SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  55
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
เสียงดัง : อันตรายที่มองไม่เห็น
ประสาทหูจะเริ่มเสื่อมลงตั้งแต่อายุ 20 ปี จน
สร้างปัญหาเรื่องการได้ยินเมื่ออายุประมาณ
55-65 ปี
เมื่อหูเสื่อมแล้วไม่มีทางกลับมาได้ยินชัดเจน
เหมือนเดิม
ต้องอาศัยเครื่องช่วยฟังไปตลอดชีวิต
21-Jul-14 2
ประสาทหูเสื่อม
 เป็นภาวะที่ได้ยินเสียงลดลง หรือไม่ได้ยินเลย
 อาจเกิดขึ้นจากเสียงที่พึงปรารถนาด้วยพฤติกรรม
ต่างๆ เช่น ติดนิสัยฟัง MP3 ตลอดเวลาโดยเปิด
ในระดับดังมากๆ การเที่ยวกลางคืนบ่อยๆ
 ทาให้เซลล์รับเสียงคลื่นในความถี่ 2,000-
6,000 เฮิร์ตท์ (Hz)
21-Jul-14 3
เครื่องเล่น MP 3
วิธีสังเกตว่าเครื่องเล่นเพลง MP3 ดังเกินไป
หรือไม่
 เซ็ตความดังเสียงเครื่องเล่นไว้เกินกว่า 60% ของระดับเสียง
สูงสุดหรือไม่
 เมื่อฟังเพลงจากเครื่องเล่น MP3 ยังสามารถได้ยินเสียงจาก
สิ่งรอบตัวหรือไม่
 คนอื่นๆ ได้ยินเสียงจากเครื่องเล่น MP3 ของคุณหรือไม่
 เมื่อฟังเครื่องเล่น MP3 คุณต้องตะโกนคุยกับคนอื่นหรือไม่
 หลังจากฟังเครื่องเล่น MP3 คุณมีอาการหูอื้อหรือไม่
21-Jul-14 4
โรคหูเสื่อมแบ่งเป็น
โรคหูหนวก หรือหูบอดสนิท
สาเหตุ
 แก้วหูทะลุและหูอักเสบที่รุนแรง
 หูหนวกแต่กาเนิด พิษจากยา (สเตรปโตไมซิน, คาน่าไมซิน
, เจนตาไมซิน)
 โรคคางทูม ไข้หวัดใหญ่บางสายพันธุ์
 รูปแบบการดาเนินชีวิต เช่น การดาน้า
21-Jul-14 5
โรคหูหนวก หรือหูบอดสนิท
อาการ
 ไม่สามารถได้ยินเสียงใดๆ เลย ต้องอาศัย
เครื่องช่วยฟัง หรือผ่าตัด
 เป็นใบ้ ถ้าหากเกิดขึ้นก่อนสองขวบ ซึ่งเป็นช่วงที่
เด็กกาลังพัฒนาการพูด
21-Jul-14 6
โรคหูตึง
โรคหูตึง แบ่งออกเป็น
 หูตึงแบบไม่มีเสียงในหู
 หูตึงแบบมีเสียงในหู (หูอึง) คือ มีเสียงหวีดก้องในหู โดย
หาที่มาของเสียงไม่ได้ มักมีเสียงดังอยู่ตลอดเวลา และมี
เสียงดังมากขึ้น เมื่อต้องอยู่ในสถานที่เงียบสงัด เช่น ใน
ห้องนอน
21-Jul-14 7
โรคหูตึง
สาเหตุ
• กรรมพันธุ์
• เยื่อหูชั้นในฉีกขาด และเซลล์รับเสียงถูก
กระทบกระเทือน
• ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
• การสูบบุหรี่
21-Jul-14 8
โรคหูตึง
อาการ
• ความสามารถในการได้ยินลดลงเรื่อยๆ
จนต้องฟังเสียงดังมากขึ้น
• อาจมีอาการร่วม เช่น เวียนหัว มึนงง รู้สึก
บ้านหมุน
21-Jul-14 9
ปัญหาที่มากับเสียงดัง
 สูญเสียการได้ยิน หูอื้อ หูหนวก
 ความดันโลหิตสูง ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว มือเท้าเย็น
ระบบไหลเวียนโลหิตบกพร่อง
 รบกวนการทางาน การพักผ่อน ทาให้เกิด
ความเครียด หรือการตื่นตระหนก และอาจพัฒนา
ไปสู่อาการซึมเศร้า และโรคจิตประสาท
21-Jul-14 10
อาการของหูเสื่อม
 การได้ยินเสียงวิ้งๆ ในหูทั้งที่ไม่ได้เปิดเพลง หรือ
ถอดหูฟังออกแล้ว
 อาจเกิดอาการทรงตัวผิดปกติ
 ถ้าเริ่มมีอาการเหล่านี้ติดต่อกัน 2-3 วันไม่ดีขึ้น
ควรรีบไปพบแพทย์
 การฟังเพลงหรือคุยโทรศัพท์ผ่านหูฟัง ไม่ควรฟัง
ติดต่อกันนานเกิน 2 ชั่วโมง
21-Jul-14 11
ประสาทหูเสื่อมจากการประกอบอาชีพ
จากการสัมผัสกับเสียงดังที่เกิดจากการทางาน
อาชีพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่
 บุคคลที่ต้องทางานอยู่กับเสียงดัง ลูกจ้างของโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ โรงทอ โรงงานถลุงเหล็ก โรงเลื่อย
 สัมผัสกับเสียงดังนอกโรงงาน ได้แก่ คนขับรถตุ๊กตุ๊ก รถอี
แต๋น ตารวจจราจร บุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่มีปัญหา
การจราจร
21-Jul-14 12
องค์ประกอบที่ทาให้ประสาทหูเสื่อม
 ความเข้มของเสียง เสียงดังมากจะยิ่งทาลาย
ประสาทหูมาก
 ความถี่ของเสียง เสียงที่มีความถี่สูงหรือแหลมจะ
ทาลายประสาทหูมากกว่าเสียงที่มีความถี่ต่า
 ระยะเวลาที่ได้ยินเสียง ยิ่งสัมผัสกับเสียงเป็น
เวลานาน ประสาทหูจะยิ่งเสื่อมมาก
21-Jul-14 13
องค์ประกอบที่ทาให้ประสาทหูเสื่อม
 ลักษณะของเสียงที่มากระทบ เสียงกระแทกไม่เป็น
จังหวะ จะทาลายประสาทหูมากกว่าเสียงที่ดัง
ติดต่อกันไปเรื่องๆ
 ความไวต่อการเสื่อมของหู เป็นลักษณะเฉพาะตัว
ของแต่ละคน ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จะ
เกิดประสาทหูเสื่อมได้ง่ายกว่า
21-Jul-14 14
การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง
 ลักษณะการสูญเสียการได้ยินอย่างเฉียบพลัน เช่น
เสียงระเบิด เสียงปืน
 การสูญเสียการได้ยินแบบค่อยเป็นค่อยไป เกิดขึ้น
ในผู้ที่ทางานอยู่ในที่ที่มีเสียงดังเป็นเวลานานๆ เช่น
โรงทอ โรงกลึง
21-Jul-14 15
การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง
 การสูญเสียการได้ยินจะเกิดขึ้นเพียงชั่วคราว
 สามารถฟื้นคืนกลับมาสู่การรับฟังปกติได้
 อาจจะเป็นอยู่เพียงไม่กี่ชั่วโมง หรืออาจจะนาน
หลายชั่วโมงจนเป็นวันก็ได้
 เรียกภาวะนี้ว่า “การสูญเสียการได้ยินแบบ
ชั่วคราว” (Temporary Threshold
Shift : TTS)
21-Jul-14 16
การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง
 ถ้าไม่ได้มีการป้ องกันและแก้ไข ยังคงรับสัมผัสเสียง
ดังต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
 การสูญเสียการได้ยิน จะรุนแรงขึ้นจนเกิด “การ
สูญเสียการได้ยินแบบถาวร” (Permanent
Threshold Shift) และจะไม่กลับมาได้ยิน
ปกติได้อีกเลย
21-Jul-14 17
ลักษณะทางคลินิก
1. Tinnitus
 ผู้ที่เริ่มมีการเสื่อมสมรรถภาพการได้ยิน
 อาจจะมีการได้ยินเสียงผิดปกติดังอยู่ในหู
 เสียงจะชัด และดังมากขึ้นในขณะอยู่ในที่เงียบๆ
 อาจจะดังอยู่เป็นพักๆ หรือดังอยู่ตลอดเวลาก็ได้
21-Jul-14 18
ลักษณะทางคลินิก
2. ความผิดปกติของการได้ยิน ในระยะ
แรกจะเกิดขึ้นที่เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่รับ
เสียงความถี่สูงก่อน
21-Jul-14 19
ลักษณะทางคลินิค
3. การตรวจวัดสมรรถภาพการได้ยิน
ด้วยเครื่องตรวจวัดการได้ยิน
(Audiometer)
21-Jul-14 20
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
 ประวัติทางานในที่ที่มีเสียงดังติดต่อกันเป็น
เวลานาน หรือได้ยินเสียงดังมากทันที
 ผลการทาสอบสมรรถภาพการได้ยินมีกราฟเป็นรูป
ตัววีที่ความถี่ 4,000 เฮิร์ต และระดับการได้ยิน
เกิน 25 เดซิเบล
21-Jul-14 21
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
21-Jul-14 22
ระดับการได้ยิน
21-Jul-14 23
21-Jul-14 24
การป้ องกัน
 การแก้ไขเพื่อลดระดับเสียง เช่น ลดระยะเวลาการ
ทางาน ใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
 การป้ องกันทางสิ่งแวดล้อม เช่น กาหนดจุดอันตราย
ถ้ามีเสียงดังเกิน 155 เดซิเบล ตรวจวัดเสียง
บริเวณที่เป็นจุดกาเนิดเสียง หรือบริเวณที่ลูกจ้าง
ทางาน
21-Jul-14 25
การป้ องกัน
 การป้ องกันที่ตัวบุคคล โดยให้ความรู้ และให้ใช้
อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น ปลั๊กอุดหู
ที่ครอบหู
 การตรวจการได้ยิน โดยตรวจก่อนเข้าทางาน และ
ตรวจระหว่างทางาน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
21-Jul-14 26
การใช้อุปกรณ์ป้ องกัน
 เพื่อลดระดับเสียงที่ผ่านเข้ามาในช่องหู ซึ่งจะมี
อุปกรณ์อยู่ 2 ประเภท ได้แก่ ที่ครอบหู (Ear
Muff) ที่อุดหู (Ear Plugs)
 โดยทั่วไปที่ครอบหู (Ear Muff) จะลดระดับ
เสียงได้มากกว่าที่อุดหู แต่ก็มีข้อดีข้อเสียที่จะต้อง
นามาพิจารณาความเหมาะสมในการใช้ด้วย
21-Jul-14 27
ที่อุดหู (Ear Plug)
21-Jul-14 28
ที่ครอบหู (Ear Muff)
21-Jul-14 29
การใช้อุปกรณ์ป้ องกัน
 ใช้หูฟังแบบครอบหูแทนหูฟังแบบเสียบในหู
21-Jul-14 30
หูเสื่อมตามวัย
 การที่ผู้สูงวัยมีความสามารถในการรับเสียงแย่ลง
หรือพูดง่ายๆ ก็คือ หูตึง เนื่องจากเป็นภาวะที่ค่อย
เป็นค่อยไป
 ผู้สูงวัยหรือคนรอบข้างอาจมีปัญหาอื่นแทรกซ้อนได้
จากการที่ต้องตะโกนสื่อสารกันเป็นเวลานาน เช่น
เสียงแหบ ไอเรื้อรัง เป็นต้น
21-Jul-14 31
หูเสื่อมตามวัย
 ภาวะหูตึง หมายความถึงภาวะที่ความสามารถในการรับ
เสียงแย่ลง มีการให้ระดับความรุนแรงของการเสียการได้
ยิน
21-Jul-14 32
21-Jul-14 33
สาเหตุของภาวะหูตึง
1. จากการเสื่อมตามวัย
2. หูพิการแต่กาเนิด เกิดจากพันธุกรรม พัฒนาการผิดปกติ
หรือการเป็นโรคระหว่างตั้งครรภ์ของมารดาเอง
3. จากโรคประจาตัวที่มีอยู่ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง ซึ่งจะมีผลทาให้เกิดการเสื่อมของหูชั้นใน
เร็วมากขึ้น
21-Jul-14 34
สาเหตุของภาวะหูตึง
4. จากการใช้ยา มียาบางกลุ่มที่อาจมีผลเสียต่อหูชั้นใน เช่น
ยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ยาขับปัสสาวะที่ใช้
รักษาความดันโลหิตสูง ยาแอสไพริน
5. หูตึงจากภาวะเสียงดัง เกิดจากการสัมผัสเสียงที่ดังเกินไป
เป็นเวลานานเกินไป
21-Jul-14 35
การรักษา
 ตรวจร่างกายดูสภาพของหูชั้นนอก ช่องหู แก้วหู
หูชั้นกลางว่ามีความผิดปกติใดหรือไม่
 รักษาไปตามแต่ละภาวะ
 หากสงสัยว่ามีภาวะหูตึง จึงจะส่งตรวจการได้ยินเพื่อ
ยืนยัน และดูระดับความรุนแรง
 ฟื้นฟูด้วยการใช้เครื่องช่วยฟัง
21-Jul-14 36
โรคหูตึงเฉียบพลัน
 โรคหูตึงเฉียบพลันหรือหูดับ คือ ภาวะที่มีการ
สูญเสียการได้ยินชนิดประสาทรับฟังเสียงเสีย แบบ
ทันทีทันใด ซึ่งมักพบในคนอายุน้อยและวัยกลางคน
และพบในผู้หญิงบ่อยพอๆกับผู้ชาย
21-Jul-14 37
สาเหตุของโรค
 ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน
 อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส
 เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นใน
 เกิดจากเยื่อบุหูชั้นในชารุด
21-Jul-14 38
ลักษณะอาการที่พบบ่อย
 การสูญเสียการได้ยินเฉียบพลัน
 เป็นในหูข้างเดียว
 มีเสียงดังรบกวนในหูข้างนั้นและมีเวียนศีรษะร่วม
ด้วย
21-Jul-14 39
การวินิจฉัยโรค
Ø ซักประวัติ
Ø ตรวจร่างกาย
Ø ตรวจระดับการได้ยิน
Ø ตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น ตรวจเลือด, ตรวจปัสสาวะ,
ตรวจคลื่นสมองเพื่อวัดระดับการได้ยิน และอาจ
ตรวจทางรังสีเพิ่มเติมในผู้ป่วยบางราย
21-Jul-14 40
แนวทางการรักษา
Ø ให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน หรือบางรายอาจต้องพัก
รักษาตัวในโรงพยาบาล
Ø ให้ยารักษาตามความเหมาะสม
Ø ตรวจวัดระดับการได้ยินเป็นระยะๆ
Ø และมีการนัดติดตามการรักษาเป็นระยาว ต่อไป
 ถ้าท่านมีอาการหูตึงเฉียบพลันหรือหูดับ ควรรีบมา
พบแพทย์
21-Jul-14 41
การป้ องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติของหู
1. ควรระวังไม่ให้น้าเข้าหู
2. ควรระมัดระวังอย่าให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุกับหู
3. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเสียงดังเป็นระยะเวลานาน ๆ
4. ก่อนใช้ยาทุกชนิดไม่ว่าจะฉีด รับประทาน หรือหยอดหู
ควรปรึกษาแพทย์
5. เมื่อมีอาการผิดปกติทางหู ควรรีบปรึกษาแพทย์ หู คอ
จมูก
21-Jul-14 42
ป้ องกันมลพิษทางเสียง : เรื่องนี้คุณช่วยได้
 ไม่พูดโทรศัพท์ หรือส่งเสียงดังรบกวนความสงบของผู้อื่น
ทั้งในบ้านและที่สาธารณะ
 หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีเสียงดัง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรออก
จากสถานที่แห่งนั้นให้เร็วที่สุด
 ใช้อุปกรณ์ป้ องกันเสียงดัง ทุกครั้งที่ต้องอยู่ในสถานที่ที่มี
เสียงดัง
 ไม่ฟังเพลงหรือเปิดโทรทัศน์ดังเกินไป
21-Jul-14 43
ป้ องกันมลพิษทางเสียง : เรื่องนี้คุณช่วยได้
 ตรวจความสามารถการได้ยินเป็นประจาทุกปี
 สังเกตเสียงต่างๆ รอบตัว หากไม่สามารถพูดคุยด้วยระดับ
เสียงปกติในระยะห่าง 1 ช่วงแขนแสดงว่าเสียงที่นั้นดัง
เกินไป
 ช่วยกันดูแลสถานที่ทางานและสถานที่สาธารณะ ให้
ควบคุมเสียงไม่ให้ดังเกินไป
ร้องเรียนเหตุเสียงดัง โทร.1555 (กรุงเทพมหานคร) หรือ
กรมควบคุมมลพิษ โทร.1650
21-Jul-14 44
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 ปวดในหู แบ่งออกเป็น 2 สาเหตุ คือ
1. สาเหตุจากหู
 การอักเสบของใบหู ช่องหู แก้วหู หูชั้นกลาง
 เนื้องอกในช่องหู
 สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
2. จากโรคอื่นๆ บริเวณศีรษะและลาคอปวดร้าวไปหู เช่น
ฟันผุ ข้อต่อขากรรไกรอักเสบ ช่องจมูกอักเสบ คออักเสบ
21-Jul-14 45
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 คันหู เกิดจากหลายสาเหตุ คือ
 การอักเสบของหูชั้นนอก เกิดจากผู้ป่วยใช้ไม้พัน
สาลีปั่นช่องหูชั้นนอกเป็นประจา ทาให้เกิดการ
อักเสบเรื้อรังของผิวหนังของหูชั้นนอก ทาให้เกิด
อาการคันหูเรื้อรัง หรือเป็นๆ หายๆ
21-Jul-14 46
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 การติดเชื้อราของช่องหูชั้นนอก
 หูชั้นกลางอักเสบ ทาให้เยื่อบุแก้วหูทะลุ มีหนอง
ไหลออกมา และทาให้เกิดการอักเสบของหูชั้นใน
 โรคทางกายบางชนิดที่ทาให้มีอาการคันของหูชั้น
นอกได้ เช่น โรคตับอักเสบ มะเร็งต่อม น้าเหลือง
เบาหวาน โรคเลือด โรคไตวายเรื้อรัง
21-Jul-14 47
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 หูอื้อ หมายถึง การได้ยินลดลง อาการแน่น
ในหู มีเสียงในหู แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
1. การนาเสียงเสีย
◦สาเหตุ เกิดจากความผิดปกติของหูชั้นนอก หูชั้นกลาง เช่น ขี้
หูอุดตัน มีน้าในหูชั้นกลาง หูชั้นกลางอักเสบ แก้วหูทะลุ
◦อาการ การได้ยินลดลง ส่วนอาการอื่นๆขึ้นกับโรคที่เป็น เช่น
มีหนองไหลจากหูในโรคหูชั้นกลางอักเสบเรื้อรัง
21-Jul-14 48
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
2. การนาประสาทเสีย
สาเหตุ เกิดจากความผิดปกติของหูชั้นใน และ
ประสาทหู การได้ยินลดลง อาจมีอาการของหูชั้นใน
ร่วมด้วย เช่น ถ้าประสาทหูเสียทั้ง 2 ข้างจะพูดไม่ชัด
และมีเสียงเพี้ยนไป
21-Jul-14 49
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 เสียงดังในหู คือ การได้ยินเสียงโดยปราศจาก
แหล่งกาเนิดเสียงจากภายนอก เช่น เสียงหึ่งๆ
วิ๊งๆ หรือ ซ่าๆ
21-Jul-14 50
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
สาเหตุที่ทาให้เกิดเสียงผิดปกติ
 กลุ่มที่มีแหล่งกาเนิดเสียงจริงอยู่ภายในร่างกาย เช่น เสียง
ที่เกิดจากเส้นเลือดแดงโป่งพอง หรือมีการเชื่อมต่อ
ผิดปกติกับหลอดเลือดดา
 กลุ่มที่การรับรู้ผิดปกติโดยที่ไม่มีเสียงเกิดขึ้นจริง มักเกิด
จากความผิดปกติของหูชั้นใน ประสาทหู รวมถึงสมอง
อาจเกิดได้จากความเสื่อมของอวัยวะดังกล่าว เช่น หูตึงใน
ผู้สูงอายุ
21-Jul-14 51
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 มีของเหลวไหลออกจากหู
 เป็นน้าใสๆ สาเหตุ มักเกิดจากการแพ้ ทาให้เกิดการ
อักเสบของผิวหนัง การอักเสบของหูชั้นกลางจากไวรัส
รายที่มีอุบัติเหตุทางศีรษะ อาจต้องนึกถึงกะโหลกฐาน
สมอง แตก และมีน้าหล่อสมองรั่ว
21-Jul-14 52
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 มีของเหลวไหลออกจากหู
 เป็นเลือดปน สาเหตุ มักเกิดจากการบาดเจ็บของ
ช่องหู หรือ แก้วหู จากการแคะหูด้วยของแหลม หรือถูก
ของมีคมกระแทกบริเวณหู ทาให้แก้วหูทะลุ
 เป็นหนอง สาเหตุ เกิดจากการอักเสบติดเชื้อ
แบคทีเรีย ของหูชั้นนอก และหูชั้นกลาง เช่น โรค หู
น้าหนวกที่มีแก้วหูทะลุ
21-Jul-14 53
อาการผิดปกติทางหูที่ควรมาพบแพทย์
 อาการเวียนศีรษะ หมุนโคลงเคลง เกิดจาก
การเสียสมดุลของระบบการทรงตัวของร่างกาย
อาการ
 รู้สึกบ้านหมุนหรือตัวหมุน ขณะเปลี่ยนท่าอาจมีเดินเ
 คลื่นไส้อาเจียน
 ลูกตากระตุก
 อาจมีหูอื้อ หรือมีเสียงดังรบกวนในหู
21-Jul-14 54
ช่องทางการติดต่อ…
Facebook:
prachaya56@hotmail.c
om
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 55

Contenu connexe

Tendances

ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีHospital for Health
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 

Tendances (20)

Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 

Plus de Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 

Ppt.หูเสื่อม

Notes de l'éditeur

  1. ดังนั้นบางคนบ่นรำคาญการมีเสียงในหูที่รบกวนจนนอนไม่ค่อยหลับ ลักษณะของเสียงที่ดังรบกวนมักจะเป็นเสียงที่มีความถี่สูง (เสียงแหลมมากกว่าเสียงทุ้ม)
  2. การรับฟังเสียงพูดคุยธรรมดาทั่วๆ ไปจะเป็นปกติ เมื่อการเสื่อมของหูเพิ่มมากขึ้น จะลามไปยังเซลล์ประสาทที่ทำหน้าที่รับฟังเสียงความถี่ต่ำ ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดหูตึงฟังคนอื่นพูดไม่ชัด