดใหสัตยาบัน เพราะลูกจางยังไมสามารถที่จะเลือกตัวแทนของ ตนเองได แตตองเขาเปนสมาชิก โดยรัฐบาลจะกํากับดูแล อีกกลุมคือ ประเทศสิงคโปร มาเลเซีย ที่อาง วา ในประเทศมีคนหลากหลายชาติพันธุ ยังมีประเทศเกาหลีที่ไมไดใหสัตยาบัน ประเทศเกาหลีใตเปน ตลาดเสรี อางวา มีการแบงแยกประเทศอาจทําใหถูกแทรกแซงจากอีกฝายได ยังมีประเทศใหญๆเชน อิหราน ที่ปกครองโดยระบบศาสนา มีตัวอยางในกลุมของOECD คือประเทศยักษใหญ 34 ประเทศที่ ร่ํารวย ทุกประเทศไดมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 อาจมีขอยกเวนบาง
  • 7. แตมีบางประเทศที่ไมใหสัตยาบัน เชนสหรัฐอเมริกา นิวซีแลนใหสัตยาบันฉบับที่ 87 แคนนาดา ใหสัตยาบันฉบับที่ 98 หากถามประเทศเหลานี้จะตอบวาเขาไดใหสิทธิ เสรีภาพและใหประชาชนมีสวน รวมทางเศรษฐกิจ สังคม ทําใหเกิดความเจริญกาวหนา คําถาม เราควรเปนประเทศที่ร่ํารวย หรือเปนคน จนในประเทศรวย ดีกวาเปนคนรวยในประเทศจน 3 เทา และคิดวาควรใหสัตยาบันอนุสัญญาILOเพียง ฉบับใดฉบับหนึ่ง หรือวาใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ ประชาคมโลกเห็นวาควรใหสัตยาบันทั้ง 2 ฉบับ เนื่องจากไมสามารถแยกการเจรจาตอรองออกจากสิทธิเสรีภาพในการรวมตัวได และมีสิทธิในการนัด หยุดงาน ควรนํามาใชในการปกปองสิทธิองสมาชิกในการตอรอง ไมใชในการนํามาใชในการกอความ วุนวายจําเปนตองใหสัตยาบันหรือ เนื่องจากรัฐธรรมนูญมีกําหนดใหสิทธิในการรวมตัวเจรจาตอรองอยู แลว คําตอบ คือ จําเปนตอใหสัตยาบันดวยเหตุผลวาประชาคมโลกเรียกรองใหสัตยาบัน เพื่อประชาคม โลกจะไดเขามามีสวนรวม และรัฐธรรมนูญ สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดอีก 5 ป 10 ป หลักการ รัฐธรรมนูญอาจถูกแกไข หากใหสัตยาบันแลวก็ไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดสําหรับการติดตามบริบทที่ ILO ยอมรับ คือ มีการสนับสนุนใหมีการรวมตัว เจรจาตอรองกัน และมีการปฏิบัติตามอนุสัญญาเรื่อง แรงงานขามชาติจะทําอยางไร? แรงงานขามชาติมีทั้งที่มาแบบผิดปกติ คือไมมีเอกสาร สําหรับแรงงาน ขามชาติที่มีเอกสาร ควรมีสิทธิตั้งสหภาพแรงงานได เพราะตองมีการทํางานในตําแหนงพื้นที่ และ สามารถอยูอาศัยทํางานได 2-3 ปเปนตน สวนแรงงานขามชาติที่เขามาผิดกฎหมาย ไมมีเอกสารสิทธิใน การสมาคมก็เปนสิทธิที่เขาเปนแรงงานปกติ แตใหสิทธิในการรวมตัวคงไมได แตขอเท็จจริงเขาเขามาในประเทศไทยมาทํางานก็ควรไดรับสิทธิตามกฎหมายแรงงาน ระดับ หนึ่ง และการเรียกรองสิทธินั้นดวยการรวมตัวเจรจาตอรอง คือแรงงานกลุมนี้ไมมีสิทธิจัดตั้งองคกร แตมี สิทธิที่เกิดจากการทํางานมาแตอดีต และควรไดรับสิทธิ หลักการคือ การอยู หรือเขามาทํางานใน ประเทศอยางผิดกฎหมาย แตมีคนที่ไดรับประโยชนจากการทํางานของเขา คือนายจาง เขาจึงมีสิทธิ ไดรับความคุมครองตามกฎหมายไมควรปลอยใหเขาไมมีสิทธิและ ไมไดรับสิทธิ หลักการสําคัญ คือการ ปฏิบัติอยางเทาเทียมกันระหวางพลเมืองกับแรงงานขามชาติเสรีภาพกับความมั่นคงเกี่ยวของกันอยางไร กับแรงงานขาม ชาติ คือ อยูในมาตรา 8 วาดวยเสรีภาพนั้นอยูภายใตกฎหมายและขอกําหนดเองแตละ ประเทศ สหภาพแรงงานที่ตั้งขึ้นมาเพื่อกอใหเกิดความรุนแรง ไมเกี่ยวกับผลประโยชน ของสมาชิก อนุญาตใหลมสหภาพแรงงานได ซึ่งรวมทั้งสหภาพแรงงานที่ไมมีการดําเนินการอยางเปนประชาธิปไตย ใหถอดถอนได แตกฎหมายของประเทศตองตราไววา หนวยงานบทบาทการบริหาร เชน ศาล บัญญัติ ตามกฎหมายใหกระทําการถอดถอน หรือยุบสหภาพแรงงานได ควรมีการระบุรายละเอียด ขอกําหนด ทั้งหมดไมวา จะเปนการยกเลิก ก็ตองทําหลังขบวนการดําเนินการทางยุติธรรมแลว และไมใหหนวยงาน ราชการของรัฐที่มาอนุมานลวงหนาขีดความแขงขันทางการคา คาจาง และเงินเฟอแงมุม สังคมใน ประเทศไทย คือประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ หมายความวา มีคนจํานวนนอยที่มีรายได และ
  • 8. ตองหารายไดเพิ่มมากขึ้น คนเหลานี้ ตองมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชิงเศรษฐศาสตร สิ่งที่มองหาระบบใน อนาคต คือ ตองเพิ่มผลิตภาพ รายไดที่สูงขึ้น มีการเรียกรองคาจางที่เพิ่มขึ้น และนายจางก็จะเรียกรอง ใหลูกจางเพิ่มผลิตภาพมากขึ้น จึงตองมีกลไกกลางในการทําใหทั้งคาจาง และผลิตภาพเพิ่มขึ้น กิจกรรม เจรจาตอรองรวมจะเปนระบบที่ลูกจางมาบอกความตองการเจาหนาที่รัฐบอกวาอยางไร? ก็มีหลายกลุม การรวมตัวเจรจาตอรองก็สามารถกําหนดใหสอดคลองกับสถานการณของ แตละกลุมได หลักการคือ การที่ทําใหภาครัฐ ขาราชการ ครู รัฐวิสาหกิจ สามารถจัดตั้งองคกรสมาคมได และกฎหมายไมควรมี บทบัญญัติหามไวปญหาแรงงานผิดกฎหมายถือเปนปญหาใหญสําหรับหลายประเทศ อนุสัญญาILO ฉบับที่ 143 เพื่อการเคารพสิทธิแรงงานที่เขาเมืองผิดกําหมาย แตไมใชการไดสิทธิเทากับคนที่เขาเมือง ถูกกฎหมาย แตก็ควรไดรับสิทธิ เพราะวา มีคนไดรับสิทธิจากการทํางานของแรงงานขามชาติผิด กฎหมายนายจางไมควรมีสิทธิในการขมขูแรงงานขามชาติ หากมีการเรียกรองใหนายจางปรับคาจางขั้น ต่ําตามกฎหมาย ดวยการสงกลับประเทศ การที่แรงงานขามชาติถูกละเมิดสิทธิดานแรงงาน แตถูก สงกลับประเทศเนื่องจากการเขาเมืองผิดกฎหมาย เมื่อเขาถูกสงกลับประเทศไปแลว จะบอกไดอยางไร วาถูกนายจางละเมิดสิทธินายชาลีลอยสูง ประธานคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย กลาววา ขบวนการแรงงานไดมีการเคลื่อนไหวให รัฐบาลรับรองอนุสัญญาองคการแรงงาน ระหวางประเทศ (ILO)มีตั้งแตป 2535 จนถึงปจจุบัน ซึ่งเมื่อป 2552 ขบวนการแรงงานไดจับมือกันทุกสวน ประกอบดวยสภาองคการลูกจาง สหพันธแรงงาน กลุม สหภาพแรงงาน สมาพันธแรงงานรับวิสาหกิจสัมพันธ และคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย เพื่อ เคลื่อนไหวรณรงคผลักดันใหรัฐบาลรับรองอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งก็มีแรงตานทางสังคมที่มองเรื่อง ความมั่นคงของประเทศ ถึงกีดกันการรวมตัวของแรงงานขามชาติ เมื่อปลายป 2553ปลายรัฐบาล ประชาธิปตย ทางกระทรวงแรงงานไดมีการตั้งคณะทํางานฯเสนอใหมีการรับรองอนุสัญญา ซึ่งกฤษฎีกา มีการตีความวาไมเกี่ยวกับมาตรา 190 และรัฐบาลไดดึงเรื่องกลับมาที่กระทรวงแรงงานเพื่อรอกฎหมาย รองนายชินโชติแสงสังข ประธานสภาองคการ ลูกจางแรงงานแหงประเทศไทย นําเสนอวา ประเทศไทย ควรรับรองอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ไมควรมีการคัดคาน อะไรอีก หมดเวลาที่จะมาจัดการแลกเปลี่ยน สัมมนา การวิเคราะห วิจัย เพราะทํามามากพอแลวการ เรียกรองของผูใชแรงงานที่มีมานาน เปนการตกผลึกไปแลววาตองการใหมีการใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้ง สองฉบับ การมาเปดรับฟงขอเสนอวาเห็นดวย หรือไมเห็นดวยคงไมจําเปนอีกไมอยากไดยินวาการ กลาวหาวาใหสัตยาบันแลวจะเกิดปญหา แรงงาน และแรงงานขามชาติจะมีการรวมตัวกัน การให สัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 ทั้ง 2 ฉบับตองรับทั้ง 2 ฉบับ จะใหเพียงฉบับใดฉบับหนึ่งคง ไมไดหากแรงงานขามชาติมีการรวมตัวกัน เกิดปญหาเกี่ยวกับความมั่นคง ถามสังคมไทยทุกวันนี้ขาด แรงงานขามชาติไดหรือไม ทําไมกลัวการรวมตัวกันของแรงงานขามชาติ เมื่อเขามาถูกกฎหมายทําไมจะ
  • 9. รวมตัวไมได และมีการพูดกวางถึงการรวมตัวของขาราชการ ตํารวจ ทหารรวมตัว แลวมีการนัดหยุด งาน เกิดความไมมั่นคงกับประเทศ และบอกวาประเทศไทยไมไดหามตั้งสหภาพแรงงาน สามารถตั้งได และมีสหภาพแรงงานรวม 1,400 แหง จากสถานประกอบกิจการ 4 แสนแหง จริงแลวมีกี่สหภาพแรงงาน ที่มีการดําเนินกิจกรรมทําหนาที่ กฎหมายแรงงานไทยไมไดใหความคุมครอง หรือสนับสนุนการรวมตัว จริง มีการลมสหภาพแรงงานตั้งแตเริ่มกอตั้ง หาเหตุเลิกจางกลั่นแกลง แทรกแซงการบริหารงาน มีการ บอนไซสหภาพใหแคระแกน สหภาพแรงงานอยูอยางไรทําไมไมโตถูกจํากัดสิทธิมากมายการให สัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับเปนการรับรองกับประชาคมโลกวา เปนสัญลักษณในการดูแลคน ไม จํากัดสิทธิเสรีภาพในการรวมตัว และเจรจาตอรองรวม ซึ่งเปนประโยชนกับการคาการลงทุน การรวมตัวตั้งสหภาพแรงงาน ในประเทศไทยสามารถทําไดอยางเปดเผย ไมตองจัดตั้งสหภาพ แรงงานแบบเดิมที่ลักขโมย แบบลับๆ หลบๆซอนๆเหมือนกอการรายอีก นางสิริวัน รมฉัตรทอง เลขาธิการสภาองคการนายจางแหงประเทศไทย กลาววา ขอกังวลของ นายจาง และขอที่เห็นดวย คือ การใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 คงไมตองรอ เพราะนายจางก็มี ปญหาดานกฎหมายเรื่องการจัดตั้ง การรวมตัว เพราะมีขอกําหนดเรื่องสัญชาติไว นายจางที่เปนคน ตางชาติก็ไมสามารถที่จะมารวมตัวดวยไดเชนกัน ขอสรุปจากตัวแทนนายจาง คือ รัฐบาลมีการใหงบประมาณสนับสนุน การอบรม แมวาจะมีการ สนับสนุนอยางเปนทางการใหแรงงาน ในการรวมตัว เจรจาตอรอง ทําไมมีการรวมตัวนอย หากดีจริง ทําไมคนไมจัดตั้งสหภาพแรงงานสหภาพแรงงานมีสิทธิในการนัดหยุดงาน เมื่อมีการรวมตัวเจรจาตอรอง รวมถึงมีการลาปวย ลากิจ ลาหยุดตางๆ เพื่อใหการสนับสนุนสหภาพแรงงาน ตรงนี้ตองตอบขอกังวลกับ นายจางเชนกัน แรงงานขามชาติมีสิทธิในการสมัครเปนสมาชิกสหภาพแรงงานอยู แลว เชนเดียวกับนายจาง ตางชาติที่มาลงทุนในประเทศไทยก็ไมมีสิทธิในการตั้ง องคกรเชนกัน ก็เปนไดแคสมาชิก หากแรงงาน ขามชาติสามารถรวมตัวตั้งสหภาพแรงงานได ในกลุมที่มาอยางถูกกฎหมาย ถามวา ในสวนไมถูก กฎหมาย แตมีใบอนุญาตใหทํางานรัฐจะทําอยางไร จะดูแลอยางไร มีอะไรที่จะกําหนดมาเพื่อแกขอของ ใจ กังวลใจของนายจางไดเรื่องของสิทธิการรวมตัวเจรจาตอรอง กระทรวงแรงงานควรมีการจัดอบรมให ความรูกับนายจางเพื่อสรางความเขาใจ เชนเดียวกับอบรมใหกับสหภาพแรงงานวา สหภาพแรงงาน ไมใชเชื้อโรค ไมนากลัว แมวา รัฐจะมีงบประมาณในการอบรมใหกับแรงงาน หากนายจางไมใหหยุด ไมใหลางาน และไมสนับสนุน แรงงานจะไดรับการอบรมไดอยางไร และนายจางก็จะปลอยใหแรงงานอยู แบบไมรูตอไป
  • 10. นายสุรพงษ กองจันทึก นักวิชาการดานแรงงานขามชาติ และผูพลัดถิ่น สภาทนายความแหง ประเทศไทย กลาววา ทุกวันนี้อินเตอรเน็ต เว็บไซตสื่ออิเล็กทรอนิคสทําใหการสื่อสารไปไดรวดเร็วขึ้น ประเทศไทยไมไดอยูประเทศเดียว มีการสัมพันธกับอีกหลายประเทศในการคาขาย ทําธุรกิจขอสังเกต ตอการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 จะเกิดการรวมตัวมากขึ้น และจะทําใหมีการ เรียกรองมากขึ้น แรงงานขามชาติจะมีการรวมตัวเจรจาตอรอง ซึ่งแมวา จะไมมีการใหสัตยาบันILO แรงงานขามชาติก็มีการรวมตัวเรียกรองบางแลว เพื่อใหไดรับการปรับขึ้นคาจางขั้นต่ําตามกฎหมายผล จากการศึกษาซึ่งเปนผลงานจากตางประเทศ ตอกรณีการใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ฉบับที่ 87 และ 98 วา ทําใหมีการตั้งสหภาพแรงงานเพิ่มขึ้น มีการตั้งสหภาพแรงงานขนาดเล็กนอยลง การจัดตั้งสหภาพ แรงงานเขมแข็งมากขึ้น การเรียกรองมีการนัดหยุดงานประทวงนอยลง เมื่อใหสัตยาบันครบ 10 ป สามารถที่จะถอนยกเลิกการใหสัตยาบันได แตก็พลวายังไมเคยมีใครขอยกเลิกหรือถอนการใหสัตยาบัน จึงสรุปไดวา นายจาง และรัฐ ไดประโยชนแรงงานขามชาติ กลุมที่เขามาแบบถูกกฎหมาย มีเอกสาร พาสปอรต กับกลุมที่ผิดกฎหมายที่มีการผอนผันใหขึ้นทะเบียนอนุญาตใหทํางานไดชั่ว คราว และกลุม ที่มาแบบผิดกฎหมายไมมีเอกสารอะไร แตรัฐธรรมนูญก็บังคับใชใหบุคลากรอยูภายใตการกํากับดูแล อยางเทาเทียม กันหมด ทั้งกฎหมายแพง กฎหมายอาญา รวมทั้งการคุมครองแรงงานดวยคาจาง 300 บาท ตองคุมครองเทาเทียมกันไมวาจะเปนแรงงานไทย แรงงานขามชาติ จะมาทํางานดวยถูกตองตามก็ กฎหมาย หรือไมถูกกฎหมาย การทํางานเปนสิทธิขั้นพื้นฐานหากมีการทํางานจริง ก็ตองไดรับสิทธิขั้น พื้นฐานนั้นเชนกัน จึงไมเห็นดวยกับการที่ไมใหแรงงานขามชาติที่เขามาทํางานแบบผิดกฎหมายไม ไดรับสิทธิในการรวมตัว เปนการที่จะทําใหเขามาสูดารคุมครองตามกฎหมาย การที่รัฐบาลกลาววา รัฐจะใหการคุมครองดานสิทธิมนุษยชนกับประเทศเพื่อบาน ที่มีการสงแรง งานจํานวนมากมาทํางาน การที่มองความมั่นคงอยางเดียวก็ไมได มองเรื่องสิทธิมนุษยชนอยางเดียวก็ ไมได รัฐบาลมียุทธศาสตร รับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ของพมา กัมพูชา อาจเปนปจจัยใน การดึงแรงงานขามชาติกลับ อาจทําใหเกิดการขาดแคลนแรงงานได การที่แรงงานขามชาติเขามาทํางาน เราตองการแรงงานไมใชแคปญหาใหสัตยาบันจากนั้นไดมีการเปดใหมีการแสดงความคิดเห็นจากผูเขา รวม โดยสรุปไดดังนี้ เสนอใหรัฐใหสัตยาบันอนุสัญญาILO ทั้ง 2 ฉบับ ดวยมองวา ไมควรแยกออกจาก กัน เพราะสิทธิในการรวมตัว ตองมีสิทธิในการเจรจาตอรองรวมดวย เรื่องของแรงงานขามชาติ บางสวน เห็นวา ควรมีการกําหนดเรื่องสิทธิการรวมตัวเฉพาะกลุมที่เขามาถูกกฎหมาย แตสวนใหญเห็นวา ควร ใหสิทธิขั้นพื้นฐานอยางเทาเทียมกัน ไมควรมีการเลือกปฏิบัติ เพราะเมื่อมีการจางงาน มีคนไดรับ ประโยชน คือนายจาง ตองมีการดูแลดานสิทธิอยางเทาเทียม นักสื่อสารแรงงาน รายงาน