SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
การพยาบาลผู้ป่วย 
ที่ได้รับการรักษาด้วยการตัดแขนขา
วัตถุประสงค์ 
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นิสิต 
สามารถ 
1. อธิบายเกี่ยวกับความหมายและ 
วัตถุประสงค์ของการรักษาด้วยการ 
ตัดแขนขาได้ 
2. อธิบายเกี่ยวกับข้อบ่งชี้ในการรักษา 
ด้วยการตัดแขนขาได้ 
3. อธิบายเกี่ยวกับการแบ่งชนิดและระดับ 
ของการตัดแขนขาได้ 
4. อธิบายเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนภาย
ความหมายของการผ่าตัด 
Amputation 
Below Knee 
Amputation 
VDO
ความหมายของการผา่ตัด 
Amputation 
 การตัดส่วนของอวัยวะที่ 
ไมต่้องการออก มกัใช้ใน 
การอธิบายถึงส่วนของ 
แขนหรือขาที่ถูกตัด หาก 
เป็นการตัดผ่านข้อพอดี 
เรียกว่า 
“Disarticulation” ส่วน 
ที่เหลือจากการตัด เรียก
ข้อบ่งชี้ในการรักษาด้วย 
การตัดแขนขา
ชนิดของการตัดแขนขา 
1.Open amputation 2.Closed amputation
ระดับของการตัดแขนขา 
ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพทจี่ำาเป็นเชน่ 
การไหลเวียนเลือด เนอื้เยื่อและอวัยวะ 
ใกล้เคียง ความเหมาะสมของการเตรี 
ยมตอแขนขาเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด 
ในการใสแ่ขนขาเทยีมในภายหลัง 
Skin 
Soft tissue 
Strength 
Sensation 
Shape 
Size 
Steering property 
-ข้อควร 
คำานึงถึง 
7S
ระดับการตัดแขน 
การตัดนิ้วมือ : Ray amputation 
Wrist disarticulation 
Elbow disarticulation 
Below elbow amputation : B.E. 
Above elbow amputation : A.E. 
Shoulder disarticulation
ระดับของการตัดขา 
1. Chopart and 
Lisfranc amputation 
2. Foot amputation 
3. Below knee 
amputation 
4. Knee 
disarticulation 
5. Above knee
ระดับการตัด 
แขนขา
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการตัดแขนขา 
1. Reactionary hemorrhage 
2. Secondary haemorrhage 
3. Infection 
4. Blood clot 
5. Tissue necrosis 
6. Flexion deformity or Contracture 
7. Neuroma 
8. Phantom pain and Phantom limb 
sensation
Phantom pain & Phantom limb 
sensation เกิดจากกลไกการทำางาน 
ของระบบประสาท ซงึ่มกีารเชื่อมโยง 
การรับรู้ส่วนต่างๆของ 
ร่างกาย(Neurosignature) เมื่อได้รับ 
การตัดแขนขา ทำาให้การเชื่อมโยง 
กระแสประสาทบกพร่อง บริเวณที่รับรู้ 
ความรู้สกึในสมองจึงเปลี่ยนไปด้วย 
จึงทำาให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกหลอนว่า 
อวัยวะที่ถูกตัดออกไปยังคงอยู่ และมี 
อาการต่างๆ ที่ไม่เฉพาะเจาะจง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับ 
การตัดแขนขา 
1. การพยาบาลก่อนผ่าตัด 
การเตรียมทางด้าน 
ร่างกาย 
การเตรียมทางด้าน 
จิตใจ 
2. การพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยก่อน 
การตัดแขนขา 
เรื่องการประเมินภาวะสุขภาพและ 
วางแผนการพยาบาลทงั้ในด้านร่างกาย 
จิตใจ อารมณ ์ และสังคม เน้นในด้าน 
จิตใจ เนื่องจากผู้ป่วยมักวิตกกังวล 
เครียด และซึมเศร้า ไม่ยอมรับในการ 
รักษา ทตี่อ้งมีการสญูเสยีขาหรือแขน 
ซึ่งถือเป็นอวัยวะที่สำาคัญในการดำารง 
ชพี รวมถึงด้านภาพลักษณ์
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล 
ก่อนผ่าตัดแขนขา 
* มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการ 
ผ่าตัด 
*ขาดความรู้เกี่ยวกับการเตรียม 
ความพร้อมก่อนผ่าตัด
การพยาบาลก่อนผ่าตัด 
 สร้างสัมพันธภาพที่ดี 
 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดระบาย 
ความรู้สึก 
 อาจใช้เทคนิคกลุ่มบำาบัด 
 แนะนำาการออกกำาลังกายก่อน 
ผ่าตัด เตรียมความพร้อมเพื่อการ 
ระงับความรู้สึก 
 ดูแลบริเวณแผลหรือผิวหนังที่มี
การพยาบาลหลังผ่าตัด 
 วัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยกลับคืนสู่ 
สภาพปกตไิด้โดยเร็ว ตลอดจนไม่มี 
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตดั โดย 
เฉพาะ 24-48 ชวั่โมงหลังผ่าตดั 
 ตัวอย่างของข้อวินิจฉัยและการ 
พยาบาลหลังผ่าตัด 
- เสี่ยงต่อภาวะตกเลือดจากการผ่าตัดแขนขา 
- มีอาการปวด บวมบริเวณแผลหลังผ่าตัด 
เสี่ยงต่อการเกิดอุปสรรคในการใส่อวัยวะ
เสี่ยงต่อภาวะตกเลือดจาก 
การผ่าตัดแขนขา 
 ประเมินอาการและอาการแสดงของ 
การตกเลือด 
 ดูแลการทำางานของขวดระบาย 
 การสังเกตการไหลเวียน บริเวณ 
แผลผ่าตัด ดูแลพันผ้ายืดและยกขา 
 ดูแลให้ได้รับสารนำ้าทางหลอดเลือด 
ดำา 
 ดูแลบันทึกสารนำ้าเข้าและออก 
สังเกต Urine output
มีอาการปวด บวมบริเวณ 
แผลหลังผ่าตัด 
 การประเมินความปวด ต้องแยกให้ 
ออกว่าปวดแผลผ่าตดัทเี่ย็บหรือ 
Neuroma ปวดจาก Phantom pain 
ลักษณะปวดแปล๊บคล้ายเข็มแทง 
บบีรัด ปวดแสบปวดร้อน ไม่แน่นอน 
บางรายมี Phantom sensation หรือ 
ความรู้สกึหลอนว่าอวัยวะหดเข้ามาหา 
stump รู้สึกชา รู้สกึแขนขาที่ตดัไป 
เคลอื่นไหวหรือแกวง่ลอย
มีอาการปวด บวมบริเวณแผล 
หลังผ่าตัด(ต่อ) 
 ดูแลให้พักตอแขนขาในระยะ 24-48 
ชวั่โมงแรกหลังผ่าตัด 
 ยกตอขาให้สงู หรือวางบนหมอน 
 จัดท่ายกปลายเท้าเตียงให้สูงเพื่อช่วยลด 
บวม ลดปวด 
 ดูแลทางด้านจิตใจ และให้ความรู้ 
 แนะนำาและกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำาลัง 
กล้ามเนื้อ 
 ใช้เทคนิคการเคาะเบาๆ ที่ตอขา
ในระยะหลัง 48 ชั่วโมงไปแล้ว 
 อาจมีการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด 
-ดูแลประเมินบริเวณแผลผ่าตัด โดย 
เฉพาะในราย 
ทผี่่าตัด Opened stump 
- ทำาแผลผ่าตัดด้วยหลัก Aseptic 
technique 
-ควรประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะ 
อุณหภูมิ 
ในร่างกาย
: เสี่ยงต่อการเกิดอุปสรรคในการ 
ใส่อวัยวะเทียมจากการผิดรูปของ 
ตอขา (Stump) 
 ผู้ป่วยA.K. amputation ให้นอน 
ควำ่าหมุนขาเข้าข้างในไม่วางหมอน 
ระหวา่งขา 
 ผู้ป่วย B.K. amputation หลีกเลี่ยง 
การอยู่ในท่างอตอขา 
 แนะนำาทา่ตา่งๆ ทคี่วรหลีกเลยี่ง 
 ดูแลพันผ้าทตี่อแขนขาให้ได้รูป ลด 
อาการบวม พนัอวัยวะให้ได้รูปโคน
การดูแล Stump
เทคนิคการพันผ้า 
 พัน stump ให้มีคุณภาพ 
- พันผ้ายืดไปทางเดียวกัน 
- พันแบบทะแยงมุม ไม่พัน 
circular 
- พันสูงถึงระดับเหนือข้อที่ตัด 
มากที่สุด 
- พันตลอด 24 ชวั่โมงและแก้ 
พันใหม่เมื่อหลวม 
วันละ 2 - 3 ครั้ง
เทคนิคการพันผ้า 
- กรณี BKA :พันให้มีรูปร่างทรง 
กระบอก (cylindrical) 
- กรณี AKA : พันให้เป็นรูปโคน 
(conical) 
ใช้ผ้ายืดกว้าง 4 และ 6 นิ้ว สำาหรับ 
ตอระดับ BKA และ AKA
อาจเกิดความวิตกกังวลกับสภาพความเจ็บ 
ป่วยและปรับตัว 
 สร้างสมัพันธภาพกบัผู้ปว่ย เปดิ 
โอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกตลอด 
จนปญัหาและความตอ้งการ พยาบาล 
ปลอบโยนและให้กำาลังใจแก่ผู้ป่วย 
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แนะนำาเกี่ยว 
กบัเทคนิคผ่อนคลายความวิตกกังวล 
และให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการดูแลตอ 
แขนขาเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถสวมแขน 
ขาเทียมได้เร็วที่สุด
ขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อ 
กลับไปอยู่บ้าน  แนะนำาการทำาความสะอาดตอแขนขา 
ไม่แช่ Stump นวดเบาๆ เพื่อกระตุ้นให้มี 
การไหลเวียนเลือด 
 บอกวัตถุประสงค์และวิธีการพัน Stump 
แก่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแล 
 สอนหลักทั่วไปในการพันผ้า 
 แนะนำาการออกกำาลังกายแขนขาข้างที่ 
ถูกตัด 
 ให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ หากพบอาการ
Stump Exercise

Contenu connexe

Tendances

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 

Tendances (20)

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 

Amputation