SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
 
[object Object],[object Object]
กล้องจุลทรรศน์ใช้เลนส์ประกอบ  สร้างโดยจอห์น คัฟฟ์  ( JOHN CUFF)  ค . ศ . 1750
หลักการการทำงานของกล้องจุลทรรศน์ ,[object Object],[object Object]
ชนิดของกล้องจุลทรรศน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
  1.  กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดา  ,[object Object]
รูปกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงแบบธรรมดา ,[object Object]
การใช้กล้องจุลทรรศน์ ,[object Object]
การใช้กล้องจุลทรรศน์  ( ต่อ ) ,[object Object]
รูปกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
1. 2)  กล้องที่ใช้แสงแบบสเตอริโอ ,[object Object],[object Object],[object Object]
รูปกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ ,[object Object]
การบำรุงรักษากล้องจุลทรรศน์ ,[object Object]
การบำรุงรักษากล้องจุลทรรศน์  ( ต่อ ) ,[object Object]
การบำรุงรักษากล้องจุลทรรศน์  ( ต่อ ) ,[object Object]
การทำความสะอาดเลนส์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
 
2.  กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน  ,[object Object],[object Object],[object Object]
 
[object Object],[object Object],[object Object]
ภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน  (  TRANSMISSION  ELECTRON  MICROSOPE) ที่มา  :  HTTP://WEBDB.DMSC.MOPH.GO.TH/IFC_NIH/A_NIH_1_001C.ASP?INFO_ID=437
[object Object],[object Object],[object Object]
ภาพภาพกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด  ( SCANNING  ELECTRON  MICROSCOPE) ที่มา    :  HTTP://WEBDB.DMSC.MOPH.GO.TH/IFC_NIH/A_NIH_1_001C.ASP?INFO_ID=437
สปอร์ของ  NOSEMA ALGERAE   ซึ่งเป็นปรสิตของลูกน้ำยุง   ( ซ้าย )  ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน  ( ขวา )  ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดของเกสรดอกไม้
ภาพถ่ายเซลล์เม็ดเลือดขาวของงูจงอางจากกล้องจุลทรรศน์ชนิดต่างๆ   ก .  กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเลนส์ประกอบ  *** ข .  กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน   *** ค .  กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด  *** (***  ที่มา  :  VET.CLIN.PALT.2002, 31:116-126.  รศ . เฉลียว ศาลากิจ )
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  ,[object Object]
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  2.  อาร์ม  (  Arm )   เป็นส่วนยึดลำกล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  3.  ลำกล้อง  ( Body tube )  เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับมีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบนมีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบนอีกด้านหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุซึ่งติดอยู่กับจานหมุนที่เรียกว่า   Revolving Nosepiece
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  4.  แท่นวางวัตถุ  ( Stage )  เป็นแท่นสำหรับวางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา มีลักษณะเป็นแท่นสี่เหลี่ยม หรือวงกลมตรงกลางมีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  5.  เลนส์รวมแสง  (  Condenser  )  จะอยู่ด้านใต้ของแท่นวางวัตถุ เป็นเลนส์รวมแสง เพื่อรวมแสงผ่านไปยังวัตถุที่อยู่บนสไลด์ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้โดยมีปุ่มปรับ
6. ไอริส ไดอะแฟรม  (  Iris diaphragm )   คือม่านปิดเปิดรูรับแสง สามารถปรับขนาดของรูรับแสงได้ตามต้องการ มีคันโยกสำหรับปรับขนาดรูรับแสงอยู่ด้านล่างใต้แท่นวางวัตถุ  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  7.  เลนส์ใกล้วัตถุ  (  Objective lens )   จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำมาศึกษา  (  Specimen )  เมื่อลำแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะขยายภาพของวัตถุนั้น และทำให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ  ( Primary Real Image)  โดยเลนส์ใกล้วัตถุจะมีกำลังขยายต่าง ๆ กัน ได้แก่   4X, 10X , 40X , 100X
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  8.  จานหมุน  ( Revolving nosepiece)   เป็นส่วนของกล้องที่ใช้สำหรับหมุน เพื่อเปลี่ยนกำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  9.  เลนส์ใกล้ตา  (  Eyepiece lens  หรือ  Occular lens)   เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำกล้อง มีตัวเลขแสดงกำลังขยายอยู่ด้านบน เช่น  5X, 10X  หรือ  15X  เป็นต้น กล้องในรุ่นที่มีเลนส์ใกล้ตาเลนส์เดียว เรียก  Monocular Microscope  ชนิดที่มีเลนส์ใกล้ตาสองเลนส์ เรียก  Binocular Microscope  ภาพที่ปรากฏแก่สายตาของเราคือภาพเสมือนหัวกลับ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  10.  ปุ่มปรับภาพหยาบ   ( Coarse adjusment knob )   ใช้เลื่อนตำแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้ ปุ่มนี้มีขนาดใหญ่จะอยู่ที่ด้านข้างของตัวกล้อง
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์  11.  ปุ่มปรับภาพละเอียด  (  Fine adjusment knob )   เป็นปุ่มขนาดเล็กอยู่ถัดจากปุ่มปรับภาพหยาบออกมาทางด้านนอกที่ตำแหน่งเดียวกัน เมื่อปรับด้วยปุ่มปรับภาพหยาบจนมองเห็นภาพแล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดจะทำให้ได้ภาพคมชัดยิ่งขึ้น
ตารางเปรียบเทียบกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กับ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน  10. ใบมีดที่ใช้ตัดเนื้อเยื่อ  ใบมีดโลหะ  ใบมีดแก้ว  ลักษณะที่เปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน 1.  แหล่งกำเนิดแสง กระจกหรือหลอดไฟ ปืนยิงอิเล็กตรอน 2.  แสงที่ใช้ แสงสว่างในช่วงที่ตามองเห็นได้ ( ม่วง - แดง )  ความยาวคลื่น  4,000-7,000  อังสตรอม  ลำแสงอิเล็กตรอนความยาวคลื่น ประมาณ  0.05  อังสตรอม 3.  ชนิดของเลนส์ เลนส์แก้ว เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า 4.  กำลังขยาย 1,000-2,000  เท่า 500,000  เท่า หรือมากกว่า 5.  ขนาดของวัตุที่เล็กที่สุดที่ มองเห็น 0.2  ไมโครเมตร 0.0005  ไมโครเมตร 6.  อากาศในตัวกล้อง มีอากาศ สุญญากาศ 7.  ภาพที่ได้ ภาพเสมือนหัวกลับดูได้จากเลนส์ตา ภาพปรากฎบนจอรับภาพเรืองแสง 8.  ระบบหล่อเย็น ไม่มี มีเนื่องจากเกิดความร้อนมาก 9.  วัตถุที่ส่องดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตเท่านั้น
 

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 

Tendances (20)

แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 

Similaire à กล้องจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ssuser9219af
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196CUPress
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2pattaya chantokul
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1pattaya chantokul
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2karuehanon
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์parinya
 

Similaire à กล้องจุลทรรศน์ (20)

กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
1
 1  1
1
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Techno
TechnoTechno
Techno
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 

กล้องจุลทรรศน์