SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
อายุทางประวัติศาสตร์
ประมาณพุทธศตวรรษ
ที่ 12-16
ภาคตะวันออกของลุ่มแม่น้ํา
เจ้าพระยา บริเวณเมืองคูบัว
ราชบุรี
เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี
เมืองลพบุรี
ครอบคลุมทั้งภาคกลาง ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน
และภาคเหนือถึงเมืองหริภุญชัย
ความเจริญรุ่งเรือง
1. มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์
อินเดีย
2. มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ ใกล้เคียง เช่น อินเดีย มะละกา จีน
3. มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น
เจ้าของทวารวดี
4. มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร
ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี
ความเสื่อมของอาณาจักร
เกิดจากการเผยแพร่อิทธิพลของอาณาจักรขอม
ภาคกลางของไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่
แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง
เมืองโบราณในสมัยทวารวดี
เมืองโบราณบ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองนครชั
สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์
อาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล
อาณาจักรทวารวดี
1
บริเวณที่พบ/อาณาเขต
หลักฐานทางโบราณคดี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
ภาคตะวันออกของลุ่มแม่น้ํา
เจ้าพระยา บริเวณเมืองคูบัว
ราชบุรี นครปฐมโบราณ
เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี
เมืองลพบุรีหรือลวปุระ
ครอบคลุมทั้งภาคกลาง ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน
และภาคเหนือถึงเมืองหริภุญชัย
วงล้อพระธรรมจักรกับกวางหมอบ
เสมาหิน พระพุทธรูปศิลา พระปฐม
เจดีย์ เจดีย์จุลประโทน
ประติมากรรมที่พบ ได้รับอิทธิพลของ
ศิลปะแบบ คุปตะ ของอินเดีย
มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก
มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ ใกล้เคียง เช่น อินเดีย มะละกา จีน
มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น
มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร
ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี
เกิดจากการเผยแพร่อิทธิพลของอาณาจักรขอม สมัยพระนครในดินแดนภาคอีสานและ
ภาคกลางของไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์ คือ เกิด
แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง
เมืองโบราณในสมัยทวารวดี
เมืองโบราณบ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมืองอู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์
โบราณในดินแดนประเทศไทย
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วสรุปลงในช่องว่างให้เข้าใจ
อาณาจักรทวารวดี
หลักฐานทางโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
วงล้อพระธรรมจักรกับกวางหมอบ
เสมาหิน พระพุทธรูปศิลา พระปฐม
เจดีย์จุลประโทน
ประติมากรรมที่พบ ได้รับอิทธิพลของ
ศิลปะแบบ คุปตะ ของอินเดีย
ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก
มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น
มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร
ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี
สมัยพระนครในดินแดนภาคอีสานและ
ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์ คือ เกิด
แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง
ยศรี จังหวัดนครปฐม เมืองอู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์
8
ลงในช่องว่างให้เข้าใจ
อายุทางประวัติศาสตร์
ประมาณพุทธศตวรรษที่
11-14
เมืองลพบุรี
ได้รับอิทธิพลของทวาราวดี มา
ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากขอม
ในช่วงพุทธศตวรรษที่
ความเจริญรุ่งเรือง
1. รุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในพุทธศตวรรษที่
ระยะหลังเป็นนิกายมหายานแบบขอม รวมทั้งศาสนาพราหมณ์
2. มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง
กลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปะลพบุรี
3. มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์
อินเดีย
ความเสื่อมของอาณาจักร
ละโว้ ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร
ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่
พระนารายณ์ฯ ทรงโปรดให้เมืองลพบุรีเป็นราชธานีแห่งที่สอง
อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี
2
บริเวณที่พบ/อาณาเขต
หลักฐานทางโบราณคดี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
เมืองลพบุรีหรือลวปุระ เคย
ได้รับอิทธิพลของทวาราวดี มา
ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากขอม
ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16
พระพุทธรูปศิลาปางนาคปรก
ประติมากรรมแบบทวารวดี
สามยอดแบบขอม ปรางค์แขก โดยพบที่
เมืองลพบุรีเป็นส่วนใหญ่
รุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในพุทธศตวรรษที่ 13-14 ระยะแรกเป็นนิกายเถรวาทแบบทวารวดี
ระยะหลังเป็นนิกายมหายานแบบขอม รวมทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดูแบบขอมด้วย
มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง
กลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปะลพบุรี
มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก
ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร
ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่
พระนารายณ์ฯ ทรงโปรดให้เมืองลพบุรีเป็นราชธานีแห่งที่สอง
อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี
อาณาจักรลพบุรี มีชื่อเสียงอย่างยิ่งใน
การสร้างสรรค์ประติมากรรมสําริด
ได้รับอิทธิพลของทวารวดี ก่อนที่จะได้รับ
อิทธิพลทางวัฒนธรรมของเขมรในสมัย
ต่อมา ดังนั้นศิลปกรรมในยุคแรกของลพบุรี
จึงมีลักษณะแบบทวารวดี และมีลักษณะ
แบบเขมรในภายหลับ นักประวัติศาสตร์
ศิลปะ กล่าวถึงศิลปะลพบุรี
ศิลปกรรมในประเทศไทยที่ได้รับอิทธิพล
จากเขมร ว่า “ศิลปะร่วมแบบเขมรใน
ประเทศไทย”
หลักฐานทางโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
พระพุทธรูปศิลาปางนาคปรก
ประติมากรรมแบบทวารวดี พระปรางค์
สามยอดแบบขอม ปรางค์แขก โดยพบที่
วนใหญ่
ระยะแรกเป็นนิกายเถรวาทแบบทวารวดี
ฮินดูแบบขอมด้วย
มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง จน
ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก
ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร
ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่ 17 สมัยสมเด็จ
มีชื่อเสียงอย่างยิ่งใน
ประติมากรรมสําริด และ
ได้รับอิทธิพลของทวารวดี ก่อนที่จะได้รับ
อิทธิพลทางวัฒนธรรมของเขมรในสมัย
ต่อมา ดังนั้นศิลปกรรมในยุคแรกของลพบุรี
จึงมีลักษณะแบบทวารวดี และมีลักษณะ
แบบเขมรในภายหลับ นักประวัติศาสตร์
ศิลปะ กล่าวถึงศิลปะลพบุรีในยุคหลังและ
ศิลปกรรมในประเทศไทยที่ได้รับอิทธิพล
ศิลปะร่วมแบบเขมรใน
อายุทางประวัติศาสตร์ บริเวณที่พบ
ประมาณพุทธศตวรรษ
ที่ 7-19
อาณาจักรตามพรลิงค์ ถือเป็น
แคว้นที่เก่าที่สุดแคว้นหนึ่งบน
แหลมมลายู
นครศรีธรรมราช อําเภอไชยา
อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี
ความเจริญรุ่งเรือง
1. มีการนับถือศาสนาพราหมณ์
ที่ 11 ถึง 13
2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทช่วงพุทธศตวรรษที่
ศตวรรษที่ 14 ถึง 18 ส่วนเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ นับถือช่วงพุทธศตวรรษที่
3. มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า เนื่องจากอยู่ติดทะเล เหมาะแก่การค้าขาย
ความเสื่อมของอาณาจักร
ประมาณพุทธศตวรรษที่
สมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช
อายุทางประวัติศาสตร์
ประมาณพุทธศตวรรษ
ที่ 13-18
ครอบคลุมพื้นที่ อําเภอไชยา
อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี
แคว้นปัตตานี และบางส่วนของ
เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย
ความเจริญรุ่งเรือง
1. มีการนับถือศาสนาพราหมณ์
2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน
3. มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ทําให้เกิดการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
ความเสื่อมของอาณาจักร
อาณาจักรศรีวิชัย เสื่อมความเจริญในปลายพุทธศตวรรษที่
อินเดียใต้รุกรานและไม่สามารถควบคุมการค้าทางทะเลได้ตามเดิมได้
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรศรีวิชัย
3
บริเวณที่พบ/อาณาเขต
หลักฐานทางโบราณคดี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
อาณาจักรตามพรลิงค์ ถือเป็น
แคว้นที่เก่าที่สุดแคว้นหนึ่งบน
แหลมมลายู ครอบคลุมจังหวัด
นครศรีธรรมราช อําเภอไชยา
อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี
1. ศิลปกรรม เจดีย์พระบรมธาตุ วัดพระ
มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช
พระพุทธสิหิงค์
2. พระพุทศาสนาที่เผยแพร่ไปยังกรุง
สุโขทัยและฝังรากลึกลงในสังคมไทย
มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไศวนิกาย กําหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ
นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 14 นิกายมหายานช่วงพุทธ
ส่วนเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ นับถือช่วงพุทธศตวรรษที่ 18
มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า เนื่องจากอยู่ติดทะเล เหมาะแก่การค้าขาย
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 แคว้นนครศรีธรรมราชตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัย
สมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช และถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยาในเวลาต่อมา
บริเวณที่พบ/อาณาเขต
หลักฐานทางโบราณคดี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
ครอบคลุมพื้นที่ อําเภอไชยา
อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี
แคว้นปัตตานี และบางส่วนของ
เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย
เป็นศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับ
พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน เช่น พระ
โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระศรีอาริย
เมตไตรยโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ไวโรจนะ
และศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา
พราหมณ์ ลัทธิไวษณพ
มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไวษณพนิกาย
นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน
มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ทําให้เกิดการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมต่าง ๆ มากมาย
อาณาจักรศรีวิชัย เสื่อมความเจริญในปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เนื่องจากถูกพวกโจฬะจาก
อินเดียใต้รุกรานและไม่สามารถควบคุมการค้าทางทะเลได้ตามเดิมได้
อาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช)
หลักฐานทางโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
ศิลปกรรม เจดีย์พระบรมธาตุ วัดพระ
มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ที่เผยแพร่ไปยังกรุง
สุโขทัยและฝังรากลึกลงในสังคมไทย
ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไศวนิกาย กําหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ
นิกายมหายานช่วงพุทธ
18 จนถึงปัจจุบัน
แคว้นนครศรีธรรมราชตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัย
และถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยาในเวลาต่อมา
หลักฐานทางโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
เป็นศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับ
พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน เช่น พระ
โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระศรีอาริย
เมตไตรยโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ไวโรจนะ
และศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา
พราหมณ์ ลัทธิไวษณพ
ต่าง ๆ มากมาย
เนื่องจากถูกพวกโจฬะจาก
อายุทาง
ประวัติศาสตร์
บริเวณที่พบ
ประมาณพุทธ
ศตวรรษที่ 13-19
อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
บริเวณที่ราบลุ่มน้ําปิงและ
แม่น้ําวัง ศูนย์กลางอยู่ที่
เมืองหริภุญชัยหรือลําพูน
เป็นเขตเหนือสุดของ
อิทธิพลของทวารวดี โดยมี
กษัตริย์องค์แรกเป็นสตรี
ทรงพระนามว่า
จามเทวี
ความเจริญรุ่งเรือง
1. ยุคแรกพระนางจามเทวี นําวัฒนธรรม
2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
3. ยุคหลังได้รับอิทธิพลจากล้านนา ในฐานะเมืองขึ้นของล้านนาเชียงใหม่
ความเสื่อมของอาณาจักร
อาณาจักรหริภุญชัย
และยึดเมืองได้ ใน พ.ศ. 1835
อํานาจ ให้กับพญา มังราย รวมเวลา เป็นอาณาจักร
อาณาจักรหริภุญชัยหรือ ลําพูน
4
บริเวณที่พบ/อาณาเขต
หลักฐานทางโบราณคดี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
บริเวณที่ราบลุ่มน้ําปิงและ
แม่น้ําวัง ศูนย์กลางอยู่ที่
เมืองหริภุญชัยหรือลําพูน
เป็นเขตเหนือสุดของ
อิทธิพลของทวารวดี โดยมี
กษัตริย์องค์แรกเป็นสตรี
ทรงพระนามว่า พระนาง
จามเทวี
เป็นศิลปะทวาราวดี แบบลวปุระ ในยุคแรก
พระพุทธรูป แบบลพบุรี และทวารวดี พระ
เจดีย์กู่กุดสันนิษฐานว่าพระนางจามเทวี เป็น
ชาวเชื้อชาติจามที่ครองอาณาจักรละโว้ในสมัย
ทวาราวดี
นําวัฒนธรรมทวารวดีจากละโว้ ไปเผยแพร่ที่หริภุญชัย
นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
ยุคหลังได้รับอิทธิพลจากล้านนา ในฐานะเมืองขึ้นของล้านนาเชียงใหม่
อาณาจักรหริภุญชัย ถูกกองทัพของพญามังราย แห่งล้านนายกกองทัพเข้ามาโจมตีหริภุญไชย
1835 อาณาจักรหริภุญไชยที่ถือกําเนิดมาตั้งแต่ราวปี พศ
ให้กับพญา มังราย รวมเวลา เป็นอาณาจักร 528 ปี
หริภุญชัยหรือ ลําพูน
เอกสารจีนสมัยสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญ
ชัยว่า เป็น “อาณาจักรกษัตริย์หญิง
โก่ว” ซึ่งอาจหมายถึงพระนางจามเทวี ปฐม
กษัตริย์ของเมืองหริภุญชัยซึ่งเชิญเสด็จมาจากเมือง
ละโว้ อาณาจักรนี้สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้ามังราย
มหาราชแห่งอาณาจักรล้านนายึดหริภุญชัยได้ใน
พ.ศ.1824 ทั้งนี้เมืองหริภุญชัยดํารงอยู่ได้
ปี มีกษัตริย์ปกครอง 49 พระองค์
หลักฐานทางโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ
เป็นศิลปะทวาราวดี แบบลวปุระ ในยุคแรก
พระพุทธรูป แบบลพบุรี และทวารวดี พระ
เจดีย์กู่กุดสันนิษฐานว่าพระนางจามเทวี เป็น
ชาวเชื้อชาติจามที่ครองอาณาจักรละโว้ในสมัย
ไปเผยแพร่ที่หริภุญชัย
ถูกกองทัพของพญามังราย แห่งล้านนายกกองทัพเข้ามาโจมตีหริภุญไชย
อาณาจักรหริภุญไชยที่ถือกําเนิดมาตั้งแต่ราวปี พศ. 1311 ก็ต้องสูญเสีย
เอกสารจีนสมัยสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญ
อาณาจักรกษัตริย์หญิง นู หวาง
ซึ่งอาจหมายถึงพระนางจามเทวี ปฐม
กษัตริย์ของเมืองหริภุญชัยซึ่งเชิญเสด็จมาจากเมือง
อาณาจักรนี้สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้ามังราย
มหาราชแห่งอาณาจักรล้านนายึดหริภุญชัยได้ใน
หริภุญชัยดํารงอยู่ได้กว่า 600
พระองค์
แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ
รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม และสุจิตต์ วงษ์เทศ
แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง
5
ที่มา : www.wikipidia.com
แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ
ศรีศักร วัลลิโภดม และสุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงสุโขทัยมาจากไหน?. กรุงเทพฯ : มติชน
แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง
www.wikipidia.com
แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ
มติชน, 2548.
แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง
1. เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ
สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่
เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ
ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ
แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ
กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่
ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ
ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง
อาณาจักร
2. เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ
อารยธรรมจีน
เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ
ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา
ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมา
หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน
ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ
พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่
3. จงอธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ
พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ
จ.พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ
ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่ง
ดินแดนประเทศไทย
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้าน
ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน
ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่า
4. อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้
นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้เข้าม
สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน
สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้
จากการมีพระพุทธรูปที่มีลั
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
6
เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ
สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่
เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ
ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ
แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ
กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่
ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ
ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สําคัญของ
เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า
เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ
ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา
ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมาปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น
หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน
ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ
พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น
อธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ
พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ.นครปฐม แสดงให้เห็น
ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านการค้าขาย ได้แก่หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ
ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน
ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่าทวารวดี มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่น
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้
นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา
ซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์
สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน
สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้
จากการมีพระพุทธรูปที่มีลักษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย
ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ
สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่
เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของภาคกลางเป็นที่ราบ
ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ
แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ
กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่นๆ ปัจจัยเหล่านี้ทํา
ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ
และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สําคัญของ
จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า
เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ
ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา
ปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น
หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน
ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ
น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น
อธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา
คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ
นครปฐม แสดงให้เห็น
มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน
หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ
ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา
ามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์
สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน
สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้
กษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย
1. จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง
วัฒนธรรมใดต่อไปนี้
1. อินเดีย – ละโว้
3. อินเดีย - วัฒนธรรมท้องถิ่น
2. อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย
1. อาณาจักรทวารวดี
3. อาณาจักรตามพรลิงค์
3. จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต
1. นครพนม : อาณาจักรอิศานปุระ
3. ลําปาง : อาณาจักรหริภุญชัย
4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สัมพันธ์กัน
1. พระปฐมเจดีย์ : อาณาจักรทวารวดี
3. พระธาตุหริภุญชัย : โยนกเชียงแสน
5. เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย
1. ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย
2. มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน
3. มีตํานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริ
4. มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึง
6. ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด
1. เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย
3. นําดินแดนไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์
7. สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสําคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย
1. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ
2. มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย
3. เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย
4. เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย
8. ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน
1. ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึก
2. รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
3. ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม
4. ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่
9. จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ
อาณาจักรโบราณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทําเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด
1. พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มี
3. พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้ําไม่ท่วมถึง
กิจกรรมที่ 3 ให้นักเรียนเลือก
7
จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง
2. ลพบุรี – ศรีวิชัย
วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ศรีวิชัย - วัฒนธรรมท้องถิ่น
อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย
2. อาณาจักรลังกาสุกะ
4. อาณาจักรฟูนัน
จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต
อาณาจักรอิศานปุระ 2. สุราษฎร์ธานี : อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรหริภุญชัย 4. นครศรีธรรมราช : อาณาจักรลังกาสุกะ
ไม่สัมพันธ์กัน เกี่ยวกับอาณาจักรโบราณ และโบราณสถานที่พบ
อาณาจักรทวารวดี 2. พระธาตุพนม : อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์
โยนกเชียงแสน 4. พระบรมธาตุเจดีย์ : อาณาจักรตามพรลิงค์
เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย
ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย
มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน
มีตํานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน
มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึงวัฒนธรนรมทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย
ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด
เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย 2. ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น
ข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ 4. รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น
สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสําคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย
เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ
มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย
เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย
เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย
ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน
ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึกด้วยอักษรขอม
รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม
ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่ง
จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ
ณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทําเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด
พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มีแม่น้ําไหลผ่าน 2. พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ําที่มีความอุดมสมบูรณ์
พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้ําไม่ท่วมถึง 4. พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล
นักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกต้อง
จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง
วัฒนธรรมท้องถิ่น
อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรลังกาสุกะ
อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์
อาณาจักรตามพรลิงค์
เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย
ญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน
ทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย
ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น
รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น
เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย
เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย
ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน
จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ
พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ําที่มีความอุดมสมบูรณ์
10. ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู
1. การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย
2. การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร
3. การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สํา
4. ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้
11. เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน
และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ
1. การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง
2. การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจํากัด
3. การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้
4. ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์
15. อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด
1. อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรขอม
3. อาณาจักรทวารวดี และโยนกเชียงแสน
8
ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู
การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย
การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร
การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สําคัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล
ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้
เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน
และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน
การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง
การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจํากัด
การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้
ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน
อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด
อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรขอม 2. อาณาจักรอิศานปุระ และอาณาจักรละโว้
อาณาจักรทวารวดี และโยนกเชียงแสน 4. อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้
12. ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด
1. อาณาจักรศรีวิชัย
2. อาณาจักรลังกาสุกะ
3. อาณาจักรหริภุญชัย
4. อาณาจักรทวารวดี
13. ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด
1. อาณาจักรศรีวิชัย
2. อาณาจักรลังกาสุกะ
3. อาณาจักรหริภุญชัย
4. อาณาจักรทวารวดี
14. ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ
เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใดต่อไปนี้
1. อิทธิพลอารยธรรมทวราวดี :
2. อิทธิพลอารยธรรมขอม : อาณาจักรละโว้
3. อิทธิพลอารยธรรมมอญ: อาณาจักร
4. อิทธิพลอารยธรรมศรีวิชัย : อาณาจักรทวารวดี
ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู
การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร
คัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล
ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้
เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน
การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้
ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน
อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด
และอาณาจักรละโว้
อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้
ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด
ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด
ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ
: อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรละโว้
อาณาจักรหริภุญชัย
อาณาจักรทวารวดี
16. ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง
1. เคยอยู่ในอํานาจของอาณาจักรล้านนา
2. พระภิกษุสงฆ์นําพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย
3. เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา
4. พุทธศตวรรษที่ 18 ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช
17. อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด
1. อินเดีย-จีน 2. มอญ
18. จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้
1. ไชยา 2. ศรีวิชัย
19. ตํานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด
1. พะเยา 2. สุพรรณภูมิ
20. การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด
1. วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2. ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเ
21. ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด
1. เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี
3. เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี
22. ธรรมจักรกับกวางหมอบ จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด
1. พระพุทธศาสนานิกายมหายาน
3. การนับถือผี บูชาพญานาค
23. ชาวละโว้มีพัฒนาการฝีมือการทําเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด
1. เครื่องถ้วยกระเบื้อง
24. ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด
1. จารึกเขมร
25. ข้อใดที่ไม่ใช่หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม
1. ภาพสลักนาฏกรรม
26. หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ
1. หนังสือจูฟานฉี
3. ศิลาจารึก 8 หลักบนเกาะสุมาตรา
27. ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด
1. สวนโมกขพลาราม
28. ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา
1. มหาสถูปบุโรพุทโธ
3. กลองมโหระทึกสําริด
9
ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง
เคยอยู่ในอํานาจของอาณาจักรล้านนา
พระภิกษุสงฆ์นําพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย
เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา
ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช
อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด
มอญ-พม่า 3. อินเดีย-ลังกา 4. ล้านนา
จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้
ศรีวิชัย 3. มะละกา 4. นครศรีธรรมราช
ตํานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด
สุพรรณภูมิ 3. โยนกเชียงแสน 4. หิรัญนครเงินยาง
การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด
วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม
ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด
เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี 2. เมืองนครชัยศรี นครปฐม
เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี 4. เมืองคูบัว ราชบุรี
จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด
พระพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
การนับถือผี บูชาพญานาค 4. ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
มีพัฒนาการฝีมือการทําเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด
2. เครื่องแก้ว 3. เครื่องสําริด
ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด
2. สถาปัตยกรรม 3. เครื่องสําริด
หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม
2. สถาปัตยกรรม 3. ประติมากรรม
หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ
2. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง
หลักบนเกาะสุมาตรา 4. จารึกหลักที่ 24 ของพระเจ้าจันทรภาณุ
ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด
2. จตุคามรามเทพ 3. พระธาตุไชยา 4
ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา(mwit 54)
2. รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
4. พระพุทธรูปปางนาคปรก
อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด
ล้านนา-สุโขทัย
จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้
นครศรีธรรมราช
หิรัญนครเงินยาง
การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด
วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
หนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม
ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด
จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
(mwit 54)
4. เครื่องปั้นดินเผา
ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด
4. ประติมากรรม
หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม
4. พิธีกรรม
หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ
ของพระเจ้าจันทรภาณุ
ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด
4. พระธาตุเมืองนคร
รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
29. การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด
1. ตํานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์
3. ตํานานชินกาลมาลีปกรณ์
30. ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรหริภุญชัยกับอาณาจักรอื่น
1. รับพุทธศาสนานิกายมหายาน
3. ปฐมกษัตริย์มาจากละโว้
กิจกรรมที่ 4 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ
ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่
ประเทศไทยที่กําหนดให้
10
การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด
ตํานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ 2. ตํานานจามเทวีวงศ์
ตํานานชินกาลมาลีปกรณ์ 4. ตํานานมูลศาสนา
ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรหริภุญชัยกับอาณาจักรอื่น (mwit 54)
รับพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. ติดต่อค้าขายกับล้านนา
ปฐมกษัตริย์มาจากละโว้ 4. ได้รับอิทธิพลด้านวรรณกรรมจากพุกาม
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ
ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่
การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด(mwit 54)
ได้รับอิทธิพลด้านวรรณกรรมจากพุกาม
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ
ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Pracha Wongsrida
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
Kittayaporn Changpan
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sudarat Makon
 

Tendances (20)

กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

En vedette

รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
kulrisa777_999
 

En vedette (8)

เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
รัฐโบราณ
รัฐโบราณรัฐโบราณ
รัฐโบราณ
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 

Similaire à Key of sheet 8 56x

1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
nanpun54
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
Dos Zaa
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Nomoretear Cuimhne
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Nomoretear Cuimhne
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Pannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
teacherhistory
 

Similaire à Key of sheet 8 56x (20)

1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 

Plus de Pracha Wongsrida

Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Pracha Wongsrida
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Pracha Wongsrida
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195
Pracha Wongsrida
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195
Pracha Wongsrida
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884
Pracha Wongsrida
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884
Pracha Wongsrida
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocuments
Pracha Wongsrida
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocuments
Pracha Wongsrida
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocuments
Pracha Wongsrida
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocuments
Pracha Wongsrida
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocuments
Pracha Wongsrida
 

Plus de Pracha Wongsrida (20)

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Key pr11 30109
Key pr11 30109Key pr11 30109
Key pr11 30109
 
Key pr3 30109
Key pr3 30109Key pr3 30109
Key pr3 30109
 
Key pr2 30109
Key pr2 30109Key pr2 30109
Key pr2 30109
 
Key pr1 30109
Key pr1 30109Key pr1 30109
Key pr1 30109
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195
 
พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195
 
พิมพ์1239
พิมพ์1239พิมพ์1239
พิมพ์1239
 
พิมพ์#195
พิมพ์#195พิมพ์#195
พิมพ์#195
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocuments
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocuments
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocuments
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocuments
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocuments
 

Key of sheet 8 56x

  • 1. อายุทางประวัติศาสตร์ ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 12-16 ภาคตะวันออกของลุ่มแม่น้ํา เจ้าพระยา บริเวณเมืองคูบัว ราชบุรี เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี เมืองลพบุรี ครอบคลุมทั้งภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน และภาคเหนือถึงเมืองหริภุญชัย ความเจริญรุ่งเรือง 1. มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์ อินเดีย 2. มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ ใกล้เคียง เช่น อินเดีย มะละกา จีน 3. มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น เจ้าของทวารวดี 4. มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี ความเสื่อมของอาณาจักร เกิดจากการเผยแพร่อิทธิพลของอาณาจักรขอม ภาคกลางของไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง เมืองโบราณในสมัยทวารวดี เมืองโบราณบ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองนครชั สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์ อาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล อาณาจักรทวารวดี 1 บริเวณที่พบ/อาณาเขต หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ ภาคตะวันออกของลุ่มแม่น้ํา เจ้าพระยา บริเวณเมืองคูบัว ราชบุรี นครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี เมืองลพบุรีหรือลวปุระ ครอบคลุมทั้งภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน และภาคเหนือถึงเมืองหริภุญชัย วงล้อพระธรรมจักรกับกวางหมอบ เสมาหิน พระพุทธรูปศิลา พระปฐม เจดีย์ เจดีย์จุลประโทน ประติมากรรมที่พบ ได้รับอิทธิพลของ ศิลปะแบบ คุปตะ ของอินเดีย มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนต่าง ๆ ใกล้เคียง เช่น อินเดีย มะละกา จีน มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี เกิดจากการเผยแพร่อิทธิพลของอาณาจักรขอม สมัยพระนครในดินแดนภาคอีสานและ ภาคกลางของไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์ คือ เกิด แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง เมืองโบราณในสมัยทวารวดี เมืองโบราณบ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมืองอู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์ โบราณในดินแดนประเทศไทย ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วสรุปลงในช่องว่างให้เข้าใจ อาณาจักรทวารวดี หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ วงล้อพระธรรมจักรกับกวางหมอบ เสมาหิน พระพุทธรูปศิลา พระปฐม เจดีย์จุลประโทน ประติมากรรมที่พบ ได้รับอิทธิพลของ ศิลปะแบบ คุปตะ ของอินเดีย ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก มีการค้นพบจารึกโบราณเขียนด้วยภาษามอญ สันนิษฐานว่าคนที่พูดภาษาตระกูลมอญเป็น มีการปกครองแบบเทวราชา ซึ่งถือว่ากษัตริย์เป็นสมมุติเทพ เช่นเหรียญทวารวดี ปรากฏอักษร ปัลลวะ ที่กล่าวว่า ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ ซึ่ง หมายถึง บุญของพระราชาแห่งศรีทวารวดี สมัยพระนครในดินแดนภาคอีสานและ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์ คือ เกิด แผ่นดินขึ้นบริเวณที่เป็นเมืองท่าการค้าของทวารวดี ทําให้เส้นการค้าลดบทบาทลง ยศรี จังหวัดนครปฐม เมืองอู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ ดงแม่นางเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 8 ลงในช่องว่างให้เข้าใจ
  • 2. อายุทางประวัติศาสตร์ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-14 เมืองลพบุรี ได้รับอิทธิพลของทวาราวดี มา ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากขอม ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ความเจริญรุ่งเรือง 1. รุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในพุทธศตวรรษที่ ระยะหลังเป็นนิกายมหายานแบบขอม รวมทั้งศาสนาพราหมณ์ 2. มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง กลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปะลพบุรี 3. มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์ อินเดีย ความเสื่อมของอาณาจักร ละโว้ ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่ พระนารายณ์ฯ ทรงโปรดให้เมืองลพบุรีเป็นราชธานีแห่งที่สอง อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี 2 บริเวณที่พบ/อาณาเขต หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ เมืองลพบุรีหรือลวปุระ เคย ได้รับอิทธิพลของทวาราวดี มา ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากขอม ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 พระพุทธรูปศิลาปางนาคปรก ประติมากรรมแบบทวารวดี สามยอดแบบขอม ปรางค์แขก โดยพบที่ เมืองลพบุรีเป็นส่วนใหญ่ รุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในพุทธศตวรรษที่ 13-14 ระยะแรกเป็นนิกายเถรวาทแบบทวารวดี ระยะหลังเป็นนิกายมหายานแบบขอม รวมทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดูแบบขอมด้วย มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง กลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปะลพบุรี มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่ พระนารายณ์ฯ ทรงโปรดให้เมืองลพบุรีเป็นราชธานีแห่งที่สอง อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี อาณาจักรลพบุรี มีชื่อเสียงอย่างยิ่งใน การสร้างสรรค์ประติมากรรมสําริด ได้รับอิทธิพลของทวารวดี ก่อนที่จะได้รับ อิทธิพลทางวัฒนธรรมของเขมรในสมัย ต่อมา ดังนั้นศิลปกรรมในยุคแรกของลพบุรี จึงมีลักษณะแบบทวารวดี และมีลักษณะ แบบเขมรในภายหลับ นักประวัติศาสตร์ ศิลปะ กล่าวถึงศิลปะลพบุรี ศิลปกรรมในประเทศไทยที่ได้รับอิทธิพล จากเขมร ว่า “ศิลปะร่วมแบบเขมรใน ประเทศไทย” หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ พระพุทธรูปศิลาปางนาคปรก ประติมากรรมแบบทวารวดี พระปรางค์ สามยอดแบบขอม ปรางค์แขก โดยพบที่ วนใหญ่ ระยะแรกเป็นนิกายเถรวาทแบบทวารวดี ฮินดูแบบขอมด้วย มีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมทวาราวดีในระยะแรก กับวัฒนธรรมขอมในระยะหลัง จน ฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ละโว้ หรือลพบุรี ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรต่าง ๆ ได้แก่ เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร ทวาราวดี ต่อมาถูกขอม ครอบครอง และเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา ในพุทธศตวรรษที่ 17 สมัยสมเด็จ มีชื่อเสียงอย่างยิ่งใน ประติมากรรมสําริด และ ได้รับอิทธิพลของทวารวดี ก่อนที่จะได้รับ อิทธิพลทางวัฒนธรรมของเขมรในสมัย ต่อมา ดังนั้นศิลปกรรมในยุคแรกของลพบุรี จึงมีลักษณะแบบทวารวดี และมีลักษณะ แบบเขมรในภายหลับ นักประวัติศาสตร์ ศิลปะ กล่าวถึงศิลปะลพบุรีในยุคหลังและ ศิลปกรรมในประเทศไทยที่ได้รับอิทธิพล ศิลปะร่วมแบบเขมรใน
  • 3. อายุทางประวัติศาสตร์ บริเวณที่พบ ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 7-19 อาณาจักรตามพรลิงค์ ถือเป็น แคว้นที่เก่าที่สุดแคว้นหนึ่งบน แหลมมลายู นครศรีธรรมราช อําเภอไชยา อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี ความเจริญรุ่งเรือง 1. มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ ที่ 11 ถึง 13 2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทช่วงพุทธศตวรรษที่ ศตวรรษที่ 14 ถึง 18 ส่วนเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ นับถือช่วงพุทธศตวรรษที่ 3. มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า เนื่องจากอยู่ติดทะเล เหมาะแก่การค้าขาย ความเสื่อมของอาณาจักร ประมาณพุทธศตวรรษที่ สมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช อายุทางประวัติศาสตร์ ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 13-18 ครอบคลุมพื้นที่ อําเภอไชยา อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี แคว้นปัตตานี และบางส่วนของ เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย ความเจริญรุ่งเรือง 1. มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ 2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน 3. มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ทําให้เกิดการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม ความเสื่อมของอาณาจักร อาณาจักรศรีวิชัย เสื่อมความเจริญในปลายพุทธศตวรรษที่ อินเดียใต้รุกรานและไม่สามารถควบคุมการค้าทางทะเลได้ตามเดิมได้ อาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย 3 บริเวณที่พบ/อาณาเขต หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ อาณาจักรตามพรลิงค์ ถือเป็น แคว้นที่เก่าที่สุดแคว้นหนึ่งบน แหลมมลายู ครอบคลุมจังหวัด นครศรีธรรมราช อําเภอไชยา อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี 1. ศิลปกรรม เจดีย์พระบรมธาตุ วัดพระ มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช พระพุทธสิหิงค์ 2. พระพุทศาสนาที่เผยแพร่ไปยังกรุง สุโขทัยและฝังรากลึกลงในสังคมไทย มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไศวนิกาย กําหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 14 นิกายมหายานช่วงพุทธ ส่วนเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ นับถือช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า เนื่องจากอยู่ติดทะเล เหมาะแก่การค้าขาย ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 แคว้นนครศรีธรรมราชตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช และถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยาในเวลาต่อมา บริเวณที่พบ/อาณาเขต หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ ครอบคลุมพื้นที่ อําเภอไชยา อําเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานี แคว้นปัตตานี และบางส่วนของ เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เป็นศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน เช่น พระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระศรีอาริย เมตไตรยโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ไวโรจนะ และศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา พราหมณ์ ลัทธิไวษณพ มีการนับถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไวษณพนิกาย นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ทําให้เกิดการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมต่าง ๆ มากมาย อาณาจักรศรีวิชัย เสื่อมความเจริญในปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เนื่องจากถูกพวกโจฬะจาก อินเดียใต้รุกรานและไม่สามารถควบคุมการค้าทางทะเลได้ตามเดิมได้ อาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ ศิลปกรรม เจดีย์พระบรมธาตุ วัดพระ มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เผยแพร่ไปยังกรุง สุโขทัยและฝังรากลึกลงในสังคมไทย ฮินดู โดยเฉพาะลัทธิไศวนิกาย กําหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษ นิกายมหายานช่วงพุทธ 18 จนถึงปัจจุบัน แคว้นนครศรีธรรมราชตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัย และถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยาในเวลาต่อมา หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ เป็นศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน เช่น พระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระศรีอาริย เมตไตรยโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ไวโรจนะ และศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา พราหมณ์ ลัทธิไวษณพ ต่าง ๆ มากมาย เนื่องจากถูกพวกโจฬะจาก
  • 4. อายุทาง ประวัติศาสตร์ บริเวณที่พบ ประมาณพุทธ ศตวรรษที่ 13-19 อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน บริเวณที่ราบลุ่มน้ําปิงและ แม่น้ําวัง ศูนย์กลางอยู่ที่ เมืองหริภุญชัยหรือลําพูน เป็นเขตเหนือสุดของ อิทธิพลของทวารวดี โดยมี กษัตริย์องค์แรกเป็นสตรี ทรงพระนามว่า จามเทวี ความเจริญรุ่งเรือง 1. ยุคแรกพระนางจามเทวี นําวัฒนธรรม 2. นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท 3. ยุคหลังได้รับอิทธิพลจากล้านนา ในฐานะเมืองขึ้นของล้านนาเชียงใหม่ ความเสื่อมของอาณาจักร อาณาจักรหริภุญชัย และยึดเมืองได้ ใน พ.ศ. 1835 อํานาจ ให้กับพญา มังราย รวมเวลา เป็นอาณาจักร อาณาจักรหริภุญชัยหรือ ลําพูน 4 บริเวณที่พบ/อาณาเขต หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน บริเวณที่ราบลุ่มน้ําปิงและ แม่น้ําวัง ศูนย์กลางอยู่ที่ เมืองหริภุญชัยหรือลําพูน เป็นเขตเหนือสุดของ อิทธิพลของทวารวดี โดยมี กษัตริย์องค์แรกเป็นสตรี ทรงพระนามว่า พระนาง จามเทวี เป็นศิลปะทวาราวดี แบบลวปุระ ในยุคแรก พระพุทธรูป แบบลพบุรี และทวารวดี พระ เจดีย์กู่กุดสันนิษฐานว่าพระนางจามเทวี เป็น ชาวเชื้อชาติจามที่ครองอาณาจักรละโว้ในสมัย ทวาราวดี นําวัฒนธรรมทวารวดีจากละโว้ ไปเผยแพร่ที่หริภุญชัย นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ยุคหลังได้รับอิทธิพลจากล้านนา ในฐานะเมืองขึ้นของล้านนาเชียงใหม่ อาณาจักรหริภุญชัย ถูกกองทัพของพญามังราย แห่งล้านนายกกองทัพเข้ามาโจมตีหริภุญไชย 1835 อาณาจักรหริภุญไชยที่ถือกําเนิดมาตั้งแต่ราวปี พศ ให้กับพญา มังราย รวมเวลา เป็นอาณาจักร 528 ปี หริภุญชัยหรือ ลําพูน เอกสารจีนสมัยสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญ ชัยว่า เป็น “อาณาจักรกษัตริย์หญิง โก่ว” ซึ่งอาจหมายถึงพระนางจามเทวี ปฐม กษัตริย์ของเมืองหริภุญชัยซึ่งเชิญเสด็จมาจากเมือง ละโว้ อาณาจักรนี้สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้ามังราย มหาราชแห่งอาณาจักรล้านนายึดหริภุญชัยได้ใน พ.ศ.1824 ทั้งนี้เมืองหริภุญชัยดํารงอยู่ได้ ปี มีกษัตริย์ปกครอง 49 พระองค์ หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ที่สําคัญ เป็นศิลปะทวาราวดี แบบลวปุระ ในยุคแรก พระพุทธรูป แบบลพบุรี และทวารวดี พระ เจดีย์กู่กุดสันนิษฐานว่าพระนางจามเทวี เป็น ชาวเชื้อชาติจามที่ครองอาณาจักรละโว้ในสมัย ไปเผยแพร่ที่หริภุญชัย ถูกกองทัพของพญามังราย แห่งล้านนายกกองทัพเข้ามาโจมตีหริภุญไชย อาณาจักรหริภุญไชยที่ถือกําเนิดมาตั้งแต่ราวปี พศ. 1311 ก็ต้องสูญเสีย เอกสารจีนสมัยสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญ อาณาจักรกษัตริย์หญิง นู หวาง ซึ่งอาจหมายถึงพระนางจามเทวี ปฐม กษัตริย์ของเมืองหริภุญชัยซึ่งเชิญเสด็จมาจากเมือง อาณาจักรนี้สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้ามังราย มหาราชแห่งอาณาจักรล้านนายึดหริภุญชัยได้ใน หริภุญชัยดํารงอยู่ได้กว่า 600 พระองค์
  • 5. แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม และสุจิตต์ วงษ์เทศ แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง 5 ที่มา : www.wikipidia.com แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ ศรีศักร วัลลิโภดม และสุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงสุโขทัยมาจากไหน?. กรุงเทพฯ : มติชน แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง www.wikipidia.com แผนที่แสดงขอบเขตรัฐโบราณก่อนการสถาปนาราชอาณาจักรสยามอย่างคร่าว ๆ ตามการเสนอของ มติชน, 2548. แผนที่แสดงรัฐโบราณต่างๆ ในดินแดนประเทศไทยและใกล้เคียง
  • 6. 1. เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่ เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่ ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง อาณาจักร 2. เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ อารยธรรมจีน เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมา หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่ 3. จงอธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ จ.พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่ง ดินแดนประเทศไทย ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้าน ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่า 4. อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้ นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้เข้าม สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้ จากการมีพระพุทธรูปที่มีลั กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ 6 เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่ เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่ ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สําคัญของ เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมาปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น อธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ.นครปฐม แสดงให้เห็น ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านการค้าขาย ได้แก่หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่าทวารวดี มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่น อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้ นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา ซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์ สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้ จากการมีพระพุทธรูปที่มีลักษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ สาเหตุที่ทําให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่ เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของภาคกลางเป็นที่ราบ ลุ่มแม่น้ํากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ําหลายสายไหลผ่านเหมาะ แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ กับชายทะเล ทําให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่นๆ ปัจจัยเหล่านี้ทํา ให้ที่ราบลุ่มแม่น้ําภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทําการเพาะปลูกและการค้ากับ และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สําคัญของ จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทําให้ง่ายต่อการ ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทํา ปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น อธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ นครปฐม แสดงให้เห็น มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้ อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา ามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์ สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจําศาสน สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้ กษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย
  • 7. 1. จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง วัฒนธรรมใดต่อไปนี้ 1. อินเดีย – ละโว้ 3. อินเดีย - วัฒนธรรมท้องถิ่น 2. อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย 1. อาณาจักรทวารวดี 3. อาณาจักรตามพรลิงค์ 3. จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต 1. นครพนม : อาณาจักรอิศานปุระ 3. ลําปาง : อาณาจักรหริภุญชัย 4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สัมพันธ์กัน 1. พระปฐมเจดีย์ : อาณาจักรทวารวดี 3. พระธาตุหริภุญชัย : โยนกเชียงแสน 5. เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย 1. ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย 2. มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน 3. มีตํานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริ 4. มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึง 6. ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด 1. เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย 3. นําดินแดนไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ 7. สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสําคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย 1. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ 2. มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย 3. เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย 4. เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย 8. ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน 1. ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึก 2. รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3. ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม 4. ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่ 9. จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ อาณาจักรโบราณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทําเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด 1. พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มี 3. พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้ําไม่ท่วมถึง กิจกรรมที่ 3 ให้นักเรียนเลือก 7 จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง 2. ลพบุรี – ศรีวิชัย วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ศรีวิชัย - วัฒนธรรมท้องถิ่น อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 4. อาณาจักรฟูนัน จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต อาณาจักรอิศานปุระ 2. สุราษฎร์ธานี : อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรหริภุญชัย 4. นครศรีธรรมราช : อาณาจักรลังกาสุกะ ไม่สัมพันธ์กัน เกี่ยวกับอาณาจักรโบราณ และโบราณสถานที่พบ อาณาจักรทวารวดี 2. พระธาตุพนม : อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ โยนกเชียงแสน 4. พระบรมธาตุเจดีย์ : อาณาจักรตามพรลิงค์ เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน มีตํานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึงวัฒนธรนรมทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย 2. ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น ข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ 4. รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสําคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึกด้วยอักษรขอม รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่ง จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ ณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทําเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มีแม่น้ําไหลผ่าน 2. พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ําที่มีความอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้ําไม่ท่วมถึง 4. พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล นักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกต้อง จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง วัฒนธรรมท้องถิ่น อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรลังกาสุกะ อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ อาณาจักรตามพรลิงค์ เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย ญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน ทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ําที่มีความอุดมสมบูรณ์
  • 8. 10. ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู 1. การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย 2. การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร 3. การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สํา 4. ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้ 11. เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ 1. การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง 2. การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจํากัด 3. การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้ 4. ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 15. อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด 1. อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรขอม 3. อาณาจักรทวารวดี และโยนกเชียงแสน 8 ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สําคัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้ เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจํากัด การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้ ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรขอม 2. อาณาจักรอิศานปุระ และอาณาจักรละโว้ อาณาจักรทวารวดี และโยนกเชียงแสน 4. อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้ 12. ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 1. อาณาจักรศรีวิชัย 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 3. อาณาจักรหริภุญชัย 4. อาณาจักรทวารวดี 13. ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 1. อาณาจักรศรีวิชัย 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 3. อาณาจักรหริภุญชัย 4. อาณาจักรทวารวดี 14. ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใดต่อไปนี้ 1. อิทธิพลอารยธรรมทวราวดี : 2. อิทธิพลอารยธรรมขอม : อาณาจักรละโว้ 3. อิทธิพลอารยธรรมมอญ: อาณาจักร 4. อิทธิพลอารยธรรมศรีวิชัย : อาณาจักรทวารวดี ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร คัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอํานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้ เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้ ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณข้อใด และอาณาจักรละโว้ อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้ ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ : อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรละโว้ อาณาจักรหริภุญชัย อาณาจักรทวารวดี
  • 9. 16. ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง 1. เคยอยู่ในอํานาจของอาณาจักรล้านนา 2. พระภิกษุสงฆ์นําพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย 3. เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา 4. พุทธศตวรรษที่ 18 ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช 17. อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด 1. อินเดีย-จีน 2. มอญ 18. จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้ 1. ไชยา 2. ศรีวิชัย 19. ตํานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด 1. พะเยา 2. สุพรรณภูมิ 20. การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด 1. วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเ 21. ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด 1. เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี 3. เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี 22. ธรรมจักรกับกวางหมอบ จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด 1. พระพุทธศาสนานิกายมหายาน 3. การนับถือผี บูชาพญานาค 23. ชาวละโว้มีพัฒนาการฝีมือการทําเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด 1. เครื่องถ้วยกระเบื้อง 24. ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด 1. จารึกเขมร 25. ข้อใดที่ไม่ใช่หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม 1. ภาพสลักนาฏกรรม 26. หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ 1. หนังสือจูฟานฉี 3. ศิลาจารึก 8 หลักบนเกาะสุมาตรา 27. ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด 1. สวนโมกขพลาราม 28. ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา 1. มหาสถูปบุโรพุทโธ 3. กลองมโหระทึกสําริด 9 ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง เคยอยู่ในอํานาจของอาณาจักรล้านนา พระภิกษุสงฆ์นําพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด มอญ-พม่า 3. อินเดีย-ลังกา 4. ล้านนา จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้ ศรีวิชัย 3. มะละกา 4. นครศรีธรรมราช ตํานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด สุพรรณภูมิ 3. โยนกเชียงแสน 4. หิรัญนครเงินยาง การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี 2. เมืองนครชัยศรี นครปฐม เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี 4. เมืองคูบัว ราชบุรี จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด พระพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท การนับถือผี บูชาพญานาค 4. ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู มีพัฒนาการฝีมือการทําเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด 2. เครื่องแก้ว 3. เครื่องสําริด ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด 2. สถาปัตยกรรม 3. เครื่องสําริด หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม 2. สถาปัตยกรรม 3. ประติมากรรม หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ 2. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง หลักบนเกาะสุมาตรา 4. จารึกหลักที่ 24 ของพระเจ้าจันทรภาณุ ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด 2. จตุคามรามเทพ 3. พระธาตุไชยา 4 ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา(mwit 54) 2. รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4. พระพุทธรูปปางนาคปรก อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด ล้านนา-สุโขทัย จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้ นครศรีธรรมราช หิรัญนครเงินยาง การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจํานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (mwit 54) 4. เครื่องปั้นดินเผา ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด 4. ประติมากรรม หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม 4. พิธีกรรม หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ ของพระเจ้าจันทรภาณุ ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด 4. พระธาตุเมืองนคร รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
  • 10. 29. การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด 1. ตํานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ 3. ตํานานชินกาลมาลีปกรณ์ 30. ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรหริภุญชัยกับอาณาจักรอื่น 1. รับพุทธศาสนานิกายมหายาน 3. ปฐมกษัตริย์มาจากละโว้ กิจกรรมที่ 4 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่ ประเทศไทยที่กําหนดให้ 10 การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด ตํานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ 2. ตํานานจามเทวีวงศ์ ตํานานชินกาลมาลีปกรณ์ 4. ตํานานมูลศาสนา ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรหริภุญชัยกับอาณาจักรอื่น (mwit 54) รับพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. ติดต่อค้าขายกับล้านนา ปฐมกษัตริย์มาจากละโว้ 4. ได้รับอิทธิพลด้านวรรณกรรมจากพุกาม สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่ การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด(mwit 54) ได้รับอิทธิพลด้านวรรณกรรมจากพุกาม สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เรื่องรัฐ แคว้น หรืออาณาจักรโบราณ ในประเทศไทย แล้วให้เขียนชื่อพร้อมทําลูกศรเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งลงในในแผนที่