SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
การบรรยาย ครั้งที่ 3
• ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
- สมัยสุโขทัย
- สมัยกรุงศรีอยุธยา
- สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
- สมัยปฏิรูป
• ลาดับชั้นของกฎหมาย
สมัยสุโขทัย
การปกครองในสมัยพ่อขุนรามคาแห่งซึ่งนับเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง
ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสยามได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก
ลักษณะ เป็นกฎหมายชาวบ้าน กฎหมายใช้หลักธรรมะในสังคม
กฎหมายที่สาคัญในสมัยสุโขทัยมี 3 ฉบับได้แก่ กฎหมายพ่อขุน
รามคาแหง กฎหมายลักษณะโจรสมัยสุโขทัย(ศิลาหลักที่ 38) และมังราย
ศาสตร์ (กฎหมายของพระเจ้ามังราย)
ข้อความที่ปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ( ปีพ.ศ.
๑๘๒๘-๑๘๓๕ )ที่มีลักษณะเป็นกฎหมาย เรียกกันว่า กฎหมายสี่บท
ได้แก่
๑.) บทเรื่องมรดก ผู้มีสิทธิได้รับมรดกคือลูกของผู้ตายเท่านั้น
๒.)บทเรื่องที่ดิน ผู้ใดเป็นผู้ถางป่า และเพาะปลูกพืชลงไปย่อมได้มาซึ่งการ
ครอบครองบริเวณนั้น
๓.) บทวิธีพิจารณาความ บางความเห็นว่ามีศาลบางความเห็นว่าไม่มีศาล
๔.)บทลักษณะฎีกา อนุญาตให้ถวายฎีกาเวลาประชาชนเดือดร้อนโดย
แขวนกระดิ่งไว้หน้าประตูเมือง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
กรุงศรีอยุธยา นับเป็นราชธานีแห่งที่สองของไทย ได้ก่อตั้งขึ้น
เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ พระมหากษัตริย์ในยุคนั้น ได้สร้าง กฎหมาย
ซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ เป็นกฎหมายที่มีต้นกาเนิดในอินเดีย เรียกว่า
คาภีร์พระธรรมศาสตร์ นักกฎหมายไทยในสมัยพระนครศรีอยุธยาจึงนาเอา
คาภีร์ของมอญมาเป็นหลักในการบัญญัติกฎหมายของตน
กาเนิดคัมภีร์พระธรรมศาสตร์
• ท้าวมหาพรหมมาจุติในโลกเป็นลูกของตระกูลอามาตย์ ต่อมาออกบวชแล้วมี
ลูกสองคน ชื่อ ภัทรดาบส มโนสารดาบส ต่อมาทั้งสองคนเข้ามารับใช้พระ
สมมุติราช โดยภัทรเป็น ปุโรหิต มโนสารเป็นผู้พิพากษา ต่อมามีชายสองคน
มาฟ้ อง เรื่องเจ้าของแตง มโนสารพิพากษาว่าแตงอยู่ที่ใครเป็นของคนนั้น
ชายคนหนึ่งไม่พอใจจึงฟ้ องพระเจ้าสมมุติราช จึงให้อามาตย์พิจารณาใหม่
ตัดสินโดยการเลิกต้นแตงขึ้นดูตามปลายยอด เอายอดแตงกลับมาไว้ที่ต้น
ชายทั้งสองพอใจ ประชาชนจึงตาหนิมโนสารว่าไม่เป็นธรรม นโนสารเสียใจ
จึงออกบวช แล้วเจริญภาวนา หลังจากนั้นจึงเหาะไปที่กาแพงจักรวาลเห็น
คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ ก็จดจามาเรียบเรียง (การบอกว่าอยู่ที่กาแพงจักรวาล
เป็นกุลโลบายอย่างหนึ่งเพื่อให้เห็นว่ากฎหมายเป็นสิ่งที่สูงสุด สูงกว่ามนุษย์
ทั้งปวง)
• ลักษณะกฎหมายในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วน
ใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อกัน
ว่าการออกกฎหมายในสมัยก่อนนั้น จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับ
เท่านั้น ได้แก่ ฉบับที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนาง
ข้าราชการทั่วไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนาไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้
พิพากษาเพื่อใช้ในการพิจารณาอรรถคดี
แนวคิดสาคัญทางกฎหมาย
• กาหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ
• พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของที่ดินทั้งปวง
• การลงโทษมีหลายรูปแบบ
การไม่ปรากฏต้นฉบับกฎหมายของอยุธยาเป็นหนังสือ
• ถูกพม่าเผาทาลาย
• เอกสารเขียนด้วยมือ เก็บรักษาไว้ไม่ได้นาน
• กฎหมายตราสามดวงของรัชกาลที่ 1 ทาให้กฎหมายเก่าของอยุธยาสิ้น
ความสาคัญ
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1 – ร.4)
ในปี 2347 เกิดคดีอาแดงป้ อม นายบุญศรีช่างเหล็กหลวงร้องทุกข์
กล่าวโทษนายเกษม และนายราชาอรรถ ว่าอาแดงป้ อมภรรยาเป็นชู้กับนาย
ราชาอรรถแล้วฟ้ องหย่านายบุญศรี นายบุญศรีไม่ยอมหย่า พระเกษมไม่ยอม
พิจารณาตามคาให้การเข้าข้างอาแดงป้ อม แล้วพิจารณาให้อาแดงป้ อมหย่า
จากนายบุญศรีได้
ร.1 เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อนมานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้
รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ ที่จะทาให้ง่ายต่อการศึกษาและนามาใช้ จึงโปรด
เกล้าให้มีการชาระกฎหมายขึ้นมาใหม่ โดยนามารวบรวมกฎหมายเดิมเข้าเป็น
ลักษณะหมวดหมู่ โดยกล่าวว่าฝ่ายศาสนจักรพระไตรปิฎกฟั่นเฟือนวิปริต ก็
สังคายนาได้ ฝ่ายราชอาณาจักรกฎหมายฟั่นเฟือนวิปริตจึงควรชาระให้ถูกกต้อง
ได้เช่นกัน จึงให้อาลักษณ์ 4 ลูกขุน 3 ราชบัณฑิต 4
โดยสาเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ และได้ทรงนามาประทับตราเป็น
ตราพระราชสีห์ ตราคชสีห์ และตราบัวแก้ว กฎหมายฉบับนั้นเรียกกัน
ว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ถือเป็นประมวล
กฎหมายของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทาง
แพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระธรรมศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว
ยังคงมีกฎหมายสาคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน
ลักษณะทาส ลักษณะโจร และต่อมาได้มีการตราขึ้นอีกหลายฉบับ
จารีตนครบาล
ในกฎหมายตราสามดวง หากเป็นความอาญา เรียกว่าจารีตนครบาล
หลักการคือ ผู้ใดถูกฟ้ องร้องหรือถูกกล่าหาว่าได้กระทาความผิด ให้เชื่อไว้ก่อนว่า “ผู้
นั้นทาความผิด” จนกว่าผู้ต้องหานั้นจะหาหลักฐานพยานมาพิสูจน์ว่า “ตนเป็นผู้
บริสุทธิ์” จึงจะรอดตัวไป อาญาตามจารีตนครบาลที่ใช้ในกระบวนการวิธีพิจารณาไต่
สวนความอาญา มีปรากฏในกฎหมายเก่า ตัวอย่างดังต่อไปนี้
มาตรา 109 ว่าด้วยการสับเสี่ยง ผู้ฟ้ องให้ส่งลูกสาว โดยมีสาระสาคัญในคาฟ้ องนั้นว่า
ตนได้เจรจากับผู้หญิงที่ตนรักว่าจะส่งผู้ใหญ่ของตนไปสู่ขอกับผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิง
และได้มอบสิ่งของเงินทองให้แก่ผู้หญิงคนนั้นแล้ว จึงขอให้ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงส่งผู้หญิง
คนนั้นไปให้ตน ผู้พิพากษาตระลาการพิจารณาตัดสินว่า “ชายผู้นั้นบังอาจเหนือ
พระราชบัญญัติความเมืองให้สับศีรษะ 3 เสี่ยง ตระเวน 3 วัน” และให้ยกฟ้ อง
• ต่อมาประเทศไทยมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศต่างๆมากขึ้น พึง
เห็นได้ว่ากฎหมายเดิมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยะประเทศ
นอกจากนั้นยังไม่สามารถนามาใช้บังคับได้ทุกกรณี จนกระทั่งในสมัย
รัชกาลที่ 4 ได้มีการทาสนธิสัญญาเบาริ่ง จนทาให้ไทยต้องเสียสิทธิ
สภาพนอกอาณาเขต
สมัยปฏิรูป ร.5 - ปัจจุบัน
• เหตุแห่งการปฏิรูปกฎหมาย
- สนธิสัญญาเบาริ่ง ในสมัย ร 4 ทาให้ไทยเสียสิทธิสภาพนอก
อาณาเขต
- ระบบจารีตนครบาล กฎหมายเก่าเหล่านี้ใช้กันเรื่อยมา จนถึงรัช
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เหตุผลของการจัดทาประมวลกฎหมาย
1 เพื่อรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยลักษณะเดียวกัน ซึ่ง
กระจัดกระจายเข้าไว้เป็นหมวดหมู่ในประมวลกฎหมายอันเดียวกัน เช่น
ลักษณะวิวาท ลักษณะอาญาหลวง พระราชบัญญัติว่าด้วยอั้งยี่ ร.ศ.116
พระราชบัญญัติลักษณะหมิ่นประมาท ร.ศ.118 ประกาศลักษณะฉ้อ ร.ศ.119
เป็นต้น ทาให้เป็นการยากลาบากแก่ศาลในการนามาพิจารณาพิพากษาคดี
2 บทบัญญัติทางกฎหมายหลายฉบับโบราณเกินไปไม่สอดคล้องกับ
แนวความคิดสมัยใหม่ที่กาลังมีอิทธิพลมากขึ้น ๆ ในประเทศสยาม และจาเป็น
จะต้องรีบแก้ไข เช่น วิธีพิจารณาในสมัยโบราณให้ช่องแก่คู่ความที่จะยื่นอุทธรณ์
ฏีกาได้หลายชั้น
3 เป็นโอกาสให้ได้ตรวจชาระบทกฎหมายที่มีอยู่รวมทั้งนาเอาหลัก
กฎหมายใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีอยู่ในกฎหมายสยามมาบัญญัติรวมไว้ด้วย
กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127
• วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงประกาศใช้กฎหมาย
ลักษณะอาญา ร.ศ.127 ซึ่งนับเป็น ประมวลกฎหมาย ฉบับแรกของ
ไทย โดยมี พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็น
ประธานคณะกรรมการการตรวจพระราชกาหนดโดยนาระบบ civil
law ตามแบบประเทศในภาคพื้นยุโรปมาเป็นแนวในการปฏิรูประบบ
กฎหมายของไทย โดยเริ่มทาตั้งแต่ปี 2440 สาเร็จในปี 2451 ใช้เวลาถึง
11 ปี ประเทศไทยใช้ประมวลกฎหมายฉบับนี้มาเป็นเวลานานถึง 49 ปี
ถือว่าเป็นต้นแบบของประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งประกาศให้ใช้เมื่อ
วันที่ 1 มกราคม 2500
รัฐธรรมนูญ
ในรัชสมัยสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ บรรดานักเรียนทุน
หลวงที่ทางรัฐบาลไทยได้ส่งไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ เช่น เยอรมัน ฝรั่งเศส
สหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะกลับมารับราชการสนองพระเดชพระคุณ ได้เรียนวิชา
ต่าง ๆ รวมถึงวิชากฎหมาย และเห็นว่าประเทศไทยยังมีความล้าหลังในการ
ปกครองประเทศกว่านานา ประเทศตะวันตกอยู่มาก ด้วยความเป็นนักเรียน
หนุ่มอายุน้อย และอยากเห็นการพัฒนาประเทศเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็ว
ที่สุด จึงได้มีการติดต่อประสานงานจัดตั้งคณะราษฎร์ขึ้นเพื่อที่จะปฏิวัติการ
ปกครองประเทศขึ้นมาใหม่ โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ตามแบบ
อารยะประเทศที่ตนได้ไปศึกษาและเรียนรู้มามีการแบ่งสายการทางานเป็น ๒
สาย คือสายราษฎรและสายทหาร โดยมีผู้นาที่สาคัญดังนี้
๑. สายของพลเรือนนาโดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์
และพรรคพวก
๒. สายทหาร นาโดย นายทหารชั้นสูงระดับผู้บังคับการ จานวน ๓ ท่านคือ พระ
ยาทรงสุเดช พระยาพหลพลพยุหเสนา และพระประศาสตร์พิทยายุทธ์
คณะราษฎร์ได้การกระทาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ
ไทย จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบบประชาธิปไตย ในวันที่
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้เวลาร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพียง ๒ วัน
ก็แล้วเสร็จในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ให้พระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงลงพระปรมาภิไธย ก่อนมีการแก้ไข
เพิ่มแล้ว ประกาศใช้ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยมี พระยามโน
ปกรณ์ นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย
นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึง
ปัจจุบันเป็นเวลา 82 ปีแล้ว ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญทั้งถาวรและชั่วคราว
รวมกัน 19 ฉบับ เฉลี่ยแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับหนึ่งใช้ได้เพียง 4 ปี 3 เดือน
เท่านั้น
• รัฐประหารครั้งแรก 2476
• กบฏครั้งแรก 2476
ลาดับชั้นของกฎหมายไทย
• รัฐธรรมนูญ
• พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
• พระราชบัญญัติ
• พระราชกาหนด
• พระราชกฤษฎีกา
• กฎกระทรวง
• กฎหมายที่ตราโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

Contenu connexe

Tendances

ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวTaraya Srivilas
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวSineenat Kaewlay
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติthnaporn999
 
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายAum Orrawan
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์Rodchana Pattha
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 

Tendances (20)

ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 

En vedette

อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์choyoungjy_97
 
Brabant Academy Jaarverslag 2012
Brabant Academy Jaarverslag 2012Brabant Academy Jaarverslag 2012
Brabant Academy Jaarverslag 2012Brabant Academy
 
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...Plebiscito Eu
 
Arcadia Corporate Profile - New
Arcadia Corporate Profile - NewArcadia Corporate Profile - New
Arcadia Corporate Profile - NewIda Mazzola
 
A story of love
A story of loveA story of love
A story of loveIvanet598
 
Convention 2015 Plebiscito.eu
Convention 2015 Plebiscito.euConvention 2015 Plebiscito.eu
Convention 2015 Plebiscito.euPlebiscito Eu
 
Sepeda antik yogyakarta
Sepeda antik yogyakartaSepeda antik yogyakarta
Sepeda antik yogyakartademaarif
 
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp T
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp TSlides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp T
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp TBrabant Academy
 
Ecosystem lapbooks
Ecosystem lapbooksEcosystem lapbooks
Ecosystem lapbooksbatriza
 
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...Ramsey Hall Limited
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
ShareConf 03.07.2014 SAP Integration für Sharepoint
ShareConf 03.07.2014   SAP Integration für SharepointShareConf 03.07.2014   SAP Integration für Sharepoint
ShareConf 03.07.2014 SAP Integration für SharepointPatrick Theobald
 
Brabant Biennial Magazine 2012
Brabant Biennial Magazine 2012Brabant Biennial Magazine 2012
Brabant Biennial Magazine 2012Brabant Academy
 
Yellow Bubble Онлайн Чат
Yellow Bubble Онлайн ЧатYellow Bubble Онлайн Чат
Yellow Bubble Онлайн Чат_YellowBubble_
 
Lassus title sequence pitch
Lassus   title sequence pitchLassus   title sequence pitch
Lassus title sequence pitchamber1236
 

En vedette (20)

อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Abcde
AbcdeAbcde
Abcde
 
Ippbx
IppbxIppbx
Ippbx
 
Brabant Academy Jaarverslag 2012
Brabant Academy Jaarverslag 2012Brabant Academy Jaarverslag 2012
Brabant Academy Jaarverslag 2012
 
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...
Dal Referendum di indipendenza del Veneto del 2014 al Cripto-Stato Veneto ind...
 
Arcadia Corporate Profile - New
Arcadia Corporate Profile - NewArcadia Corporate Profile - New
Arcadia Corporate Profile - New
 
Hero
HeroHero
Hero
 
A story of love
A story of loveA story of love
A story of love
 
Convention 2015 Plebiscito.eu
Convention 2015 Plebiscito.euConvention 2015 Plebiscito.eu
Convention 2015 Plebiscito.eu
 
Sepeda antik yogyakarta
Sepeda antik yogyakartaSepeda antik yogyakarta
Sepeda antik yogyakarta
 
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp T
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp TSlides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp T
Slides atelierweek Brabant Biënnale over Strijp T
 
Ecosystem lapbooks
Ecosystem lapbooksEcosystem lapbooks
Ecosystem lapbooks
 
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...
Using Capability Development Centres To Assist Organisations In Achieving The...
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
ShareConf 03.07.2014 SAP Integration für Sharepoint
ShareConf 03.07.2014   SAP Integration für SharepointShareConf 03.07.2014   SAP Integration für Sharepoint
ShareConf 03.07.2014 SAP Integration für Sharepoint
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
cos-app
cos-appcos-app
cos-app
 
Brabant Biennial Magazine 2012
Brabant Biennial Magazine 2012Brabant Biennial Magazine 2012
Brabant Biennial Magazine 2012
 
Yellow Bubble Онлайн Чат
Yellow Bubble Онлайн ЧатYellow Bubble Онлайн Чат
Yellow Bubble Онлайн Чат
 
Lassus title sequence pitch
Lassus   title sequence pitchLassus   title sequence pitch
Lassus title sequence pitch
 

Similaire à กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองthongkum virut
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similaire à กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3 (20)

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 

Plus de AJ Por

ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนAJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 

Plus de AJ Por (16)

ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3

  • 2. • ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย - สมัยสุโขทัย - สมัยกรุงศรีอยุธยา - สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น - สมัยปฏิรูป • ลาดับชั้นของกฎหมาย
  • 3. สมัยสุโขทัย การปกครองในสมัยพ่อขุนรามคาแห่งซึ่งนับเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสยามได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ลักษณะ เป็นกฎหมายชาวบ้าน กฎหมายใช้หลักธรรมะในสังคม กฎหมายที่สาคัญในสมัยสุโขทัยมี 3 ฉบับได้แก่ กฎหมายพ่อขุน รามคาแหง กฎหมายลักษณะโจรสมัยสุโขทัย(ศิลาหลักที่ 38) และมังราย ศาสตร์ (กฎหมายของพระเจ้ามังราย)
  • 4. ข้อความที่ปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ( ปีพ.ศ. ๑๘๒๘-๑๘๓๕ )ที่มีลักษณะเป็นกฎหมาย เรียกกันว่า กฎหมายสี่บท ได้แก่ ๑.) บทเรื่องมรดก ผู้มีสิทธิได้รับมรดกคือลูกของผู้ตายเท่านั้น ๒.)บทเรื่องที่ดิน ผู้ใดเป็นผู้ถางป่า และเพาะปลูกพืชลงไปย่อมได้มาซึ่งการ ครอบครองบริเวณนั้น ๓.) บทวิธีพิจารณาความ บางความเห็นว่ามีศาลบางความเห็นว่าไม่มีศาล ๔.)บทลักษณะฎีกา อนุญาตให้ถวายฎีกาเวลาประชาชนเดือดร้อนโดย แขวนกระดิ่งไว้หน้าประตูเมือง
  • 5. สมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยา นับเป็นราชธานีแห่งที่สองของไทย ได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ พระมหากษัตริย์ในยุคนั้น ได้สร้าง กฎหมาย ซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ เป็นกฎหมายที่มีต้นกาเนิดในอินเดีย เรียกว่า คาภีร์พระธรรมศาสตร์ นักกฎหมายไทยในสมัยพระนครศรีอยุธยาจึงนาเอา คาภีร์ของมอญมาเป็นหลักในการบัญญัติกฎหมายของตน
  • 6. กาเนิดคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ • ท้าวมหาพรหมมาจุติในโลกเป็นลูกของตระกูลอามาตย์ ต่อมาออกบวชแล้วมี ลูกสองคน ชื่อ ภัทรดาบส มโนสารดาบส ต่อมาทั้งสองคนเข้ามารับใช้พระ สมมุติราช โดยภัทรเป็น ปุโรหิต มโนสารเป็นผู้พิพากษา ต่อมามีชายสองคน มาฟ้ อง เรื่องเจ้าของแตง มโนสารพิพากษาว่าแตงอยู่ที่ใครเป็นของคนนั้น ชายคนหนึ่งไม่พอใจจึงฟ้ องพระเจ้าสมมุติราช จึงให้อามาตย์พิจารณาใหม่ ตัดสินโดยการเลิกต้นแตงขึ้นดูตามปลายยอด เอายอดแตงกลับมาไว้ที่ต้น ชายทั้งสองพอใจ ประชาชนจึงตาหนิมโนสารว่าไม่เป็นธรรม นโนสารเสียใจ จึงออกบวช แล้วเจริญภาวนา หลังจากนั้นจึงเหาะไปที่กาแพงจักรวาลเห็น คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ ก็จดจามาเรียบเรียง (การบอกว่าอยู่ที่กาแพงจักรวาล เป็นกุลโลบายอย่างหนึ่งเพื่อให้เห็นว่ากฎหมายเป็นสิ่งที่สูงสุด สูงกว่ามนุษย์ ทั้งปวง)
  • 7. • ลักษณะกฎหมายในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วน ใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อกัน ว่าการออกกฎหมายในสมัยก่อนนั้น จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับ เท่านั้น ได้แก่ ฉบับที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนาง ข้าราชการทั่วไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนาไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้ พิพากษาเพื่อใช้ในการพิจารณาอรรถคดี แนวคิดสาคัญทางกฎหมาย • กาหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ • พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของที่ดินทั้งปวง • การลงโทษมีหลายรูปแบบ
  • 8. การไม่ปรากฏต้นฉบับกฎหมายของอยุธยาเป็นหนังสือ • ถูกพม่าเผาทาลาย • เอกสารเขียนด้วยมือ เก็บรักษาไว้ไม่ได้นาน • กฎหมายตราสามดวงของรัชกาลที่ 1 ทาให้กฎหมายเก่าของอยุธยาสิ้น ความสาคัญ
  • 9. สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1 – ร.4) ในปี 2347 เกิดคดีอาแดงป้ อม นายบุญศรีช่างเหล็กหลวงร้องทุกข์ กล่าวโทษนายเกษม และนายราชาอรรถ ว่าอาแดงป้ อมภรรยาเป็นชู้กับนาย ราชาอรรถแล้วฟ้ องหย่านายบุญศรี นายบุญศรีไม่ยอมหย่า พระเกษมไม่ยอม พิจารณาตามคาให้การเข้าข้างอาแดงป้ อม แล้วพิจารณาให้อาแดงป้ อมหย่า จากนายบุญศรีได้ ร.1 เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อนมานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้ รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ ที่จะทาให้ง่ายต่อการศึกษาและนามาใช้ จึงโปรด เกล้าให้มีการชาระกฎหมายขึ้นมาใหม่ โดยนามารวบรวมกฎหมายเดิมเข้าเป็น ลักษณะหมวดหมู่ โดยกล่าวว่าฝ่ายศาสนจักรพระไตรปิฎกฟั่นเฟือนวิปริต ก็ สังคายนาได้ ฝ่ายราชอาณาจักรกฎหมายฟั่นเฟือนวิปริตจึงควรชาระให้ถูกกต้อง ได้เช่นกัน จึงให้อาลักษณ์ 4 ลูกขุน 3 ราชบัณฑิต 4
  • 10. โดยสาเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ และได้ทรงนามาประทับตราเป็น ตราพระราชสีห์ ตราคชสีห์ และตราบัวแก้ว กฎหมายฉบับนั้นเรียกกัน ว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ถือเป็นประมวล กฎหมายของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทาง แพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระธรรมศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว ยังคงมีกฎหมายสาคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะทาส ลักษณะโจร และต่อมาได้มีการตราขึ้นอีกหลายฉบับ
  • 11. จารีตนครบาล ในกฎหมายตราสามดวง หากเป็นความอาญา เรียกว่าจารีตนครบาล หลักการคือ ผู้ใดถูกฟ้ องร้องหรือถูกกล่าหาว่าได้กระทาความผิด ให้เชื่อไว้ก่อนว่า “ผู้ นั้นทาความผิด” จนกว่าผู้ต้องหานั้นจะหาหลักฐานพยานมาพิสูจน์ว่า “ตนเป็นผู้ บริสุทธิ์” จึงจะรอดตัวไป อาญาตามจารีตนครบาลที่ใช้ในกระบวนการวิธีพิจารณาไต่ สวนความอาญา มีปรากฏในกฎหมายเก่า ตัวอย่างดังต่อไปนี้ มาตรา 109 ว่าด้วยการสับเสี่ยง ผู้ฟ้ องให้ส่งลูกสาว โดยมีสาระสาคัญในคาฟ้ องนั้นว่า ตนได้เจรจากับผู้หญิงที่ตนรักว่าจะส่งผู้ใหญ่ของตนไปสู่ขอกับผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิง และได้มอบสิ่งของเงินทองให้แก่ผู้หญิงคนนั้นแล้ว จึงขอให้ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงส่งผู้หญิง คนนั้นไปให้ตน ผู้พิพากษาตระลาการพิจารณาตัดสินว่า “ชายผู้นั้นบังอาจเหนือ พระราชบัญญัติความเมืองให้สับศีรษะ 3 เสี่ยง ตระเวน 3 วัน” และให้ยกฟ้ อง
  • 13. สมัยปฏิรูป ร.5 - ปัจจุบัน • เหตุแห่งการปฏิรูปกฎหมาย - สนธิสัญญาเบาริ่ง ในสมัย ร 4 ทาให้ไทยเสียสิทธิสภาพนอก อาณาเขต - ระบบจารีตนครบาล กฎหมายเก่าเหล่านี้ใช้กันเรื่อยมา จนถึงรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 14. เหตุผลของการจัดทาประมวลกฎหมาย 1 เพื่อรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยลักษณะเดียวกัน ซึ่ง กระจัดกระจายเข้าไว้เป็นหมวดหมู่ในประมวลกฎหมายอันเดียวกัน เช่น ลักษณะวิวาท ลักษณะอาญาหลวง พระราชบัญญัติว่าด้วยอั้งยี่ ร.ศ.116 พระราชบัญญัติลักษณะหมิ่นประมาท ร.ศ.118 ประกาศลักษณะฉ้อ ร.ศ.119 เป็นต้น ทาให้เป็นการยากลาบากแก่ศาลในการนามาพิจารณาพิพากษาคดี 2 บทบัญญัติทางกฎหมายหลายฉบับโบราณเกินไปไม่สอดคล้องกับ แนวความคิดสมัยใหม่ที่กาลังมีอิทธิพลมากขึ้น ๆ ในประเทศสยาม และจาเป็น จะต้องรีบแก้ไข เช่น วิธีพิจารณาในสมัยโบราณให้ช่องแก่คู่ความที่จะยื่นอุทธรณ์ ฏีกาได้หลายชั้น 3 เป็นโอกาสให้ได้ตรวจชาระบทกฎหมายที่มีอยู่รวมทั้งนาเอาหลัก กฎหมายใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีอยู่ในกฎหมายสยามมาบัญญัติรวมไว้ด้วย
  • 15. กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 • วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงประกาศใช้กฎหมาย ลักษณะอาญา ร.ศ.127 ซึ่งนับเป็น ประมวลกฎหมาย ฉบับแรกของ ไทย โดยมี พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็น ประธานคณะกรรมการการตรวจพระราชกาหนดโดยนาระบบ civil law ตามแบบประเทศในภาคพื้นยุโรปมาเป็นแนวในการปฏิรูประบบ กฎหมายของไทย โดยเริ่มทาตั้งแต่ปี 2440 สาเร็จในปี 2451 ใช้เวลาถึง 11 ปี ประเทศไทยใช้ประมวลกฎหมายฉบับนี้มาเป็นเวลานานถึง 49 ปี ถือว่าเป็นต้นแบบของประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งประกาศให้ใช้เมื่อ วันที่ 1 มกราคม 2500
  • 16. รัฐธรรมนูญ ในรัชสมัยสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ บรรดานักเรียนทุน หลวงที่ทางรัฐบาลไทยได้ส่งไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ เช่น เยอรมัน ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะกลับมารับราชการสนองพระเดชพระคุณ ได้เรียนวิชา ต่าง ๆ รวมถึงวิชากฎหมาย และเห็นว่าประเทศไทยยังมีความล้าหลังในการ ปกครองประเทศกว่านานา ประเทศตะวันตกอยู่มาก ด้วยความเป็นนักเรียน หนุ่มอายุน้อย และอยากเห็นการพัฒนาประเทศเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็ว ที่สุด จึงได้มีการติดต่อประสานงานจัดตั้งคณะราษฎร์ขึ้นเพื่อที่จะปฏิวัติการ ปกครองประเทศขึ้นมาใหม่ โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ตามแบบ อารยะประเทศที่ตนได้ไปศึกษาและเรียนรู้มามีการแบ่งสายการทางานเป็น ๒ สาย คือสายราษฎรและสายทหาร โดยมีผู้นาที่สาคัญดังนี้ ๑. สายของพลเรือนนาโดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์ และพรรคพวก ๒. สายทหาร นาโดย นายทหารชั้นสูงระดับผู้บังคับการ จานวน ๓ ท่านคือ พระ ยาทรงสุเดช พระยาพหลพลพยุหเสนา และพระประศาสตร์พิทยายุทธ์
  • 17. คณะราษฎร์ได้การกระทาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ ไทย จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบบประชาธิปไตย ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้เวลาร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพียง ๒ วัน ก็แล้วเสร็จในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ให้พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงลงพระปรมาภิไธย ก่อนมีการแก้ไข เพิ่มแล้ว ประกาศใช้ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยมี พระยามโน ปกรณ์ นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึง ปัจจุบันเป็นเวลา 82 ปีแล้ว ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญทั้งถาวรและชั่วคราว รวมกัน 19 ฉบับ เฉลี่ยแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับหนึ่งใช้ได้เพียง 4 ปี 3 เดือน เท่านั้น
  • 19. ลาดับชั้นของกฎหมายไทย • รัฐธรรมนูญ • พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ • พระราชบัญญัติ • พระราชกาหนด • พระราชกฤษฎีกา • กฎกระทรวง • กฎหมายที่ตราโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น