SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
เปรียบเทียบ
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑
กับ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดา
รงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้
และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ
แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน
และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมี
จริยธรรม
สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง ๓. ๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการ
เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร
การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล มีคุณธรรม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
๑. อธิบายหลักการทางาน บทบาท และ
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
๒. อภิปราย ลักษณะสาคัญ และ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓. ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประ
จาวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กับปัญหา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นา
เสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน
และดาเนินการแก้ปัญหา
๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่
เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข
และนาเสนอผลการแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ กลไก ไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
๑. ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิง
คานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานที่
พบในชีวิตจริง
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและ
ฟังก์ชันในการแก้ปัญหา
๓. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ
สื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหา
เบื้องต้น
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มี
ความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิในการ
เผยแพร่ผลงาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
๑. อธิบายหลักการเบื้องต้นของ
การสื่อสารข้อมูล และเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
๒. อธิบายหลักการ และวิธีการ
แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ
๓. ค้นหาข้อมูล และติดต่อสื่อสารผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมี
คุณธรรมและ จริยธรรม
๔. ใช้ซอฟต์แวร์ในการทางาน
๑. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดย พิจารณา
จากสาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้
เทคโนโลยี โดย คานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิตสังคม
และ สิ่งแวดล้อม
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น
สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและ
ทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น
เข้าใจ วางแผน ขั้นตอนการทางานและดาเนินการ
แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือ
ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนว
ทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลไก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
๑. ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิง
นามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทา
งานที่พบในชีวิตจริง
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์
๓. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล
ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ
บริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้
สื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและ
ข้อตกลง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
๑. อธิบายหลักการทาโครงงานที่มีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
๒. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน
๓. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานใน
รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
๔.ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจาก
จินตนาการหรืองานที่ทาในชีวิตประจาวัน
ตามหลักการทาโครงงานอย่างมีจิตสานึก
และความรับผิดชอบ
๑. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์
อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็น
แนวทางการแก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น
เพื่อพัฒนางาน อาชีพ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม
วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา โดยคานึง
ถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและ
ทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น
เข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผน
ขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขั้นตอน
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหา
หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้ง
หา แนวทางการ ปรับปรุงแก้ไขและนาเสนอผลการ
แก้ปัญหา
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะของ
งาน และปลอดภัย เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
๑. พัฒนาแอพพลิเคชันที่มีการ บูรณาการกับ
วิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์
๒. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล
นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตาม
วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน
อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
๓. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้
ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและ
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม
กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิของ
ผู้อื่นโดยชอบธรรม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖
๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบ
สารสนเทศ
๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการ
ทางานของคอมพิวเตอร์
๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่อพ่วง
๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
๑. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับ
ศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง
ประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี
๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มี
ความซับซ้อนเพื่อ สังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา
โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา
๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ
ตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มี
อยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค
หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการ
ออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางาน และดาเนินการ
แก้ปัญหา
๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือ
ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการ
ปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอ
แนวทางการพัฒนาต่อยอด
๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก
ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการ
แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ
ปลอดภัย
๑. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ
พัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น
อย่างสร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖ (ต่อ)
๖. เขียนโปรแกรมภาษา
๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสม
กับงาน
๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน
อินเทอร์เน็ต
๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบ
การตัดสินใจ
๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์
ต่างๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทา
โครงงานเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
๑. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้
ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล
เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือ
เพิ่มมูลค่าให้กับบริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน
ชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
----
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑
๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและ
แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม
และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
สารสนเทศที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ
สังคม และวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖ (ต่อ)
๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน
ในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของงาน
๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
หรือโครงงานอย่างมีจิตสานึกและความ
รับผิดชอบ
๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เหตุผลในการเปลี่ยนแปลง
- พัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณภาพในศตวรรษที่ ๒๑
- สร้างความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมทักษะขั้นพื้นฐานในการนาเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรม
อย่างสร้างสรรค์
- ตอบสนองต่อโมเดลประเทศไทย ๔.๐
- เตรียมเยาวชน ให้เป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
สาระที่ ๘
เทคโนโลยี
(เดิม)
สาระที่ ๘
เทคโนโลยี
(ใหม่)
มาตรฐาน ว ๘.๑
การออกแบบและเทคโนโลยี
(ม. ๑-๕)
มาตรฐาน ว ๘.๒
วิทยาการคานวณ (ป.๑ –ม.๖)
เปรียบเทียบ เป้าหมาย จุดเน้น
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (๒๕๕๑) วิชาวิทยาการคานวณ (ปรับปรุง ๒๕๖๐)
ให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือ
สารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์นา
สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ความรู้ใน
การแก้ปัญหาในชีวิตจริง การทางานร่วมกันอย่าง
สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคม และใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน มีความ
รับผิดชอบ มีจริยธรรม
ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
แก้ปัญหา การสร้างชิ้นงานอย่างเหมาะสมและมี
จริยธรรม
เป้าหมาย
จุดเน้น
ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้อย่าง
เหมาะสม มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มี
ทักษะการแก้ปัญหาผ่านการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาอย่าง
เป็นขั้นตอน สร้างทางเลือกในการตัดสินใจนา
สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิง
คานวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย
วิพากย์ ข้อดีและข้อจากัด
หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ข้อดี
เน้นฝึกทักษะปฏิบัติ การแก้ปัญหา การคิด และการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานผ่าน
project-based หรือ problem-based คานึกถึงการ
ดารงชีวิตของนักเรียนในการใชทักษะต่างให้มีคุณภาพใน
ศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งเป็นการเน้นทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ สร้าง
นวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ ตอบสนองต่อโมเดลประเทศไทย
๔.๐ เตรียมเยาวชน ให้เป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในยุค
เศรษฐกิจดิจิทัล
ข้อจากัด
ในทางปฏิบัติทางโรงเรียนจะต้องมีความพร้อมทั้ง
ด้านครูผู้สอน อุปกรณ์ สื่อ ประกอบการเรียนการสอน และตัว
ผู้เรียน เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดผล และในช่วงแรกอาจทา
ให้ยึดถือระบบเดิมทาให้ในเวลาพอสมควรในการเปลี่ยนแปลง
ข้อดี
ฝึกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วย
กระบวนการเทคโนโลยี ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และ
ซอฟต์แวร์ได้อย่างเหมาะสม มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ มีทักษะการแก้ปัญหาผ่านการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ให้
ข้อจากัด
เนื่องจากหลักสูตรเน้นการ บอก อธิบาย หรือ
อภิปราย ทาให้ผู้สอนจัดการสอนแบบบรรยายมากกว่าฝึกทักษะ
สาคัญ ไม่มีการเชื่อมโยงกลุ่มสาระ
เอกสารอ้างอิง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. (2551). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560, จาก https://drive.google.com/file/d/
0B6x91GeTN7siUkVYTXZfc3BPY2M/view
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม 2560). (2560). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560,
จาก https://sgs.bopp-obec.info/menu//Data/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ%20(ฉบับปรับปรุง%20
พ.ศ.2560).pdf
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). การชี้แจงและท าความเข้าใจการปรับปรุง มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560,
จาก https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dmUe5RTRWZnZ4S21pZDg/view
จัดทาโดย
นางสาวพรวิภา อ่อนละมูล 573050666-9
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. จารุณี ซามาตย์
รายวิชา
237400 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN SECONDARY SCHOOL
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา

Contenu connexe

En vedette

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 

En vedette (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

  • 2. เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระที่ ๘ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดา รงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมี จริยธรรม สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓. ๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณธรรม
  • 3. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. อธิบายหลักการทางาน บทบาท และ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ๒. อภิปราย ลักษณะสาคัญ และ ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ๑. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประ จาวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นา เสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน และดาเนินการแก้ปัญหา ๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย ๑. ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิง คานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานที่ พบในชีวิตจริง ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและ ฟังก์ชันในการแก้ปัญหา ๓. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางาน ของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ สื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหา เบื้องต้น ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มี ความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิในการ เผยแพร่ผลงาน
  • 4. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. อธิบายหลักการเบื้องต้นของ การสื่อสารข้อมูล และเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ๒. อธิบายหลักการ และวิธีการ แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ ๓. ค้นหาข้อมูล และติดต่อสื่อสารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมี คุณธรรมและ จริยธรรม ๔. ใช้ซอฟต์แวร์ในการทางาน ๑. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดย พิจารณา จากสาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้ เทคโนโลยี โดย คานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิตสังคม และ สิ่งแวดล้อม ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและ ทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจ วางแผน ขั้นตอนการทางานและดาเนินการ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือ ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนว ทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ๑. ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิง นามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทา งานที่พบในชีวิตจริง ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ ๓. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ บริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้ สื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและ ข้อตกลง
  • 5. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. อธิบายหลักการทาโครงงานที่มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน ๓. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานใน รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ๔.ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจาก จินตนาการหรืองานที่ทาในชีวิตประจาวัน ตามหลักการทาโครงงานอย่างมีจิตสานึก และความรับผิดชอบ ๑. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ อื่น โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็น แนวทางการแก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางาน อาชีพ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา โดยคานึง ถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและ ทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น เข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผน ขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหา หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้ง หา แนวทางการ ปรับปรุงแก้ไขและนาเสนอผลการ แก้ปัญหา ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะของ งาน และปลอดภัย เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ๑. พัฒนาแอพพลิเคชันที่มีการ บูรณาการกับ วิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ๒. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตาม วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ๓. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิของ ผู้อื่นโดยชอบธรรม
  • 6. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ตัวชี้วัด ม. ๔-๖ ๑. อธิบายองค์ประกอบของระบบ สารสนเทศ ๒. อธิบายองค์ประกอบและหลักการ ทางานของคอมพิวเตอร์ ๓. อธิบายระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ๕. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ๑. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับ ศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง ประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี ๒. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มี ความซับซ้อนเพื่อ สังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ๓. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มี อยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการ ออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางาน และดาเนินการ แก้ปัญหา ๔. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือ ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอ แนวทางการพัฒนาต่อยอด ๕. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการ แก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย ๑. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการ พัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่างสร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
  • 7. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ตัวชี้วัด ม. ๔-๖ (ต่อ) ๖. เขียนโปรแกรมภาษา ๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ๘. ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสม กับงาน ๙. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน อินเทอร์เน็ต ๑๐. ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบ การตัดสินใจ ๑. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ ต่างๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทา โครงงานเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ๑. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือ เพิ่มมูลค่าให้กับบริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์
  • 8. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ---- หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐาน ว ๘.๑ มาตรฐาน ว ๘.๒มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและ แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ม. ๔-๖ (ต่อ) ๑๑. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตาม วัตถุประสงค์ของงาน ๑๒. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน หรือโครงงานอย่างมีจิตสานึกและความ รับผิดชอบ ๑๓. บอกข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 9. เหตุผลในการเปลี่ยนแปลง - พัฒนาทักษะของผู้เรียนให้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณภาพในศตวรรษที่ ๒๑ - สร้างความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมทักษะขั้นพื้นฐานในการนาเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรม อย่างสร้างสรรค์ - ตอบสนองต่อโมเดลประเทศไทย ๔.๐ - เตรียมเยาวชน ให้เป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล สาระที่ ๘ เทคโนโลยี (เดิม) สาระที่ ๘ เทคโนโลยี (ใหม่) มาตรฐาน ว ๘.๑ การออกแบบและเทคโนโลยี (ม. ๑-๕) มาตรฐาน ว ๘.๒ วิทยาการคานวณ (ป.๑ –ม.๖)
  • 10. เปรียบเทียบ เป้าหมาย จุดเน้น วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (๒๕๕๑) วิชาวิทยาการคานวณ (ปรับปรุง ๒๕๖๐) ให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือ สารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์นา สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ความรู้ใน การแก้ปัญหาในชีวิตจริง การทางานร่วมกันอย่าง สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคม และใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน มีความ รับผิดชอบ มีจริยธรรม ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ แก้ปัญหา การสร้างชิ้นงานอย่างเหมาะสมและมี จริยธรรม เป้าหมาย จุดเน้น ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้อย่าง เหมาะสม มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มี ทักษะการแก้ปัญหาผ่านการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอน สร้างทางเลือกในการตัดสินใจนา สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิง คานวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย
  • 11. วิพากย์ ข้อดีและข้อจากัด หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ข้อดี เน้นฝึกทักษะปฏิบัติ การแก้ปัญหา การคิด และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานผ่าน project-based หรือ problem-based คานึกถึงการ ดารงชีวิตของนักเรียนในการใชทักษะต่างให้มีคุณภาพใน ศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งเป็นการเน้นทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ สร้าง นวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ ตอบสนองต่อโมเดลประเทศไทย ๔.๐ เตรียมเยาวชน ให้เป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในยุค เศรษฐกิจดิจิทัล ข้อจากัด ในทางปฏิบัติทางโรงเรียนจะต้องมีความพร้อมทั้ง ด้านครูผู้สอน อุปกรณ์ สื่อ ประกอบการเรียนการสอน และตัว ผู้เรียน เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดผล และในช่วงแรกอาจทา ให้ยึดถือระบบเดิมทาให้ในเวลาพอสมควรในการเปลี่ยนแปลง ข้อดี ฝึกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วย กระบวนการเทคโนโลยี ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ได้อย่างเหมาะสม มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ มีทักษะการแก้ปัญหาผ่านการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ให้ ข้อจากัด เนื่องจากหลักสูตรเน้นการ บอก อธิบาย หรือ อภิปราย ทาให้ผู้สอนจัดการสอนแบบบรรยายมากกว่าฝึกทักษะ สาคัญ ไม่มีการเชื่อมโยงกลุ่มสาระ
  • 12. เอกสารอ้างอิง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. (2551). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560, จาก https://drive.google.com/file/d/ 0B6x91GeTN7siUkVYTXZfc3BPY2M/view หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม 2560). (2560). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560, จาก https://sgs.bopp-obec.info/menu//Data/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ%20(ฉบับปรับปรุง%20 พ.ศ.2560).pdf สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). การชี้แจงและท าความเข้าใจการปรับปรุง มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560, จาก https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dmUe5RTRWZnZ4S21pZDg/view
  • 13. จัดทาโดย นางสาวพรวิภา อ่อนละมูล 573050666-9 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. จารุณี ซามาตย์ รายวิชา 237400 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN SECONDARY SCHOOL การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา