SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
1 - 1
คู่มือการปฏิบัติงาน
กระบวนการบริหารแผน
โดย
กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง
กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม
กองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการบริหารแผน
กระบวนการจัดทา
แผนยุทธศาสตร์
กระบวนการติดตาม
และประเมินผล
กระบวนการย่อยการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปี
กระบวนการย่อยการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน
กระบวนการแปลงแผน
ไปสู่การปฏิบัติ
กระบวนการย่อยการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี
๑ ๒ ๓
๒.๑
๒.๒
๒.๓
1 - 2
ขอบเขตกระบวนการบริหารแผน
สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้กาหนดกระบวนการบริหารแผนเป็นกระบวนการ
๓ กระบวนการ ดังนี้
๑. กระบวนการจัดทาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยเริ่มต้นจากแต่งตั้งคณะกรรมการ/
คณะทางาน ศึกษาวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์สภาพแวดล้อม กาหนดกรอบทิศทางการพัฒนาของแผน
เสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างกรอบทิศทางการพัฒนาของแผน จัดทาร่างแผนเสนอ
คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบ และสิ้นสุดที่การประกาศใช้
๒. กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย ๓ กระบวนการย่อย ดังนี้
๒.๑ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี โดยเริ่มต้นจาก
แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทางาน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม กาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาของแผนปฏิบัติ
ราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี กาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมสาคัญ จัดทาร่างแผนปฏิบัติ
ราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี เสนอคณะกรรมการพิจารณาร่างแผนฯ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาให้
ความเห็นชอบร่างแผน และสิ้นสุดที่การเผยแพร่แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี
๒.๒ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี โดยเริ่มต้น
จากแต่งตั้งคณะทางาน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ทบทวนผลการดาเนินงานที่ผ่านมา กาหนดกรอบแนวทางการ
พัฒนาของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี ทบทวนค่าเป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมสาคัญ
จัดทาร่างแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี เสนอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ความ
เห็นชอบร่างแผน และสิ้นสุดที่การเผยแพร่แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี
๒.๓ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน โดยเริ่มต้นจาก
กาหนดรูปแบบการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน กาหนดตัวชี้วัดบูรณาการระหว่างสานักและ
สานักงานเขต ประสานการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน หน่วยงานจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี ตรวจ/วิเคราะห์แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน ประสานให้หน่วยงานนาโครงการ/กิจกรรม
ตามแผนฯ ไปจัดทาคาของบประมาณประจาปีจากสานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ปรับแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีของหน่วยงาน ตรวจ/วิเคราะห์แผนฯ (กรณีปรับแผนฯ) และสิ้นสุดที่หน่วยงานมีแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีฉบับสมบูรณ์
๓. กระบวนการติดตามและประเมินผลแผน โดยเริ่มต้นจากกาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัด
ตรวจสอบเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผน/กาหนดวิธีการติดตามและประเมินผล แต่งตั้งคณะทางาน กาหนดกรอบแนว
ทางการติดตามประเมินผลแผน ออกแบบการประเมินผล เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูล
ตรวจสอบสรุปผลการดาเนินงาน จัดทาสรุปการประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และสิ้นสุดที่เผยแพร่สรุปการ
ประเมินผลการดาเนินการตามแผน
1 - 3
กรอบแนวคิดกระบวนการบริหารแผน
กระบวนการจัดทาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง
ผู้รับบริการ
หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร สอดคล้องแผนระดับชาติและความต้องการของ
ประชาชน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ประชาชน มีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น
ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า
- พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
- พระราชบัญญัติกาหนดแผน
และขั้นตอนกระจายอานาจให้
แก่องค์กรครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ.๒๕๔๒
- ระเบียบกรุงเทพมหานคร
ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา
กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘
มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ
และความต้องการของประชาชน
ตอบสนองและแก้ไขปัญหา
ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น
1 - 4
กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ
ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง
ผู้รับบริการ
หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร - รูปแบบและกรอบการจัดทาแผนที่ชัดเจน
- กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ประชาชน ตอบสนองและแก้ไขปัญหาประชาชน
ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า
- พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.๒๕๔๖
- พระราชบัญญัติกาหนดแผน
และขั้นตอนกระจายอานาจ
ให้แก่องค์กรครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ.๒๕๔๒
- ระเบียบกรุงเทพมหานคร
ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา
กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘
แผนมีความสอดคล้องกับแผนทุก
ระดับ ชัดเจน และแล้วเสร็จตาม
เวลาที่กาหนด
ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
ราชการของหน่วยงานเพื่อ
พัฒนากรุงเทพมหานครให้
สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และ
สภาวการณ์ปัจจุบัน
1 - 5
กระบวนการติดตามและประเมินผล
ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง
ผู้รับบริการ
หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร - ข้อมูลประกอบการติดตาม ประเมินผลถูกต้อง
ครบถ้วน สมบูรณ์
- ระบบการติดตามประเมินผลมีความเสถียรภาพ
(Stable) และสามารถใช้งานได้รวดเร็ว
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
-
ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า
- พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.
๒๕๔๖
- พระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกรุงเทพ-
มหานครและบุคลากร พ.ศ.
๒๕๕๔
- ระเบียบกรุงเทพมหานคร
ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา
กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘
ผลการประเมินมีความถูกต้อง
เชื่อถือได้ แล้วเสร็จตามเวลาที่
กาหนด
1 - 6
ข้อกาหนดที่สาคัญของกระบวนการบริหารแผน
กระบวนการ ข้อกาหนดที่สาคัญ ตัวชี้วัดข้อกาหนด
๑. กระบวนการจัดทา
แผนพัฒนากรุงเทพ-
มหานคร
มีแผนที่สอดคล้องกับแผน
ระดับชาติ และความต้องการ
ของประชาชน
ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ-
มหานครนาไปเป็นกรอบแนวทางในการจัด
ทาแผนของหน่วยงาน
๒. กระบวนการแปลงแผน
ไปสู่การปฏิบัติ
- กระบวนการย่อยการจัด
ทาแผนปฏิบัติราชการ
กรุงเทพมหานคร ๔ ปี
มีแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ-
มหานคร ๔ ปีสอดคล้องกับ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
นโยบายผู้บริหาร กทม.
กรุงเทพมหานครมีแผนปฏิบัติราชการ
กรุงเทพมหานคร ๔ ปีที่ทุกหน่วยงาน
นาไปเป็นกรอบในการจัดทาแผน
- กระบวนการย่อย
การจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการกรุงเทพมหานคร
ประจาปี
มีแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ-
มหานครประจาปีสอดคล้องกับ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ-
มหานคร ๔ ปี นโยบายผู้บริหาร
กทม.และสถานการณ์ปัจจุบัน
ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ-
มหานครนาเป้าหมายการพัฒนาของแต่ละ
ยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
ตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมที่สาคัญ
ไปจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของ
หน่วยงาน
- กระบวนการย่อย
การจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการประจาปีของ
หน่วยงาน
มีแผนปฏิบัติราชการประจาปี
ของหน่วยงานที่สอดคล้องกับ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ-
มหานคร ๔ ปี นโยบายผู้บริหาร
กทม.สถานการณ์ปัจจุบัน
พันธกิจของหน่วยงาน สภาพ
พื้นที่และสถานการณ์ปัจจุบัน
ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานมีการจัดทาแผน
ปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานสอดคล้อง
กับแผนทุกระดับและเป็นไปตามรูปแบบการ
จัดทาแผนที่กาหนด
๓. กระบวนการติดตามและ
ประเมินผล
มีระบบการติดตามและ
ประเมินผลที่มีเสถียรภาพ
(Stable) สนับสนุนการ
ขับเคลื่อนแผน
ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานในสังกัด
กรุงเทพมหานครนาระบบการติดตามและ
ประเมินผลไปใช้ในการติดตามความก้าวหน้า
โครงการ/กิจกรรม
ข้อมูลการประเมินผลถูกต้อง
และเชื่อถือได้
ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานในสังกัด
กรุงเทพมหานครนารายงานการประเมินผล
ไปใช้ในพัฒนาปรับปรุงแผนฉบับต่อไป
1 - 7
คาจากัดความ
การวางแผน หมายถึง การกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน วิธีการและขั้นตอน
ที่จาเป็น ซึ่งเป้าหมายที่กาหนดต้องเป็นไปตามนโยบาย วิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร เพื่อให้เกิดการพัฒนา
ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร
กรอบทิศทางการพัฒนา หมายถึง ขอบเขตหรือแบบแผนที่ต้องการให้หน่วยงานนาไปปฏิบัติเพื่อการ
มุ่งสู่การพัฒนาด้านต่างๆ
วิสัยทัศน์ หมายถึง ความคาดหวังของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตและ
มีความเป็นไปได้บนพื้นฐานของความเป็นจริงในปัจจุบัน โดยเกิดจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและ
การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน ซึ่งมีข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพสนับสนุนการวิเคราะห์หรือ
จินตนาการเกี่ยวกับอนาคตที่ต้องการจะมุ่งไปภายในช่วงเวลาในอนาคตที่กาหนดไว้ หรือสิ่งที่อยากให้หน่วยงาน
เป็นใน 3 - 5 ปีข้างหน้า
พันธกิจ หมายถึง ขอบเขต ภารกิจ บทบาทหน้าที่ที่ต้องดาเนินงาน ทั้งที่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
และข้อกาหนดต่าง ๆ รวมทั้งที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการ ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้
เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานต้องการบรรลุหรือเป้าหมายที่ต้องการบรรลุในแต่ละ
ประเด็นยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ หมายถึง ผลกระทบหรือผลลัพธ์ที่หน่วยงานต้องการให้เกิดขึ้นจากการให้บริการระดับ
หน่วยงาน ทั้งนี้ จะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ซึ่งผลกระทบหรือผลลัพธ์ดังกล่าวจะ
เกิดขึ้นได้จากผลสาเร็จของผลผลิตหรือโครงการ/กิจกรรมอย่างสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน
ยุทธศาสตร์ หมายถึง ทิศทางหรือวิธีการที่ต้องพิจารณากาหนดด้วยความรอบคอบในการนาไปสู่การ
บรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายสูงสุดที่กาหนดไว้ โดยการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆในปัจจุบันอย่างละเอียด
รอบคอบและตรวจสอบความเปลี่ยนแปลง และคาดการณ์ไปสู่อนาคต เพื่อเสาะแสวงหาวิธีการที่ดี เหมาะสม
และคุ้มค่า
ประเด็นยุทธศาสตร์ หมายถึง ประเด็นหลักในการพัฒนาหรือประเด็นสาคัญที่จะต้องดาเนินการ
เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามวิสัยทัศน์ของแผน/หน่วยงานที่กาหนด
กลยุทธ์หลัก หมายถึง เทคนิค แนวทาง มาตรการหรือวิธีการดาเนินงานสาคัญที่จะนาไปสู่ความ
สาเร็จตามเป้าประสงค์และเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่กาหนด
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร หมายถึง การกาหนดทิศทางการพัฒนาในอนาคตที่ชัดเจนของ
กรุงเทพมหานคร เพื่อชี้นาการปฏิบัติงานและเป็นแผนหลักที่ใช้เป็นต้นแบบซึ่งแผนย่อยต่าง ๆ ที่มีอยู่จะต้อง
มีความสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
1 - 8
คณะกรรมการ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันกาหนดกรอบทิศทางการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ ติดตาม กากับดูแล ให้คาปรึกษาแนะนาและสนับสนุนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/
แผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งแต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/แผนปฏิบัติ
ราชการ
คณะทางาน หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ กาหนด
กรอบทิศทางการพัฒนา และยกร่างแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/แผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) หมายถึง ดัชนีชี้วัดหรือหน่วยวัดความสาเร็จ
ของการปฏิบัติงานที่ถูกกาหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่ควรมีผลเป็นตัวเลขที่นับได้จริง และต้องสื่อถึง
เป้าหมายในการปฏิบัติงานสาคัญ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความชัดเจนในการกาหนด ติดตามและประเมินผลการ
ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กรหรือหน่วยงาน
ภายในองค์กร ระดับของตัวชี้วัดในแผนปฏิบัติราชการ มี 3 ระดับ คือ
1) ตัวชี้วัดระดับ Input ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะจ่าย (ตามแผน) และรายจ่ายจริง (ผล)
โดยใช้แบบฟอร์มการรายงานทางการเงิน
2) ตัวชี้วัดระดับ Process ได้แก่ กิจกรรมที่กาหนดตามแผน และกิจกรรมที่จัดทาจริง โดยใช้
แบบฟอร์มการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม
3) ตัวชี้วัดระดับ Output ได้แก่ ผลผลิตเบื้องต้น (Immediate Output) ซึ่งวัดได้ทันทีเมื่อ
สิ้นสุดการจัดทากิจกรรมเปรียบเทียบกับแผน โดยใช้แบบฟอร์มการรายงานการปฏิบัติงาน-ค่าใช้จ่าย-เวลา
(Performance-Cost-Time Graphs) ส่วนในกรณีการประเมินผลระดับผลผลิตจะวัดผลผลิตสุดท้าย
(Final Output)
ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ (ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์) หมายถึง ตัวชี้วัดความสาเร็จ/ผลลัพธ์ของการดาเนินงาน
ตามเป้าประสงค์ที่กาหนด ทั้งนี้ ตัวชี้วัดควรแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จที่กลุ่มเป้าหมายได้รับในเชิงปริมาณ
และหรือคุณภาพ และระยะเวลาในการบรรลุผลสาเร็จ
ตัวชี้วัดบูรณาการ หมายถึง ตัวชี้วัดที่หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบตัวชี้วัดในแผนพัฒนากรุงเทพ-
มหานครเป็นผู้กาหนดในการบูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานหลักและสานักงานเขตเพื่อให้สามารถ
ดาเนินการให้เกิดผลผลิต/ผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ที่กาหนด
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด หมายถึง เป้าหมายในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วนที่ทาให้
แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กาหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด
ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน
โครงการ/กิจกรรมสาคัญ หมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานที่จัดทาขึ้นเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์/
ส่งผลให้บรรลุเป้าประสงค์และเป้าหมายยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการกาหนดวัตถุประสงค์
เป้าหมายวิธีดาเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ และวงเงินงบประมาณของโครงการ
หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528
1 - 9
ผลการดาเนินงาน หมายถึง ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ที่ได้จากกระบวนการ
ผลผลิตและบริการ ซึ่งทาให้สามารถประเมินและเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ มาตรฐานผลลัพธ์ที่ผ่านมา
คู่มือการจัดทาแผน หมายถึง เอกสารแสดงรายละเอียดขั้นตอน วิธีการ และกรอบแนวทางการ
จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี ซึ่งเป็นข้อแนะนาที่มุ่งหมายเพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามกรอบแนวทางที่กาหนด สอดคล้อง
กับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี และนโยบายผู้บริหาร-
กรุงเทพมหานคร
คู่มือแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ หมายถึง เอกสารแสดง
รายละเอียดขั้นตอน วิธีการ และกรอบแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัด
กรุงเทพมหานคร 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการ
ปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ และมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ ซึ่งเป็น
ข้อแนะนาที่มุ่งหมายเพื่อช่วยให้หน่วยงานทั้งในฐานะที่เป็นผู้ประเมินและผู้รับการประเมินมีความเข้าใจ
แนวทางประเมินผลฯ สามารถนาไปกาหนดแผนปฏิบัติราชการที่สะท้อนผลการปฏิบัติราชการในแต่ละ
รอบการประเมินอย่างแท้จริง และนาไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ
การให้คาปรึกษาแนะนาในการจัดทาแผน หมายถึง การสร้างความเข้าใจแก่หน่วยงานเกี่ยวกับ
แนวทาง วิธีการ ขั้นตอน และข้อเสนอแนะในการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานตาม
กรอบแนวทางที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลกาหนด สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี นโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานครเพื่อให้หน่วยงานสามารถ
จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามกรอบแนวทางที่กาหนด โดยมี
วิธีการให้คาปรึกษาแนะนา 3 วิธี คือ
1) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบกลุ่ม เป็นการปรึกษาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของ
หน่วยงานในการจัดทาแผนพร้อมกันหลายหน่วยงาน โดยจัดประชุม/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความ
รู้ความเข้าใจแนวทางการจัดทาแผนเป็นกลุ่มสานักงานเขต/หน่วยงานที่มีภารกิจหลักตามยุทธศาสตร์
(รายยุทธศาสตร์)
2) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบรายหน่วยงาน เป็นการปรึกษาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ของหน่วยงานในการจัดทาแผน โดยจัดประชุม/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทาง
การจัดทาแผนเป็นรายหน่วยงาน
3) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบรายบุคคล เป็นการปรึกษาแนะนาโดยเฉพาะบุคคล เพื่อให้ผู้รับ
คาปรึกษามีความเข้าใจแนวทางการจัดทาแผน โดยให้คาปรึกษาแนะนา ณ หน่วยงาน /เจ้าหน้าที่ของ
หน่วยงานรับคาแนะนา ณ สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล/โทรศัพท์/e-mail
การปรับแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานปรับแผนปฏิบัติราชการ-
ประจาปีให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี นโยบายผู้บริหาร
และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1 - 10
การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การนาเอกสารหรือหลักฐานต่าง ๆ มาจัดการข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ
เช่น การคานวณ การนาเสนอข้อมูล เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ หรือการดาเนินการเพื่อ
สรุปความสาคัญของข้อมูลสารสนเทศให้ตรงสภาพที่เป็นจริง ตรงตามวัตถุประสงค์ก่อนที่จะนาข้อมูลมาใช้
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม หมายถึง การดาเนินการเพื่อที่จะทาให้ได้ทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ทั้งภายในและภายนอก และใช้เป็นข้อมูลสาคัญที่จะนาไปใช้ในการกาหนดทิศทางและแผนกลยุทธ์ต่อไป
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หมายถึง การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือผู้มี
ส่วนได้ ส่วนเสียในเรื่องที่มีผลกระทบกับชีวิตของประชาชน โดยจัดเพื่อให้รับความคิดเห็นจากประชาชน
ให้มีความหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ
ดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก
กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผล หมายถึง กรอบแนวทางที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล
กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติการดาเนินงานด้านการติดตามและประเมินผล ซึ่งจะประกอบไปด้วยหัวข้อ
หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์ แนวคิด/ทฤษฎีในการประเมินผลการดาเนินงานตามแผน
การออกแบบการประเมินผล หมายถึง การกาหนดรายละเอียดในการประเมินผล ประกอบด้วย
หัวข้อ ระยะเวลา เครื่องมือ/วิธีการที่ใช้ในการประเมิน ตลอดจนขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
ระบบโปรแกรมติดตามและประเมินผลโครงการ (Daily Plans) หมายถึง ระบบการติดตามและ
ประเมินผลโครงการของทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งกาหนดให้ทุกหน่วยงานต้องมีการบันทึก
โครงการของหน่วยงานที่ต้องดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณและรายงานผลการดาเนินงานให้ทราบเป็น
รายเดือนและรายไตรมาส เพื่อให้สานักยุทธศาสตร์ใช้ข้อมูลในระบบโปรแกรมติดตามและประเมินผล
โครงการ (Daily Plans) ประกอบการประเมินผลการดาเนินงาน
กองยุทธศาสตร์ หมายถึง ส่วนราชการในสังกัดสานักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่มีหน้าที่และ
ภารกิจหลักในการจัดทาแผน การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผลในภาพรวม และ
รายยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย
๑) กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ (กยบ.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
เพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ ประสานและสนับสนุนการจัด
ทาแผนปฏิบัติราชการ รวบรวมแผนยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เพื่อประมวลเป็นแผนบริหารราชการกรุงเทพ-
มหานคร และการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่
สานักเทศกิจ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล
สานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สถาบัน-
พัฒนาข้าราชการรุงเทพมหานคร สานักงานกฎหมายและคดี สานักงานปกครองและทะเบียน สานักงาน-
ตรวจสอบภายใน กองงานผู้ตรวจราชการ กองกลาง กองการเจ้าหน้าที่ กองการต่างประเทศ และ
กองประชาสัมพันธ์
๒) กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง (กยค.) มีหน้าที่รับผิดชอบมีหน้าที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกัการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ การเงิน
และการคลัง ประสานสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ
งานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักการคลัง สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
สนข.คลองเตย สนข.บางคอแหลม สนข.ปทุมวัน สนข.บางรัก สนข.สาทร สนข.ยานนาวา สนข.วัฒนา
1 - 11
สนข.บางนา สนข.พระโขนง สนข.สวนหลวง สนข.ลาดพร้าว สนข.หลักสี่ สนข.จตุจักร สนข.บางซื่อ
สนข.สายไหม สนข.บางเขน และสนข.ดอนเมือง
๓) กองยุทธศาสตร์สาธา รณูปโภคพื้นฐาน (กยภ.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์
วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การ
ระบายน้า การผังเมือง และการจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักการโยธา
สานักการระบายน้า (ยกเว้นสานักงานจัดการคุณภาพน้า) สานักการจราจรและขนส่ง สานักผังเมือง
สนข.บึงกุ่ม สนข.บางกะปิ สนข.คันนายาว สนข.สะพานสูง สนข.หนองจอก สนข.ลาดกระบัง สนข.มีนบุรี
สนข.คลองสามวา และสนข.ประเวศ
๔) กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (กยล.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา
วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประสาน
และสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของ
สานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักสิ่งแวดล้อม สานักอนามัย สานักการแพทย์ สานักการระบายน้า
(เฉพาะสานักงานจัดการคุณภาพน้า) สนข.สัมพันธวงศ์ สนข.ดุสิต สนข.พระนคร สนข.ป้อมปราบฯ
สนข.พญาไท สนข.ราชเทวี สนข.ดินแดง สนข.วังทองหลาง สนข.ห้วยขวาง สนข.ภาษีเจริญ สนข.บางแค
สนข.หนองแขม สนข.ราษฎร์บูรณะ สนข.ทุ่งครุ สนข.บางขุนเทียน และสนข.บางบอน
๕) กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม(กยม.)มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์
วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคมประสานและสนับสนุน
การจัดทาแผนปฏิบัติราชการและติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงาน-
เขต ได้แก่ สานักพัฒนาสังคม สานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว สานักการศึกษา สานักป้องกันและ-
บรรเทาสาธารณภัย สนข.ธนบุรี สนข.จอมทอง สนข.บางกอกใหญ่ สนข.คลองสาน สนข.บางกอกน้อย
สนข.บางพลัด สนข.ทวีวัฒนา และสนข.ตลิ่งชัน
1 - 12
หน้าที่ความรับผิดชอบ
หน่วยงานรับผิดชอบ หน้าที่ความรับผิดชอบ
ผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล
รองผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล
 พิจารณาแต่งตั้งคณะทางานในการบริหารแผน
 พิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบแนวทางดาเนินการเกี่ยวกับ
การบริหารแผน
 วินิจฉัยสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันดาเนินการด้าน
แผนให้เกิดความสาเร็จ
 พิจารณาและให้ความเห็นชอบต่อผลการดาเนินงานด้านแผน
ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ
ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง
ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน
ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม
กากับ ควบคุมการปฏิบัติงาน ตลอดจนการติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานของบุคลกรที่อยู่ในความรับผิดชอบ
ให้ดาเนินงานให้เกิดผลสาเร็จ
กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อ
การกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหาร
จัดการ ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
รวบรวมแผนยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เพื่อประมวลเป็นแผน
บริหารราชการกรุงเทพมหานคร และการติดตามประเมินผล
สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต
กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา
วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบาย และจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง ประสาน
สนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผล
สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต
กองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการ
กาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภค
พื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การระบายน้า การผังเมือง และ
การจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการ
ปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต
กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการ
กาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและ
สิ่งแวดล้อม ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตาม
แผนของสานักและสานักงานเขต
กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อ
การกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากร
มนุษย์และสังคม ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตาม
แผนของสานักและสานักงานเขต

Contenu connexe

En vedette

[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
วัชรินทร์ ใจจะดี
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
peter dontoom
 

En vedette (11)

พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
 
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารแนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
 
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similaire à 01 1

เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมินเกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
Pochchara Tiamwong
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docxแบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
SattaReangnoi
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
i_cavalry
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
0884045430
 
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2554
แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2554แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2554
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2554
นู๋หนึ่ง nooneung
 

Similaire à 01 1 (20)

7532
75327532
7532
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมินเกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
028
028028
028
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docxแบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ(3).docx
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
New
NewNew
New
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
รายการประเมินปศพและเกณฑ์ รายการประเมิน และเกณฑ์คุณภาพ สถานศึกษาแบบอย่างการจัด...
รายการประเมินปศพและเกณฑ์ รายการประเมิน และเกณฑ์คุณภาพ สถานศึกษาแบบอย่างการจัด...รายการประเมินปศพและเกณฑ์ รายการประเมิน และเกณฑ์คุณภาพ สถานศึกษาแบบอย่างการจัด...
รายการประเมินปศพและเกณฑ์ รายการประเมิน และเกณฑ์คุณภาพ สถานศึกษาแบบอย่างการจัด...
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2554
แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2554แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2554
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2554
 

01 1

  • 1. 1 - 1 คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการบริหารแผน โดย กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม กองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กระบวนการบริหารแผน กระบวนการจัดทา แผนยุทธศาสตร์ กระบวนการติดตาม และประเมินผล กระบวนการย่อยการจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปี กระบวนการย่อยการจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน กระบวนการแปลงแผน ไปสู่การปฏิบัติ กระบวนการย่อยการจัดทา แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี ๑ ๒ ๓ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓
  • 2. 1 - 2 ขอบเขตกระบวนการบริหารแผน สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้กาหนดกระบวนการบริหารแผนเป็นกระบวนการ ๓ กระบวนการ ดังนี้ ๑. กระบวนการจัดทาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยเริ่มต้นจากแต่งตั้งคณะกรรมการ/ คณะทางาน ศึกษาวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์สภาพแวดล้อม กาหนดกรอบทิศทางการพัฒนาของแผน เสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างกรอบทิศทางการพัฒนาของแผน จัดทาร่างแผนเสนอ คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบ และสิ้นสุดที่การประกาศใช้ ๒. กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย ๓ กระบวนการย่อย ดังนี้ ๒.๑ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี โดยเริ่มต้นจาก แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทางาน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม กาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาของแผนปฏิบัติ ราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี กาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมสาคัญ จัดทาร่างแผนปฏิบัติ ราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี เสนอคณะกรรมการพิจารณาร่างแผนฯ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ ความเห็นชอบร่างแผน และสิ้นสุดที่การเผยแพร่แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ๔ ปี ๒.๒ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี โดยเริ่มต้น จากแต่งตั้งคณะทางาน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ทบทวนผลการดาเนินงานที่ผ่านมา กาหนดกรอบแนวทางการ พัฒนาของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี ทบทวนค่าเป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมสาคัญ จัดทาร่างแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี เสนอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ความ เห็นชอบร่างแผน และสิ้นสุดที่การเผยแพร่แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี ๒.๓ กระบวนการย่อยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน โดยเริ่มต้นจาก กาหนดรูปแบบการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน กาหนดตัวชี้วัดบูรณาการระหว่างสานักและ สานักงานเขต ประสานการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน หน่วยงานจัดทาแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี ตรวจ/วิเคราะห์แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน ประสานให้หน่วยงานนาโครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯ ไปจัดทาคาของบประมาณประจาปีจากสานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ปรับแผนปฏิบัติราชการ ประจาปีของหน่วยงาน ตรวจ/วิเคราะห์แผนฯ (กรณีปรับแผนฯ) และสิ้นสุดที่หน่วยงานมีแผนปฏิบัติราชการ ประจาปีฉบับสมบูรณ์ ๓. กระบวนการติดตามและประเมินผลแผน โดยเริ่มต้นจากกาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ตรวจสอบเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผน/กาหนดวิธีการติดตามและประเมินผล แต่งตั้งคณะทางาน กาหนดกรอบแนว ทางการติดตามประเมินผลแผน ออกแบบการประเมินผล เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบสรุปผลการดาเนินงาน จัดทาสรุปการประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และสิ้นสุดที่เผยแพร่สรุปการ ประเมินผลการดาเนินการตามแผน
  • 3. 1 - 3 กรอบแนวคิดกระบวนการบริหารแผน กระบวนการจัดทาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง ผู้รับบริการ หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร สอดคล้องแผนระดับชาติและความต้องการของ ประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน มีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า - พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ - พระราชบัญญัติกาหนดแผน และขั้นตอนกระจายอานาจให้ แก่องค์กรครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ - ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘ มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ และความต้องการของประชาชน ตอบสนองและแก้ไขปัญหา ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น
  • 4. 1 - 4 กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง ผู้รับบริการ หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร - รูปแบบและกรอบการจัดทาแผนที่ชัดเจน - กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน ตอบสนองและแก้ไขปัญหาประชาชน ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า - พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ - พระราชบัญญัติกาหนดแผน และขั้นตอนกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ - ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘ แผนมีความสอดคล้องกับแผนทุก ระดับ ชัดเจน และแล้วเสร็จตาม เวลาที่กาหนด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงานเพื่อ พัฒนากรุงเทพมหานครให้ สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และ สภาวการณ์ปัจจุบัน
  • 5. 1 - 5 กระบวนการติดตามและประเมินผล ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ/ความคาดหวัง ผู้รับบริการ หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร - ข้อมูลประกอบการติดตาม ประเมินผลถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ - ระบบการติดตามประเมินผลมีความเสถียรภาพ (Stable) และสามารถใช้งานได้รวดเร็ว ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ข้อกาหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า - พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ - พระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการกรุงเทพ- มหานครและบุคลากร พ.ศ. ๒๕๕๔ - ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยการบริหารการพัฒนา กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๘ ผลการประเมินมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ แล้วเสร็จตามเวลาที่ กาหนด
  • 6. 1 - 6 ข้อกาหนดที่สาคัญของกระบวนการบริหารแผน กระบวนการ ข้อกาหนดที่สาคัญ ตัวชี้วัดข้อกาหนด ๑. กระบวนการจัดทา แผนพัฒนากรุงเทพ- มหานคร มีแผนที่สอดคล้องกับแผน ระดับชาติ และความต้องการ ของประชาชน ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ- มหานครนาไปเป็นกรอบแนวทางในการจัด ทาแผนของหน่วยงาน ๒. กระบวนการแปลงแผน ไปสู่การปฏิบัติ - กระบวนการย่อยการจัด ทาแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานคร ๔ ปี มีแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ- มหานคร ๔ ปีสอดคล้องกับ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร นโยบายผู้บริหาร กทม. กรุงเทพมหานครมีแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานคร ๔ ปีที่ทุกหน่วยงาน นาไปเป็นกรอบในการจัดทาแผน - กระบวนการย่อย การจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการกรุงเทพมหานคร ประจาปี มีแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ- มหานครประจาปีสอดคล้องกับ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ- มหานคร ๔ ปี นโยบายผู้บริหาร กทม.และสถานการณ์ปัจจุบัน ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ- มหานครนาเป้าหมายการพัฒนาของแต่ละ ยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมที่สาคัญ ไปจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของ หน่วยงาน - กระบวนการย่อย การจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการประจาปีของ หน่วยงาน มีแผนปฏิบัติราชการประจาปี ของหน่วยงานที่สอดคล้องกับ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพ- มหานคร ๔ ปี นโยบายผู้บริหาร กทม.สถานการณ์ปัจจุบัน พันธกิจของหน่วยงาน สภาพ พื้นที่และสถานการณ์ปัจจุบัน ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานมีการจัดทาแผน ปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานสอดคล้อง กับแผนทุกระดับและเป็นไปตามรูปแบบการ จัดทาแผนที่กาหนด ๓. กระบวนการติดตามและ ประเมินผล มีระบบการติดตามและ ประเมินผลที่มีเสถียรภาพ (Stable) สนับสนุนการ ขับเคลื่อนแผน ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานในสังกัด กรุงเทพมหานครนาระบบการติดตามและ ประเมินผลไปใช้ในการติดตามความก้าวหน้า โครงการ/กิจกรรม ข้อมูลการประเมินผลถูกต้อง และเชื่อถือได้ ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานในสังกัด กรุงเทพมหานครนารายงานการประเมินผล ไปใช้ในพัฒนาปรับปรุงแผนฉบับต่อไป
  • 7. 1 - 7 คาจากัดความ การวางแผน หมายถึง การกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน วิธีการและขั้นตอน ที่จาเป็น ซึ่งเป้าหมายที่กาหนดต้องเป็นไปตามนโยบาย วิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร เพื่อให้เกิดการพัฒนา ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร กรอบทิศทางการพัฒนา หมายถึง ขอบเขตหรือแบบแผนที่ต้องการให้หน่วยงานนาไปปฏิบัติเพื่อการ มุ่งสู่การพัฒนาด้านต่างๆ วิสัยทัศน์ หมายถึง ความคาดหวังของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตและ มีความเป็นไปได้บนพื้นฐานของความเป็นจริงในปัจจุบัน โดยเกิดจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและ การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน ซึ่งมีข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพสนับสนุนการวิเคราะห์หรือ จินตนาการเกี่ยวกับอนาคตที่ต้องการจะมุ่งไปภายในช่วงเวลาในอนาคตที่กาหนดไว้ หรือสิ่งที่อยากให้หน่วยงาน เป็นใน 3 - 5 ปีข้างหน้า พันธกิจ หมายถึง ขอบเขต ภารกิจ บทบาทหน้าที่ที่ต้องดาเนินงาน ทั้งที่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อกาหนดต่าง ๆ รวมทั้งที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการ ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานต้องการบรรลุหรือเป้าหมายที่ต้องการบรรลุในแต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ หมายถึง ผลกระทบหรือผลลัพธ์ที่หน่วยงานต้องการให้เกิดขึ้นจากการให้บริการระดับ หน่วยงาน ทั้งนี้ จะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ซึ่งผลกระทบหรือผลลัพธ์ดังกล่าวจะ เกิดขึ้นได้จากผลสาเร็จของผลผลิตหรือโครงการ/กิจกรรมอย่างสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน ยุทธศาสตร์ หมายถึง ทิศทางหรือวิธีการที่ต้องพิจารณากาหนดด้วยความรอบคอบในการนาไปสู่การ บรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายสูงสุดที่กาหนดไว้ โดยการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆในปัจจุบันอย่างละเอียด รอบคอบและตรวจสอบความเปลี่ยนแปลง และคาดการณ์ไปสู่อนาคต เพื่อเสาะแสวงหาวิธีการที่ดี เหมาะสม และคุ้มค่า ประเด็นยุทธศาสตร์ หมายถึง ประเด็นหลักในการพัฒนาหรือประเด็นสาคัญที่จะต้องดาเนินการ เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามวิสัยทัศน์ของแผน/หน่วยงานที่กาหนด กลยุทธ์หลัก หมายถึง เทคนิค แนวทาง มาตรการหรือวิธีการดาเนินงานสาคัญที่จะนาไปสู่ความ สาเร็จตามเป้าประสงค์และเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่กาหนด แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร หมายถึง การกาหนดทิศทางการพัฒนาในอนาคตที่ชัดเจนของ กรุงเทพมหานคร เพื่อชี้นาการปฏิบัติงานและเป็นแผนหลักที่ใช้เป็นต้นแบบซึ่งแผนย่อยต่าง ๆ ที่มีอยู่จะต้อง มีความสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
  • 8. 1 - 8 คณะกรรมการ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันกาหนดกรอบทิศทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ ติดตาม กากับดูแล ให้คาปรึกษาแนะนาและสนับสนุนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/ แผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งแต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/แผนปฏิบัติ ราชการ คณะทางาน หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ กาหนด กรอบทิศทางการพัฒนา และยกร่างแผนยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/แผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) หมายถึง ดัชนีชี้วัดหรือหน่วยวัดความสาเร็จ ของการปฏิบัติงานที่ถูกกาหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่ควรมีผลเป็นตัวเลขที่นับได้จริง และต้องสื่อถึง เป้าหมายในการปฏิบัติงานสาคัญ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความชัดเจนในการกาหนด ติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กรหรือหน่วยงาน ภายในองค์กร ระดับของตัวชี้วัดในแผนปฏิบัติราชการ มี 3 ระดับ คือ 1) ตัวชี้วัดระดับ Input ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะจ่าย (ตามแผน) และรายจ่ายจริง (ผล) โดยใช้แบบฟอร์มการรายงานทางการเงิน 2) ตัวชี้วัดระดับ Process ได้แก่ กิจกรรมที่กาหนดตามแผน และกิจกรรมที่จัดทาจริง โดยใช้ แบบฟอร์มการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม 3) ตัวชี้วัดระดับ Output ได้แก่ ผลผลิตเบื้องต้น (Immediate Output) ซึ่งวัดได้ทันทีเมื่อ สิ้นสุดการจัดทากิจกรรมเปรียบเทียบกับแผน โดยใช้แบบฟอร์มการรายงานการปฏิบัติงาน-ค่าใช้จ่าย-เวลา (Performance-Cost-Time Graphs) ส่วนในกรณีการประเมินผลระดับผลผลิตจะวัดผลผลิตสุดท้าย (Final Output) ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ (ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์) หมายถึง ตัวชี้วัดความสาเร็จ/ผลลัพธ์ของการดาเนินงาน ตามเป้าประสงค์ที่กาหนด ทั้งนี้ ตัวชี้วัดควรแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จที่กลุ่มเป้าหมายได้รับในเชิงปริมาณ และหรือคุณภาพ และระยะเวลาในการบรรลุผลสาเร็จ ตัวชี้วัดบูรณาการ หมายถึง ตัวชี้วัดที่หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบตัวชี้วัดในแผนพัฒนากรุงเทพ- มหานครเป็นผู้กาหนดในการบูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานหลักและสานักงานเขตเพื่อให้สามารถ ดาเนินการให้เกิดผลผลิต/ผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ที่กาหนด ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด หมายถึง เป้าหมายในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วนที่ทาให้ แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กาหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน โครงการ/กิจกรรมสาคัญ หมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานที่จัดทาขึ้นเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์/ ส่งผลให้บรรลุเป้าประสงค์และเป้าหมายยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายวิธีดาเนินการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ และวงเงินงบประมาณของโครงการ หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528
  • 9. 1 - 9 ผลการดาเนินงาน หมายถึง ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ที่ได้จากกระบวนการ ผลผลิตและบริการ ซึ่งทาให้สามารถประเมินและเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ มาตรฐานผลลัพธ์ที่ผ่านมา คู่มือการจัดทาแผน หมายถึง เอกสารแสดงรายละเอียดขั้นตอน วิธีการ และกรอบแนวทางการ จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี ซึ่งเป็นข้อแนะนาที่มุ่งหมายเพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามกรอบแนวทางที่กาหนด สอดคล้อง กับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี และนโยบายผู้บริหาร- กรุงเทพมหานคร คู่มือแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ หมายถึง เอกสารแสดง รายละเอียดขั้นตอน วิธีการ และกรอบแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัด กรุงเทพมหานคร 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการ ปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ และมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ ซึ่งเป็น ข้อแนะนาที่มุ่งหมายเพื่อช่วยให้หน่วยงานทั้งในฐานะที่เป็นผู้ประเมินและผู้รับการประเมินมีความเข้าใจ แนวทางประเมินผลฯ สามารถนาไปกาหนดแผนปฏิบัติราชการที่สะท้อนผลการปฏิบัติราชการในแต่ละ รอบการประเมินอย่างแท้จริง และนาไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ การให้คาปรึกษาแนะนาในการจัดทาแผน หมายถึง การสร้างความเข้าใจแก่หน่วยงานเกี่ยวกับ แนวทาง วิธีการ ขั้นตอน และข้อเสนอแนะในการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานตาม กรอบแนวทางที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลกาหนด สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจาปี นโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานครเพื่อให้หน่วยงานสามารถ จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามกรอบแนวทางที่กาหนด โดยมี วิธีการให้คาปรึกษาแนะนา 3 วิธี คือ 1) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบกลุ่ม เป็นการปรึกษาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของ หน่วยงานในการจัดทาแผนพร้อมกันหลายหน่วยงาน โดยจัดประชุม/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความ รู้ความเข้าใจแนวทางการจัดทาแผนเป็นกลุ่มสานักงานเขต/หน่วยงานที่มีภารกิจหลักตามยุทธศาสตร์ (รายยุทธศาสตร์) 2) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบรายหน่วยงาน เป็นการปรึกษาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ของหน่วยงานในการจัดทาแผน โดยจัดประชุม/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทาง การจัดทาแผนเป็นรายหน่วยงาน 3) การให้คาปรึกษาแนะนาแบบรายบุคคล เป็นการปรึกษาแนะนาโดยเฉพาะบุคคล เพื่อให้ผู้รับ คาปรึกษามีความเข้าใจแนวทางการจัดทาแผน โดยให้คาปรึกษาแนะนา ณ หน่วยงาน /เจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานรับคาแนะนา ณ สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล/โทรศัพท์/e-mail การปรับแผนปฏิบัติราชการประจาปีของหน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานปรับแผนปฏิบัติราชการ- ประจาปีให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี นโยบายผู้บริหาร และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
  • 10. 1 - 10 การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การนาเอกสารหรือหลักฐานต่าง ๆ มาจัดการข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การคานวณ การนาเสนอข้อมูล เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ หรือการดาเนินการเพื่อ สรุปความสาคัญของข้อมูลสารสนเทศให้ตรงสภาพที่เป็นจริง ตรงตามวัตถุประสงค์ก่อนที่จะนาข้อมูลมาใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม หมายถึง การดาเนินการเพื่อที่จะทาให้ได้ทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอก และใช้เป็นข้อมูลสาคัญที่จะนาไปใช้ในการกาหนดทิศทางและแผนกลยุทธ์ต่อไป การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หมายถึง การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสียในเรื่องที่มีผลกระทบกับชีวิตของประชาชน โดยจัดเพื่อให้รับความคิดเห็นจากประชาชน ให้มีความหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ ดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผล หมายถึง กรอบแนวทางที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติการดาเนินงานด้านการติดตามและประเมินผล ซึ่งจะประกอบไปด้วยหัวข้อ หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์ แนวคิด/ทฤษฎีในการประเมินผลการดาเนินงานตามแผน การออกแบบการประเมินผล หมายถึง การกาหนดรายละเอียดในการประเมินผล ประกอบด้วย หัวข้อ ระยะเวลา เครื่องมือ/วิธีการที่ใช้ในการประเมิน ตลอดจนขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ระบบโปรแกรมติดตามและประเมินผลโครงการ (Daily Plans) หมายถึง ระบบการติดตามและ ประเมินผลโครงการของทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งกาหนดให้ทุกหน่วยงานต้องมีการบันทึก โครงการของหน่วยงานที่ต้องดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณและรายงานผลการดาเนินงานให้ทราบเป็น รายเดือนและรายไตรมาส เพื่อให้สานักยุทธศาสตร์ใช้ข้อมูลในระบบโปรแกรมติดตามและประเมินผล โครงการ (Daily Plans) ประกอบการประเมินผลการดาเนินงาน กองยุทธศาสตร์ หมายถึง ส่วนราชการในสังกัดสานักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่มีหน้าที่และ ภารกิจหลักในการจัดทาแผน การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผลในภาพรวม และ รายยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ๑) กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ (กยบ.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ ประสานและสนับสนุนการจัด ทาแผนปฏิบัติราชการ รวบรวมแผนยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เพื่อประมวลเป็นแผนบริหารราชการกรุงเทพ- มหานคร และการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักเทศกิจ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล สานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สถาบัน- พัฒนาข้าราชการรุงเทพมหานคร สานักงานกฎหมายและคดี สานักงานปกครองและทะเบียน สานักงาน- ตรวจสอบภายใน กองงานผู้ตรวจราชการ กองกลาง กองการเจ้าหน้าที่ กองการต่างประเทศ และ กองประชาสัมพันธ์ ๒) กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง (กยค.) มีหน้าที่รับผิดชอบมีหน้าที่รับผิดชอบ เกี่ยวกัการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง ประสานสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ งานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักการคลัง สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร สนข.คลองเตย สนข.บางคอแหลม สนข.ปทุมวัน สนข.บางรัก สนข.สาทร สนข.ยานนาวา สนข.วัฒนา
  • 11. 1 - 11 สนข.บางนา สนข.พระโขนง สนข.สวนหลวง สนข.ลาดพร้าว สนข.หลักสี่ สนข.จตุจักร สนข.บางซื่อ สนข.สายไหม สนข.บางเขน และสนข.ดอนเมือง ๓) กองยุทธศาสตร์สาธา รณูปโภคพื้นฐาน (กยภ.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การ ระบายน้า การผังเมือง และการจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักการโยธา สานักการระบายน้า (ยกเว้นสานักงานจัดการคุณภาพน้า) สานักการจราจรและขนส่ง สานักผังเมือง สนข.บึงกุ่ม สนข.บางกะปิ สนข.คันนายาว สนข.สะพานสูง สนข.หนองจอก สนข.ลาดกระบัง สนข.มีนบุรี สนข.คลองสามวา และสนข.ประเวศ ๔) กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (กยล.) มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประสาน และสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของ สานักและสานักงานเขต ได้แก่ สานักสิ่งแวดล้อม สานักอนามัย สานักการแพทย์ สานักการระบายน้า (เฉพาะสานักงานจัดการคุณภาพน้า) สนข.สัมพันธวงศ์ สนข.ดุสิต สนข.พระนคร สนข.ป้อมปราบฯ สนข.พญาไท สนข.ราชเทวี สนข.ดินแดง สนข.วังทองหลาง สนข.ห้วยขวาง สนข.ภาษีเจริญ สนข.บางแค สนข.หนองแขม สนข.ราษฎร์บูรณะ สนข.ทุ่งครุ สนข.บางขุนเทียน และสนข.บางบอน ๕) กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม(กยม.)มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคมประสานและสนับสนุน การจัดทาแผนปฏิบัติราชการและติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงาน- เขต ได้แก่ สานักพัฒนาสังคม สานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว สานักการศึกษา สานักป้องกันและ- บรรเทาสาธารณภัย สนข.ธนบุรี สนข.จอมทอง สนข.บางกอกใหญ่ สนข.คลองสาน สนข.บางกอกน้อย สนข.บางพลัด สนข.ทวีวัฒนา และสนข.ตลิ่งชัน
  • 12. 1 - 12 หน้าที่ความรับผิดชอบ หน่วยงานรับผิดชอบ หน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล รองผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล  พิจารณาแต่งตั้งคณะทางานในการบริหารแผน  พิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบแนวทางดาเนินการเกี่ยวกับ การบริหารแผน  วินิจฉัยสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันดาเนินการด้าน แผนให้เกิดความสาเร็จ  พิจารณาและให้ความเห็นชอบต่อผลการดาเนินงานด้านแผน ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม กากับ ควบคุมการปฏิบัติงาน ตลอดจนการติดตามและ ประเมินผลการดาเนินงานของบุคลกรที่อยู่ในความรับผิดชอบ ให้ดาเนินงานให้เกิดผลสาเร็จ กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อ การกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหาร จัดการ ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ รวบรวมแผนยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เพื่อประมวลเป็นแผน บริหารราชการกรุงเทพมหานคร และการติดตามประเมินผล สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต กองยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ การเงินและการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกาหนดนโยบาย และจัดทาแผน ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง ประสาน สนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผล สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต กองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการ กาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภค พื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การระบายน้า การผังเมือง และ การจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทา แผนปฏิบัติราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงานตามแผนของสานักและสานักงานเขต กองยุทธศาสตร์สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการ กาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตาม แผนของสานักและสานักงานเขต กองยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์และสังคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อ การกาหนดนโยบายและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากร มนุษย์และสังคม ประสานและสนับสนุนการจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการ และติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตาม แผนของสานักและสานักงานเขต