SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
โครงงาน
เรื่ อง การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
ั
โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม ฯ
ั

เสนอ
อาจารย์ ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ

จัดทาโดย
น.ส. พุทธชาด โลหะมาศ ม. 5/7
น.ส. ณัฐมน ทิพย์ทอง ม.
5/7
น.ส. วิพิชญาณ์ ใจสอาด ม. 5/7
น.ส. พัณณิ ตา ทั้งธรณิ นทร์ ม. 5/7

เลขที่ 15
เลขที่ 18
เลขที่ 19
เลขที่ 27

โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ั
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นม.5 นี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี เนื่องจาก
ั
้
กลุ่มผูจดทาโครงงานได้รับความอนุเคราะห์ของครู ประจาวิชา คือ คุณครู ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ ที่ให้ขอเสนอแนะ
้ั
้
เพิ่มเติมทาให้โครงงานนี้มีความถูกต้องสมบูรณ์ยงขึ้น และนักเรี ยนโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี
ิ่
ั
ที่ 5ที่ให้ความร่ วมมือในการทาแบบสารวจข้อมูลที่กลุ่มได้จดทาขึ้น คณะผูจดทาโครงงานขอขอบคุณในการ
ั
้ั
สนับสนุนและการให้ความร่ วมมือของทุกฝ่ าย
ขอขอบคุณ คุณครู ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ ที่ตรวจสอบข้อมูล การทางาน วิธีการดาเนินงาน และเสนอแนะ
วิธีการทาโครงงานนี้ให้ดียงขึ้น
ิ่
ขอขอบคุณ คุณครู อรทัย สาโรวาท ที่แนะนาวิธีการเขียน ขั้นตอนและเค้าโครงงานต่างๆให้ดีมากขึ้น
สุดท้ายขอขอบคุณบิดาและมารดา ผูเ้ ป็ นกาลังใจในการทางานต่างๆ ของผูจดทา
้ั

ผูจดทา
้ั
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่ อง : การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒา
ั
ั
ราม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร
ปัจจุบนในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม มีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลายในทุกระดับชั้น
ั
ั
นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ใช้เกินความจาเป็ นโดยโทรศัพท์มือถือ การใช้โทรศัพท์มือถือ
ติดต่อกันเป็ นเวลานานอาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกาย โครงงานนี้มีวตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาเวลาการใช้
ั
โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เพื่อศึกษาผลเสียของการใช้โทรศัพท์มากกว่าความจาเป็ น และเพื่อศึกษา
สาเหตุที่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้น กลุ่มประชากรตัวอย่างที่สารวจ คือ นักเรี ยนชั้น
ั
่
มัธยมศึกษาปี ที่5 ปี การศึกษา 2557 จานวน 100คน โดยเครื่ องมือวิจยที่ใช้คือ แบบสารวจจานวน 100ชุด วิธี
ั
วิเคราะห์ขอมูลที่ใช้ คือ การหาค่าร้อยละ
้
โครงงานเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นม.5 พบว่า ส่วนมากนักเรี ยนชั้นม.5ใช้
ั
โทรศัพท์มากกว่าความจาเป็ นอย่างมาก ทั้งในเรื่ องเวลาและการใช้งานต่างๆ เวลา ใช้มากกว่า 4ชัวโมงต่อวัน การใช้
่
งานต่างๆ ใช้โทรศัพท์ ในเรื่ องอื่นมากกว่าการโทรศัพท์ถึงผูอื่น โทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ ยีหอApple สาเหตุที่ทา
้
่ ้
ให้การใช้โทรศัพท์มากขึ้น คือ มีรูปแบบ ฟังก์ชนการใช้งานที่ทนสมัยครบครัน มีแอพลิเคชันหลากหลาย และพบว่า
ั
ั
่
ผลเสียที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์เป็ นเวลายาวนาน คือ ปวดตามร่ างกายและมีสุขภาพที่แย่ลง
นักเรี ยนชั้นม.5ส่วนมากมีการใช้โทรศัพท์ที่เพิ่มมากขึ้นทุกวันเพราะเทคโนโลยีในปัจจุบนนั้นมีความ
ั
ทันสมัยขึ้น สมมติฐานที่คาดการณ์ไว้ก็ตรงกับข้อเท็จจริ ง แต่ในบางข้อก็มีการคลาดเคลื่อนเล็กน้อย
บทนา 1
บทนา
โครงงาน การสารวจการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม
ั
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบนในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม มีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลายในทุกระดับชั้น
ั
ั
นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ใช้เกินความจาเป็ นโดยโทรศัพท์มือถือนั้นอาจมีราคาสูงหรื อต่าตาม
ฐานะของแต่ละคนจึงเกิดผลกระทบต่อนักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ค่าใช้จ่ายราคาแพง
้
รวมถึงใช้จ่ายรายวันหรื อรายสัปดาห์ในการจ่ายค่าโทรศัพท์มือถือและการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานาน
อาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกาย ปัญหาในการใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานานหรื อซื้อโทรศัพท์มือถือราคาแพง
นั้นเป็ นผลกระทบทั้งตัวนักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนทาให้เกิดผลเสียทางด้านการเงินและสุขภาพจิต จาก
้
ข้อมูลที่น่าสนใจเหล่านี้ทาให้กลุ่มผูจดทาศึกษาเรื่ องนี้ เพื่อสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและผลกระทบ
้ั
ของการใช้โทรศัพท์มือถือ และสารวจการใช้งานของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ทุกห้อง

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อศึกษาเวลาการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5
2.เพื่อศึกษาผลเสียของการใช้โทรศัพท์ที่เกินความจาเป็ น
3.เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทาให้นกเรี ยน ม.5 เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้น
ั

สมมติฐานของโครงงาน
- คาดว่าการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ ใช้มากกว่า 5 ชัวโมงต่อวัน
่
่
- คาดว่านักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์ในเรื่ องอื่นมากกว่าเรื่ องโทรติดต่อ
่
- คาดว่านักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์เข้าอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ต่างๆ
่
ตัวแปร
ตัวแปรต้น : การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม จานวน100คน
ั
ตัวแปรตาม : รายละเอียดของการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน

ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน
ระยะเวลา 2 เดือน สถานที่ดาเนินงาน : โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก
ั
กลุ่มประชากรตัวอย่าง : นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ปี การศึกษา 2556 จานวน100คน จากทุกห้องโดย
่
การสุ่มห้องละ 10 คน ใช้แบบสารวจในการเก็บข้อมูล

นิยามศัพท์เฉพาะ
โทรศัพท์มือถือ (call phone) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทาง ใช้คลื่นวิทยุในการ
ติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มอถือผ่านสถานีฐาน โดยเครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผูให้บริ การจะเชื่อมต่อกับ
ื
้
เครื อข่ายโทรศัพท์บานและเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือของผูให้บริ การอื่น โทรศัพท์มือถือมีความสามารถเพิ่มขึ้นใน
้
้
ลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน
Wi-fi คือ เครื อข่ายไร้สาย มักใช้กบระบบเครื อข่าย ไม่ว่าจะเป็ นในองค์กรหรื อในระบบเครื อข่าย
ั
อินเตอร์เน็ต
สมาร์ ทโฟน (smartphone) เป็ นโทรศัพท์ที่มีความสามารถเพิ่มเติม และมีการทางานที่คล้ายคอมพิวเตอร์
พกพา โดยที่สามารถเชื่อมต่อความสามารถหลักของโทรศัพท์มือถือ เข้าร่ วมกับแอปพลิเคชันของโทรศัพท์ และ
สามารถให้ผใช้งานติดตั้งโปรแกรมเสริ มสาหรับเพิ่มความสามารถของโทรศัพท์ รู ปแบบขึ้นอยูกบโทรศัพท์และ
ู้
่ ั
ระบบปฏิบติการ
ั
วัสดุอุปกรณ์
วัสดุ
แบบสอบถามการใช้ โทรศัพท์มือถือของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 100 ชุด
้
อุปกรณ์
1.เครื่องคอมพิวเตอร์

1 เครื่อง

2.เครื่องปรินเตอร์
้

1 เครื่อง

3.ปากกา

1 ด้ าม

ขันตอนการดาเนินงาน
้
ขันตอนการสร้ างเครื่องมือ
้
ทาแบบสารวจ ประเภทแบบสอบถาม เริ่มจากการค้ นคว้ าข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ โทรศัพท์และเลือกหัวข้ อที่
ต้ องการสารวจ
ขันตอนการใช้ เครื่องมือ
้
สุมนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่
่
้

5 จานวน100คน ห้ องละ10คน ทาแบบสอบถาม สาเหตุที่เลือกกลุม
่

ประชากรนี ้ เพราะปั จจุบนเห็นได้ ชดว่านักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที5 มีอตราการใช้ โทรศัพท์ที่เพิ่มขึ ้นสูงมาก
ั
ั
้
่ ั
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
ั
ประเด็นหรือองค์ความรู้เพิมเติมที่ต้องการศึกษาเพิมหรือมีความเกียวข้ องกับโครงงาน
่
่
่
ประเด็น
1.จิตใจของวัยรุ่ นต่อโทรศัพท์
2.ค่านิยมของการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน
3.ผลเสียของการใช้โทรศัพท์ที่มากกว่าความจาเป็ น
องค์ความรู้เพิมเติมที่ต้องสืบค้นเพิม
่
่
1.สาเหตุที่ที่ทาให้เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้นของนักเรี ยน
2.โรคภัยที่สามารถเกิดจากการใช้โทรศัพท์
บทความหรืองานวิจยที่เกียวกับโครงงาน
ั ่
1.เปิ ดผลวิจย ชี้วยรุ่ นไทยมีมือถือ-ใช้มือถืออันดับหนึ่งของเอเชีย ทั้งทาสถิติพดคุยผ่านโทรศัพท์มือถืออันดับหนึ่ง
ั ั
ู
แถมวัยรุ่ นไทยมีเพื่อนในเครื อข่ายสังคมออนไลน์อนดับหนึ่ง สถิติการมีคอมพิวเตอร์ต้งโต๊ะของเด็กไทยยังสูงที่สุด
ั
ั
ในเอเชียอีกด้วย ร้อยละ 23 ของวัยรุ่ นไทยบอกอยูไม่ได้ถาไม่มีมือถือ
่
้
นางสาวรัตตยา กุลประดิษฐ์ ผูอานวยการฝ่ ายวิจย บริ ษท ซินโนเวต ประเทศไทย เปิ ดเผยว่า จากผลสารวจการวิจย
้
ั
ั
ั
พฤติกรรมการใช้มือถือของวัยรุ่ นเอเชียอายุต้งแต่ 8-24 ปี โดยใช้การสัมภาษณ์ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายอายุระหว่าง 8ั
14 ปี และสัมภาษณ์ผานออนไลน์ กลุ่มอายุ 15-24 ปี ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย 12,302 คน ใน 11 ประเทศ ในช่วง
่
ไตรมาสสองที่ผานมา โดยในไทยจะเน้นกลุ่มเป้ าหมายในกรุ งเทพฯ ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่าง 919 คนนั้น พบว่า
่
วัยรุ่ นไทยมีมือถือใช้สูงสุดในเอเชีย ถึงร้อยละ 72 สูงกว่าค่าเฉลี่ยในเอเชียที่มีมือถือร้อยละ 64 และเด็กอายุ 8-14 ปี
สูงถึงร้อยละ 30 ก็มีมือถือใช้ได้แล้ว
นอกจากผลสารวจในครั้งนี้ยงพบว่าวัยรุ่ นไทยไม่ห่างจากมือถือวิถีชีวิตตั้งแต่พระอาทิตย์ข้ ึนไปจนถึงพระอาทิตย์ตก
ั
จนติดอันดับ 1 ของการพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือ ใช้เวลาถึง 1 ชัวโมง 7 นาทีต่อวัน ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของภูมิภาค
่
อยูที่ 49 นาที พฤติกรรมการใช้เพื่อติดต่อกับครอบครัวพ่อแม่ถึงร้อยละ 70 ตามด้วยการติดต่อกับเพื่อน แสดงให้
่
เห็นว่าครอบครัวเป็ นสิ่งที่วยรุ่ นไทยให้ความสาคัญมากสุด นอกจากนี้ผลสารวจยังพบว่าวัยรุ่ นไทยยังเป็ น
ั
ผูใช้บริ การต่างๆ บนมือถือสูงที่สุดในเอเชีย โดยใช้มือถือส่วนใหญ่เพื่อความบันเทิง ร้อยละ 67 ใช้เพื่อการฟังเพลง
้
สูงกว่าค่าเฉลี่ยภูมิภาคอยูที่ร้อยละ 51 ตามด้วยใช้มือถือถ่ายรู ปร้อยละ 65 สูงกว่าค่าเฉลี่ยภูมิภาคที่ร้อยละ 47 และ
่
ร้อยละ 32 ใช้มือถือในการบันทึกวิดีโอ สูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละ 21 ในภูมิภาค
วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556 เขียนโดย peeraphon narongredrit ที่ 06:24
2. งานวิจย เรื่ อง พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ
ั
ความเป็ นมาและความสาคัญ
ปัจจุบนในโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมมีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลาย โดยโทรศัพท์มือถือที่นกเรี ยน
ั
ั
นั้นอาจจะมีราคาสูงและต่าตามฐานะของแต่ละคนจึงอาจมีเกิดผลกระทบต่อผูปกครองของนักเรี ยนที่ใช้
้
โทรศัพท์มือถือราคาแพงรวมถึงใช้จ่ายรายวันหรื อรายสัปดาห์ในการจ่ายค่าโทรศัพท์มือถือและการใช้
โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานานอาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกายด้วย
ปัญหาในการใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานานหรื อซื้อโทรศัพท์มือถือราคาแพง อาจจะเป็ นผลกระทบทั้งตัว
นักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนเองทาให้เกิดผลเสียทางด้านการเงินและสุขภาพจิต ดังนั้นทางผูจดทาจึงได้จดทา
้
้ั
ั
งานวิจยชุดนี้ข้ ึนเพื่อสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อสารวจ
ั
การใช้งานของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 แผนการเรี ยน วิทย์-คณิ ต
3.ค่านิยมของการใช้โทรศัพท์ของวัยรุ่ น
ค่านิยมการใช้โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือเรามีไว้ใช้โทร. ใช้ในความจาเป็ น แต่สมัยนี้โทรศัพท์มือถือ เป็ นส่วน
หนึ่งของดารงชีวิต ของวัยรุ่ นไปแล้ว วันไหนไม่ได้โทรศัพท์ เหมือนขาดอะไรบางอย่าง และวัยรุ่ นบางกลุ่ม ใช่
โทรศัพท์มือถือ เป็ นการโอ้อวดฐานะเช่น ไอโฟน แบล็คเบอร์รี่ โนเกียเอกซ์เพรส เมื่อกระแสพวกนี้หมดลง ก็จะมี
การ ซื้อสิ่งใหม่ๆที่เข้ามา ซึ่งนอกจากจะเรี ยกว่า หมกมุ่นแล้ว ยังเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็ นอีกด้วย
4.งานวิจยพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
ั
ที่มาและความสาคัญ
ในสังคมไทยสมัยโบราณมีวฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ปฏิบติสืบต่อกันมาจนกลายเป็ นวิถีชีวิตที่ทุกคน
ั
ั
ในสังคมต้องปฏิบติการดารงชีวิตเป็ นไปอย่างเรี ยบง่ายไม่ยดติดกับเทคโนโลยีหรื อสิ่งอานวยความสะดวก
ั
ึ
สังคมไทยในปัจจุบนได้เปลี่ยนแปลงจากสมัยโบราณอย่างมาก อันเนื่องมาจากมีการพัฒนาวิทยาการด้านต่างๆรวม
ั
ไปถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารหรื อโทรศัพท์มือถือที่ขณะนี้ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญกับการ
ดารงชีวิตในสังคม ทั้งช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว รู ปลักษณ์ที่สวยงาม และฟังก์ชนที่ให้
ั
ความบันเทิงอีกมากมาย จึงทาให้กลายเป็ นที่น่าสนใจของคนในสังคมหลายกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่ น ซึ่งเป็ นกลุ่ม
ที่ตกอยูในวัตถุนิยม ตามแฟชันและรักความสะดวกสบายแต่อย่างไรก็ตามโทรศัพท์มือถือก็มีท้งประโยชน์และโทษ
่
ั
่
แม้ว่าโทรศัพท์มือถือจะช่วยให้สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร แต่หากใช้ไปในทางที่ผด หรื อใช้ผดที่ผดเวลา ผิด
ิ
ิ ิ
วัตถุประสงค์ ก็จะก่อให้เกิดผลเสียต่างๆ
5.โทรศัพท์มือถือกับสุขภาพ
ผลกระทบต่อสุขภาพ Basis of Health Concerns
โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาจะมีผลต่อสุขภาพสูงขึ้นถ้ามีเสาอากาศติดตั้งอยูดวย ในขณะที่ใช้งานเสาอากาศจะอยู่
่ ้
ใกล้ชิดกับศีรษะของผูใช้ ทาให้มีความกังวลเกี่ยวกับระดับการได้รับรังสีไมโครเวฟของสมอง
้
โทรศัพท์ที่เสาอากาศถูกห่อหุมไว้จะมีผลน้อยกว่า เนื่องจากระดับของการได้รับรังสีจะลดลงอย่างรวดเร็ วเมื่อ
้
ระยะห่างจากเสาอากาศเพิ่มขึ้น โทรศัพท์ไร้สายที่ใช้งานโดยอยูห่างจากเครื่ องรับได้ในระยะไม่เกิน 20 เมตร การใช้
่
งานจะไม่มีผลต่อสุขภาพเนื่องจากระดับรังสีต่ามาก มีรายงานจานวนมากปรากฏในสื่อต่างๆ ว่ามีอาการผิดปกติที่
เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น ปวดศีรษะ มีจุดร้อน (hot spots) ในสมองและมะเร็ งสมอง
มีรายงานในสื่อเหล่านั้นว่า ประมาณ 70% ของไมโครเวฟที่แผ่ออกมาจากโทรศัพท์มือถือจะถูกดูดกลืนไปที่ศีรษะ
ของผูใช้ เรื่ องนี้ไม่มีการยืนยันอย่างแน่ชด แต่ก็เสี่ยงที่จะทาให้เกิดจุดร้อน (hot spots) ขึ้นในสมองของผูใช้ ทาให้
้
ั
้
การใช้โทรศัพท์มือถืออาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ มีรายงานบางแห่งที่ช้ ีให้เห็นว่าผูใช้หลายรายมีอาการปวดศีรษะ
้
หลังจากใช้โทรศัพท์มือถือ ขณะนี้จึงเป็ นการยากที่จะประเมินความแน่นอนของรายงานเหล่านี้ เนื่องจากยังไม่มี
รายงานออกมาอย่างเป็ นทางการมีรายงานถึงการเกิดมะเร็ งสมองในอเมริ กาว่า มีผป่วยจานวนมากที่ฟ้องร้องผูผลิต
ู้
้
หรื อจาหน่ายโทรศัพท์มือถือ ว่าไมโครเวฟจากโทรศพท์มือถือทาให้พวกเขาเกิดมะเร็ งสมอง แต่เมื่อมีการตรวจสอบ
แล้วพบว่าบางรายเกิดความเข้าใจผิด
ที่มา นสพ.มติชน วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 14:44 น
6.โทรศัพท์มือถือ” ภัยใกล้ตวที่ไม่ควรมองข้าม
ั
นอกเหนือไปจากอวัยวะครบ 32 ประการในร่ างกายคนเราแล้ว ปัจจุบนดูเหมือนว่า “โทรศัพท์มือถือ” กาลังจะ
ั
กลายเป็ นส่วนหนึ่งของคนยุคโลกาภิวฒน์ที่จะขาดเสียมิได้ เพียงแต่ว่าอวัยวะส่วนนี้โดยมาก จะเริ่ มงอกเงยขึ้นมา
ั
ในช่วงที่เป็ น “วัยรุ่ น” ซึ่งข้อดีของโทรศัพท์มือถือก็มีอยูไม่นอย โทษของโทรศัพท์มือถือได้ก่อให้เกิดโรคใหม่ๆ
่ ้
หลายประการ ดังนี้
1.โรคเห่อตามแฟชัน นิยมเปลี่ยนมือถือไปตามแฟชันเพื่อให้อินเทรน ดูทนสมัย ไม่ตกรุ่ น
ั
่
่
2.โรคทรัพย์จาง ดิ้นรนหาเงินเพิ่มหรื อไปกูหนี้ยมสินมาซื้อมือถือ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นจากค่าโทรศัพท์และ
้ ื
ค่าบริ การ
3.โรคขาดความอดทนและใจร้อน เพราะความสะดวกสบายในการใช้โทรศัพท์มือถือ ที่ว่าตรงไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้
กดปุ๊ บติดปั๊บนี่เอง ทาให้หลายๆ คนกลายเป็ นคนที่ทนรอใครนานไม่ได้ หรื อไม่ยอมทนแม้แต่เรื่ องเล็กๆ น้อยๆ
4.โรคขาดกาลเทศะและมารยาท เช่น การใช้โทรศัพท์เวลาประชุม อาจเป็ นการรบกวนผูอื่นในเวลานอน เวลา
้
รับประทานอาหาร เวลาพักผ่อน หรื อเป็ นวันหยุด กาลังใช้เวลาอยูกบครอบครัว เป็ นต้น
่ ั
5.โรคขาดมนุษยสัมพันธ์ หากวันไหนไม่ได้โทรศัพท์ไปหาเพื่อน ก็อาจจะเกิดอาการเฉาหรื อเหงาหงอย โดยไม่คิด
จะมีมนุษยสัมพันธ์กบเพื่อนคนอื่นหรื อคนที่อยูรอบข้าง กลายเป็ นคนแยกตัวออกจากสังคม โทรศัพท์มือถือยังมี
ั
่
ผลข้างเคียงทาให้เสียสุขภาพในด้านอื่นๆ อีก เช่น ทาให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น เพราะมัวแต่คุยทั้งวันทั้งคืน
เลยนอนดึกนอนไม่พอ ทาให้หูตึงหรื อมีโรคเกี่ยวกับหู เกิดอาการปวดหัว ไมเกรนหรื อมีปัญหาทางเส้นประสาท
เพราะคลื่นจากมือถือที่มีกาลังส่งแรงสูง นอกจากนี้ มือถือยังก่อให้เกิดอาชญากรรม ถูกคนร้ายติดตามมาทาร้าย
ร่ างกายหรื อแย่งชิงทรัพย์ได้ง่ายอีกด้วย
29 ก.ค. 56 18.59 น Thaimobilecenter
7.โทรศัพท์มือถือกับการเปลี่ยนแปลงชีวิตวัยรุ่ น
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบนนี้ นอกจากจะมีคุณสมบัติในการสื่อสารทางเสียงแล้วยังมีความสามารถอื่น
ั
อีก เช่น สนับสนุนการสื่อสารด้วยข้อความ เช่น SMS ,การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต, การสื่อสารด้วยแบบ
Multimedia เช่น MMS, นาฬิกา, นาฬิกาปลุก, นาฬิกาจับเวลา, ปฏิทิน, ตารางนัดหมาย รวมไปถึงความสามารถใน
การรองรับแอปพลิเคชันของจาวาเช่น เกมส์ต่างๆได้ และเจ้ามือถือนี่เองก็กลับเป็ นที่สิ่งเปลี่ยนแปลงไลน์สไตล์
ของชีวิตคนได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าในปัจจุบนมือถือได้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิงในวัยรุ่ น ใน
ั
่
สายตาของวัยรุ่ น โทรศัพท์มือถือมิได้มีฐานะเป็ นเพียงเครื่ องมือสื่อสารที่ใช้ในการสนทนาระหว่างกันและกัน
เท่านั้น แต่โทรศัพท์มือถือกับกลายเป็ นสิ่งจาเป็ นและเป็ นปัจจัยที5 ในชีวิตของพวกเขาไปเรี ยบร้อยแล้ว มือถือยัง
่
เป็ นสิ่งที่บ่งบอกถึงลักษณะของตนเอง โดยผ่านการเลือกภาพพักหน้าจอที่แปลกใหม่ การใช้เสียงเรี ยกเข้า
(Ringtone) ที่ทนสมัย และไม่ซ้ าใคร การเลือกเสียงรอสาย (Calling Melody) ที่ตรงกับความชอบ และการเลือกใช้
ั
กรอบมือถือที่แสดงบุคลิก และความเป็ นตัวตนของพวกเขา นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือในสายตาวัยรุ่ นยังเป็ น
เครื่ องมือแสดงสถานะทางสังคม ที่สร้างความภูมิใจ และความโก้เก๋ ให้แก่วยรุ่ น การเปลี่ยนโทรศัพท์บ่อยๆ ด้วย
ั
เหตุผลที่ว่าไม่อยากใช้โทรศัพท์ที่ตกรุ่ น เพราะกลัวจะไม่ทดเทียมกับเพื่อนนั้น ฟังดูจะคุนชินจนกลายเป็ นเรื่ อง
ั
้
ธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา) ที่วยรุ่ นต้องพยายามเกาะกระแสให้ทน
ั
ั
มิถุนายน 13, 2008, 07:55:56 AM »Bangkokbiznews.com
8.ปัญหาวัยรุ่ นในยุค เทคโนโลยี
ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นพร้อมกับความเจริ ญ ด้านเทคโนโลยี หรื อ ยุคดิจิตอล ที่พบเห็นกันบ่อยๆในสังคมคือ
ปัญหาวัยรุ่ น ซึ่งส่วนใหญ่ ยังไม่ตระหนัก ขาดการยับยังการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง ถึงแม้เทคโนโลยีจะมี
้
ประโยชน์มาก แต่ก็ก่อให้เกิดปัญหาตามมาเช่นกัน ความเจริ ญด้าน เทคโนโลยีมีบทบาทกับวัยรุ่ นมากกว่าพ่อแม่
เมื่อเปรี ยบเทียบกับสมัยก่อน ที่ส่วนใหญ่ พ่อแม่ จะมีความใกล้ชิดสนิทสนมกับลูก ถึงแม้ว่าเทคโนโนลีจะไม่เจริ ญ
เท่าใดนัก ยกตัวอย่างง่ายๆ เมื่อก่อนไปเรี ยนที่กรุ งเทพ ก็จะเขียนจดหมายหาพ่อแม่ เพราะไม่มีโทรศัพท์มือถือ พ่อ
แม่ก็เขียนจดหมายตอบกลับมา กว่าจะถึงก็ใช้เวลาหลายวัน เพราะไม่มีโทรศัพท์มือถือ แต่ในปัจจุบนแค่โทรศัพท์
ั
หากันก็รู้เรื่ องแล้ว ในยุคโลกาภิวฒน์น้ ี พ่อแม่มกไม่มีเวลาให้ลกเพราะต้องทางานหาเงิน ถ้าเป็ นพ่อแม่ที่อยูตาม
ั
ั
ู
่
ต่างจังหวัดแล้ว ก็ตองปล่อยให้ลกอยูกบปู่ ย่าตายาย ซึ่งปู่ ย่าตายาย ส่วนใหญ่ก็ไม่ค่อยเข้าถึงเทคโนโลยี มาก
้
ู ่ ั
นัก วัยรุ่ นส่วนใหญ่จึงได้รับอิทธิพลจาก สื่อ จากโททัศน์ หมกมุ่นอยูกบโทรศัพท์มือถือ รุ่ นใหม่ๆ ที่พ่อแม่ ซื้อให้
่ ั
เพราะต้องตามใจลูก ตามยุคสมัยที่ลกเรี ยกร้อง
ู
วัยรุ่ นเป็ นวัยเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ในด้านร่ างกาย จิตใจ และอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทาง
เพศ และที่สาคัญการรับรู้รู้ข่าวสารข้อมูล ย่อมมีความเร็ วและง่ายกว่าวัยอื่น เพราะเป็ นวัยที่อยากรู้อยากเห็น และ
ชอบเลียนแบบ ถ้าขาดการชี้แนะที่ถกต้องในด้านใดด้านหนึ่งแล้วย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมาได้ โดยเฉพาะในยุค
ู
เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในสังคมนี้ รู้สึกว่าวัยรุ่ นจะเป็ นเป้ าหมายหลักของ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เช่น สื่อโฆษณา
ที่ทนสมัยที่เน้นบริ โภคนิยม ในยุคทุนนิยม อุปกรณ์การสื่อสารที่ทนสมัย มีระบบการใช้งานที่สลับซับซ้อนและ
ั
ั
เป็ นที่นิยมในหมู่วยรุ่ นในสถานศึกษา ระบบการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ วในคอมพิวเตอร์ที่ขาดการควบคมและ
ั
สอดส่องดูแลจากพ่อแม่ หรื อครู หรื อ พ่อแม่ และครู ตามเทคโนโลยีไม่ทนเท่ากับลูกจึงไม่รู้ว่าตอนนี้วยรุ่ นกาลัง
ั
ั
ทาอะไรอยู่ คุยกับใครอยูเ่ ป็ นเวลานานๆ หรื อ นังเฝ้ าหน้าจอคอมพิวเตอร์ทุกๆวันโดยไม่คุยกับใคร
่
9.ธรรมชาติจิตใจของวัยรุ่ น ………… แตกต่างจากวัยเด็ก
วัยรุ่ นเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงมากทั้งร่ างกายและจิตใจ วัยรุ่ นจึงต้องมีการปรับตัวมาก ซึ่งอาจทาให้วยรุ่ นมี
ั
ปฏิกิริยาต่อการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายและอารมณ์ต่าง ๆ บางครั้ง ปฏิกิริยาเหล่านี้เมื่อมองเผิน ๆ อาจเหมือนความ
ผิดปกติที่ตองการความช่วยเหลือได้ แต่โดยทัวไปแล้ว ปฏิกิริยาบางอย่างจะอยูชวคราวแล้วหายไปเองได้ การ
้
่ ั่
่
เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่ นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรื อผูใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่า
้
บุตรหลานของตนเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปเป็ นคนที่ด้ือรั้นไม่เชื่อฟัง หรื อเกิดความวิตกกังวลว่าอาจมีปัญหาร้ายแรง
ตามมาจากการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ถ้าพ่อแม่ไม่เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงนี้ก็อาจพยายามขัดขวางไม่ผอนปรน หรื อ
่
กลับเพิ่มการควบคุมมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างพ่อแม่และวัยรุ่ นได้ และอาจทาให้วยรุ่ นยิงมี
ั ่
ปฏิกิริยาตอบโต้ที่รุนแรงขึ้น การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มีดงนี้
ั
ความสนใจในตัวเอง วัยรุ่ นจะสนใจตัวเองมาก รักสวยรักงาม การแต่งกายก็ตองพิถีพิถนหรื อให้เป็ นที่ยอมรับของ
้
ั
เพื่อนฝูง หรื อสะดุดตา โดยเฉพาะให้เพศตรงข้ามสนใจ จะสนใจแฟชันมาก ใช้เวลาแต่งตัวค่อนข้างนาน
่
ความยอมรับนับถือผูใหญ่ วัยรุ่ นจะให้ความสาคัญต่อผูใหญ่นอยลง มักมีความคิดว่าผูใหญ่มีความคิดที่ลาหลังไม่
้
้
้
้
้
ทันสมัย และอื่นๆ และเห็นว่าความคิดของตนถูกต้องกว่า ถ้าผูใหญ่ไม่เข้าใจถึงธรรมชาติน้ ีของวัยรุ่ นก็อาจโกรธ
้
ความอยากเป็ นตัวของตัวเอง และอยากมีอิสระ วัยรุ่ นเป็ นวัยที่ตองการเป็ นตัวของตัวเองมาก และมีความต้องการ
้
รับผิดชอบตัวเองขอบเขต
ชอบเพ้อฝัน วัยรุ่ นมักมีความเพ้อฝันค่อนข้างมาก เด็กหญิงมักเขียนบันทึกประจาวัน เด็กชายมักพูดโทรศัพท์บ่อย ๆ
นาน ๆ ซึ่งพ่อแม่มกไม่พอใจที่ใช้เวลาไปกับโทรศัพท์นาน ๆ บางครั้งถึงกับทะเลาะกับวัยรุ่ นเรื่ องการใช้โทรศัพท์
ั
บ่อย ๆ หรื อพยายามจะควบคุมการใช้โทรศัพท์ของวัยรุ่ น
10. "บ้าแชต" เหมือน "ติดยา
จิตแพทย์ช้ ี ติด "แชตมือถือ" หนักๆ ก็เหมือนคนติดยาเสพติด ส่งผลกระทบจิตใจ เสียสุขภาพ สมาธิส้ น เตือนพ่อแม่
ั
ระวังเด็กใช้มากเกิน
นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผอ.สานักสุขภาพจิตสังคม กล่าวว่า การใช้เทคโนโลยีของคนในสังคมปัจจุบนนี้แบ่ง
ั
ออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ ใช้ในระดับปกติ และใช้เกินปกติ แต่ผลทางด้านจิตใจทางการแพทย์ถือว่า อาการติด
โทรศัพท์มือถือที่กาลังฮิตในหมู่ดาราไฮโซ เซเลบริ ต้ ี และกาลังเริ่ มฮิตในกลุ่มวัยรุ่ นขณะนี้ เป็ นอาการเดียวกับการ
ติดอินเทอร์เน็ตหรื อติดสารเสพติด เรี ยกว่า โรค "Addiction" หรื อ "การติดเป็ นนิสย" คือใช้เทคโนโลยีจนเกินไป
ั
หมกมุ่นมากไป ถ้าไม่ได้ใช้แล้วห่วงหา ซึ่งมีส่งผลกระทบต่อร่ างกายและจิตใจในเชิงลบ เหมือนการเสพติดอย่าง
หนึ่ง
นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า การใช้บีบีเป็ นวิธีการสื่อสารแบบการส่งข้อความ SMS ซึ่งสะดวกกว่าการใช้
คอมพิวเตอร์พดคุยหรื อที่เรี ยกว่าแช้ต (Chat ) ผ่านระบบเอ็มเอสเอ็น (MSN) ซึ่งต้องทาเฉพาะกับเครื่ องคอมพิวเตอร์
ู
แต่การใช้โทรศัพท์มือถือจะสามารถทาได้ทุกสถานที่ทุกเวลา
นางสาวจุไรวรรณ ไชยพงศ์และคณะ /รองศาสตราจารย์สมพล ทุ่งหว้า
11.ผลกระทบทางสุขภาพที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ปัจจุบนโทรศัพท์มือถือเป็ นอุปกรณ์สื่อสารที่สาคัญในชีวิตประจาวันของประชากรมากกว่า ๑.๔ พันล้านคนทัว
ั
่
โลก สาหรับในประเทศไทยมีผใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า ๒๐ ล้านคน และมีแนวโน้มที่จะมีจานวนของผูใช้มาก
ู้
้
ขึ้นทุกปี โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสารด้วยวาจาพร้อมทั้งการส่งข้อมูลเป็ นไปได้อย่างสะดวก
และรวดเร็ ว ช่วยให้ความเป็ นอยูของคนไทยและเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีข้ ึน แต่อย่างไรก็ตามการ
่
ใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละนาน ๆ เป็ นเวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และ
นักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือนว่าผูที่ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานาน
้
อาจจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็ งสมอง หูอกเสบ มะเร็ งของเม็ดเลือดขาว
ั
และความจาเสื่อม เป็ นต้น จากคาเตือนดังกล่าวทาให้มีการวิจยถึงผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก
ั
โทรศัพท์มือถือมากขึ้น ในปัจจุบนข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการวิจยชี้ว่ายังมีขอขัดแย้งกันเกี่ยวกับผลกระทบของ
ั
ั
้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือกับการทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ในมนุษย์ แต่จากการศึกษาของนักวิชาการ ผูรู้
้
ผูเ้ กี่ยวข้อง จากในและต่างประเทศ สรุ ปได้ดงนี้
ั
๑. การใช้โทรศัพท์มือถือแนบไว้ที่หูนาน ๆ เป็ นเวลาหลายปี น่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของผูใช้โดยตรงทั้งใน
้
ระยะสั้นและระยะยาว โดยมีรายงานการวิจยในหลอดทดลองพบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic Wave)
ั
ที่เกิดจากการรับ - ส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือซึ่งมีความถี่อยูในช่วงคลื่นไมโครเวฟนั้น สามารถทาให้เกิดความร้อน
่
และทาร้ายเซลล์ภายในเนื้อเยือบริ เวณหู ตา และสมอง ทาให้เกิดผลกระทบกับผูใช้ คือ
่
้
ผลในระยะสั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือจะทาให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น ปวดหู ปวดศีรษะ ตาพร่ า
มัว มึนงง ขาดสมาธิ และเครี ยดเนื่องจากระบบพลังงานในร่ างกายถูกรบกวน นอนไม่หลับเนื่องจากมีการหลัง
่
ฮอร์โมนเมลาโตนิน (melatonin) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการนอนหลับในร่ างกายลดลง และคลื่นสมองมีการ
เปลี่ยนแปลงไป
ผลในระยะยาว คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถืออาจทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม เนื่องจากเนื้อเยือสมองถูก
่
ทาลาย โรคมะเร็ งสมองเนื่องจากเนื้อเยือสมองมีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมไปจากปกติ โรคมะเร็ งของเม็ด
่
เลือดขาว เช่น leukemia และ lymphoma เป็ นต้น
สร้าง: 13 ธันวาคม 2553 14:56 · แก้ไข: 13 ธันวาคม 2553 14:5 นาย ชาญ หนุ่ย สังฆมานนท์
12.พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ที่มีต่อวัยรุ่ น
พฤติกรรมด้านบวก
มือถือกลายเป็ นอีกปัจจัยหนึ่งของวัยรุ่ น เพราะมือถือก็มีขอดีอยูไม่นอย เป็ นทั้งเครื่ องมือสื่อสารที่ยนทั้งระยะทาง
้
่ ้
่
และระยะเวลาระหว่างกัน เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านมือถือนั้นสร้างความสะดวกสบายให้กบวัยรุ่ นได้อย่างมาก
ั
บางครั้งที่มีอุบติเหตุ หรื อต้องการความช่วยเหลือด่วนมือถือก็จะมีประโยชน์มากในช่วงเวลานั้น หรื อบางทีมือถือยัง
ั
ทาหน้าที่สร้าง และกระชับความสัมพันธ์ของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็ นญาติพี่นอง หรื อกลุ่มเพื่อน ถึงแม้จะอยู่
้
ห่างไกลกันมากแต่ก็เชื่อมความสัมพันธ์กนได้ดวยมือถือ ยิงปัจจุบนนี้มือถือมีเทคโนโลยีกาวหน้ากว่าเดิมมาก ซึ่ง
ั
้
ั
้
่
นอกจากจะดูหนังฟังเพลงแล้วยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ต และยังสามารถเล่นได้เกือบทุกที่ทุกเวลา ยิงทาให้การ
่
ติดต่อสื่อสารง่ายขึ้นไปอีก อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้นต้องคานึงถึงความจาเป็ น
ใช้แต่พอเพียงเท่านั้นเพื่อไม่ให้ตกเป็ นทาสของมือถือ พฤติกรรมด้านลบจากสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม
แห่งชาติ(สวช.) กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) พบว่า ปัจจุบนโทรศัพท์มือถือ กาลังจะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของคนยุค
ั
โลกาภิวตน์ที่จะขาดไม่ได้ จนกลายเป็ นอวัยวะส่วนที่ 33 โดยเฉพาะในเด็กวัยรุ่ นซึ่งเป็ นกลุ่มเสี่ยง ให้ ข้อเสียหาก
ั
ผูใช้ นาไปใช้ในทางที่ผดหรื อใช้ไม่เป็ นทาให้เกิดโรคใหม่ๆ ตามมาหลาย
้
ิ
7 มิถุนายน 2554 06:55 นสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน
13.เด็กไทยติดโทรศัพท์มือถือ ใช้ต้งแต่ตื่นจนเข้านอน
ั
โทรศัพท์มือถือกลายมาเป็ นสิ่งของติดตัวที่หลาย ๆ คนขาดไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิงสมาร์ทโฟน พ่อแม่หลาย ๆ คน
่
ซื้อโทรศัพท์มือถือให้ลก ๆ มีพกติดตัวเอาไว้เพื่อให้ง่ายต่อการติดต่อ ใช้ในกรณี ฉุกเฉิน หรื อเสริ มทักษะการเรี ยนรู้
ู
และฝึ กความรับผิดชอบ
แต่เมื่อลูกใช้ หรื อเล่นโทรศัพท์มากขึ้นเรื่ อย ๆ และมีแนวโน้มว่าเด็กยุคใหม่ใช้ชีวิตกับโทรศัพท์มือถือตั้งแต่ตื่นจน
เข้านอน ลูกคุณกาลังใช้เวลากับโทรศัพท์มากเกินไปหรื อเปล่า? รายงานข่าวล่าสุดอาจทาให้คุณตกใจ
จากรายงานข่าวที่ออกมาเร็ ว ๆ นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทาการสารวจเด็ก ๆ ใน
กรุ งเทพมหานคร และต่างจังหวัดจานวน 3,058 คนเมื่อเดือนมกราคมที่ผานมา และพบว่าชีวิตของเด็ก และวัยรุ่ นยุค
่
ใหม่ผกพันกับโทรศัพท์มือถือมากยิงขึ้น ร้อยละ 51.1 ของเด็กในการสารวจหยิบโทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่งแรกหลังตื่น
ู
่
นอน และ ร้อยละ 35 ของเด็ก ๆ ใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นกิจกรรมสุดท้ายก่อนเข้านอนร้อยละ 75.7 ของเด็ก ๆ ใช้โซ
เชี่ยลเน็ตเวิร์กบ่อย หรื อเป็ นประจา อันที่จริ งการใช้โทรศัพท์มือถือก็ไม่ใช่เรื่ องเสียหายอะไร ผูใหญ่ คุณพ่อ คุณแม่
้
เองก็ใช้กน แล้วปัญหามันอยูที่ไหนกันล่ะ?
ั
่
ประภาวรรณ ทองแท่ง วันที่: 13 พฤษภาคม 2556, 17:30
14. Sleep Texting โรคใหม่บนมือถือ
Sleep Texting โรคใหม่บนมือถือ หลายคนอาจจะสงสัยว่ามันคืออะไร ? โรคนี้ถากล่าวกันตามภาษาชาวบ้านๆ ก็คือ
้
อาการติดแชทที่แม้ขณะนั้นตัวเองกาลังหลับอยู่
จากการศึกษาในต่างประเทศพบว่า Sleep Texting เป็ นอาการชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการพิมพ์ขอความแชทในมือถือ
้
ของผูที่เข้าขั้น "ติด" อาการนี้จะเกิดขึ้นในขณะหลับ และเมื่อได้ยนเสียงข้อความส่งมา ร่ างกายและระบบประสาท
้
ิ
จะตอบสนองด้วยการหยิบมือถือมาแล้วพิมพ์ขอความตอบกลับไปในทันที ซึ่งสภาพของผูใช้ในขณะนั้นจะอยูใน
้
้
่
สภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น เป็ นเหตุให้เมื่อตื่นขึ้นมาตัวเองจะจาอะไรไม่ได้ว่าทาอะไรหรื อพิมพ์อะไรไปบ้าง และข้อความ
นั้นก็เป็ นข้อความที่ไม่สามารถจับใจความได้ เพราะไม่ได้มีกระบวนการคิดใดๆก่อนที่จะพิมพ์ขอความตอบกลับไป
้
ยังปลายทาง
แน่นอนว่าปัญหานี้นามาซึ่งสภาพร่ างกายที่อ่อนแอ ทั้งการพักผ่อนไม่เต็มที,่ การเกิดโรคอ้วน, ภาวะทางจิตใจที่
ซึมเศร้า และอาจส่งผลกระทบในการเรี ยนหรื อการทางานด้วย
แม้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบนที่มีท้งการโทร การแชท ที่แทบจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่แนวทางง่ายๆที่จะ
ั
ั
ป้ องกันโรคSleep Texting คือการปิ ดโทรศัพท์ในขณะนอนหลับ หรื อจะเป็ นการปิ ดเสียง หรื อปิ ดสัญญาณ WiFi
และ 3G เพื่อให้ร่างกายได้พกผ่อนอย่างเต็มที่
ั
2 มกราคม 2556 10:10 น
15.ผลวิจยชี้ “วัยเรี ยนใช้มือถือ ไม่รับผิดชอบสิ่งแวดล้อม”
ั
นักวิจยมศว ชี้วยรุ่ นไทยใช้โทรศัพท์มือถือจานวนมากแบบไม่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมวอนเจ้าของค่ายฯ
ั
ั
นอกจากทาโปรโมชันขายของแล้ว ควรรณรงค์วิธีรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย
่
นางพรรณี บุญประกอบ หนึ่งในคณะผูวิจยการสารวจพฤติกรรมการใช้และขจัดโทรศัพท์มือถือ – แบตเตอรรี่
้ ั
ของคนไทย สถาบันวิจยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ (มศว) เปิ ดเผยว่า
ั
ปัจจุบนนี้โทรศัพท์มือถือมีผคนในสังคมใช้กนอย่างแพร่ หลาย นับเป็ นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทุกคนต้องมี และโดย
ั
ู้
ั
เฉลี่ยแล้วคนไทยจานวนไม่นอยที่มีโทรศัพท์มือถือตั้งแต่ 1 เครื่ อง 2 เครื่ อง หรื อบางคนก็ใช้โทรศัพท์มือถือถึง 3
้
เครื่ อง ส่วนผูให้บริ การนั้นมีการทาโปรโมชันเพื่อสนับสนุนการขายหลายรู ปแบบ
้
่
การที่ทาโปรโมชันต่างๆ จึงส่งเสริ มเกิดการใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้น เมื่อบริ โภคมากใช้งานมากก็ยอมมีขยะ
่
่
ที่มาจากการใช้โทรศัพท์ ซึ่งก็คือแบตเตอรี่ มือถือที่เพิ่มพูนเป็ นจานวนมาก และเป็ นมลพิษทางสิ่งแวดล้อม
นอกจากนี้จากการวิจยยังพบอีกว่าพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของคนในสังคมยังเป็ นปัญหา ตั้งแต่การขับรถแล้วใช้
ั
โทรศัพท์ การโทรศัพท์ในที่ๆ มีการห้ามในโทรศัพท์ หรื อโทรศัพท์ขณะข้ามถนน ใช้โทรศัพท์ในขณะฝนตกใกล้
สายไฟแรงสูง
อธิปลักษณ์ โชติธนประสิทธิ์ วันที่: 26 มีนาคม 2556, 12:20 น
บทที่ 3
วิธีดาเนินการทดลอง
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่จะทาโครงงาน
2. วางแผนว่าจะทาขั้นตอนไหนก่อน
3. เขียนโครงร่ างของโครงงานในแต่ละหัวข้อ
4. จัดทะแบบสอบถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ พิมพ์แบบสอบถามเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน
ชั้นม.5
5. จัดการพิมพ์แบบสอบถามโดยใช้เครื่ องพิมพ์
6. เริ่ มทาการสารวจนักเรี ยนชั้นม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ
ั
7. โดยการทาการสารวจนักเรี ยนชั้นม.5 จะสารวจ 2ครั้ งต่อเดือน
8. ทาการสารวจในสัปดาห์ที่1และสัปดาห์ที่4ของเดือน เป็ นระยะเวลา 2เดือน
9. ทาการรวบรวมแบบสารวจ
10. ทาการสรุ ปผลการสารวจว่านักเรี ยนชั้นม.5ในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ ใช้โทรศัพท์
ั
มากน้อยเพียงใด
11. จัดทารู ปเล่มโครงงาน
12. เผยแพร่ โครงงานทางPowerpointและไฟล์pdf ลงในเว็บSlideshare
แผนการปฏิบติการ
ั
กิจกรรมที่ปฏิบติ
ั

ส.ค.

ก.ย.

เวลา/เดือน/สัปดาห์
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.

หมายเหตุ
ม.ค.

ก.พ.

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1.สารวจปัญหา
2.ประชุมวางแผน
งาน
3.สื บค้นรวบรวม
ข้อมูล
4.ลงมือแก้ปัญหา
5.ประเมินผล
6.ประชุมสรุ ปผล
7.นาเสนอผลงาน
บทที่ 4
ผลการทดลอง

2% 6%

1%

เวลาในการใช้ โทรศัพท์

ยื่ห้อโทรศัพท์ ท่ใช้
ี

14%

Apple

39%

35%

Samsung

15%

16%

Nokia

23%

ต่ากว่า1
ชัวโมง
่
1-2ชัวโมง
่

32%
17%

3-4ชัวโมง
่

LG

เครือข่ ายโทรศัพท์ ท่ใช้
ี
25%

43%

32%

การเติมเงินโทรศัพท์
40%

TRUE

60%

AIS

แบบราย
เดือน

DTAC

ค่ าใช้ จ่ายรายเดือน
15%
35%

18%
32%

10%

ต่ากว่า300
บาท
300-500
บาท
500-1,000
บาท

ส่ วนมากใช้ โทรศัพท์ ในเรื่องใด
คุยโทรศัพท์

10%
20%

50%
10%

เล่นfacebook,t
witter,line,ins
tragram
บทที่ 5
สรุ ปผล และอภิปราย
สรุปผลและอภิปรายเรื่องการใช้ โทรศัพท์ ของนักเรียนสตรีวดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที5
ั
่
สรุ ปผล : 1.ยีหอโทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ ยีหอ Apple
่ ้
่ ้
2.เครื อข่ายโทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ เครื อข่าย Dtac
3.ค่าใช้จ่ายรายเดือนของโทรศัพท์ที่มีมากที่สุด คือ ค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่า 300 บาท
4.การเติมเงินโทรศัพท์แบบที่มากที่สุด คือ แบบรายเดือน
5.เวลาในการใช้โทรศัพท์ที่ใช้เวลานานมากที่สุด คือ เฉลี่ยวันละมากกว่า 4 ชัวโมง
่
6.ส่วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องการเข้าใช้ facebook, instragram, line และ twitter
อภิปราย
1.ยี่หอโทรศัพท์ที่ใช้
้
การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ ยี่หอ Apple เป็ น ร้ อยละ 39
้
เปอร์ เซ็นต์ เพราะมีรูปลักษณ์ที่ทนสมัย หรู มีความเร็ วของระบบเครื่ องมาก ขนาดกะทัดรัด น้ าหนักเบา มีแอพลิเคชันที่ดี
ั
่
และหลากหลายมากที่สุด อันดับถัดมา คือ ยี่หอ Samsung , Nokia , Black berry ,ใช้ยี่หออื่นๆ , Sony และ LG โดยมีร้อยละ
้
้
23เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 15 เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 14 เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 6เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 2เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 1
เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ
2.เครื อของข่ายโทรศัพท์ที่ใช้
เครื อข่ายของโทรศัพท์ที่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5เลือกใช้มากที่สุด คือ เครื อข่าย DTAC เป็ นร้ อยละ 43
ั
่
เปอร์ เซ็นต์ เพราะเครื อข่ายมีโปรโมชันที่มีค่าใช้จ่ายไม่แพง เหมาะสมกับวัยเรี ยน เหมาะกับการใช้งานของผูที่ใช้งานน้อย
้
่
และสามารถปรับเปลี่ยนโปรโมชันได้เมื่อต้องการ อันดับถัดมา คือ เครื อข่ายAIS และเครื อข่าย TRUE โดยมีร้อยละ32
่
เปอร์ เซ็นต์ และ 25เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ
3.ค่าใช้จ่ายรายเดือนโทรศัพท์
ค่าใช้จ่ายรายเดือนโทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5ที่มากที่สุด คือ ค่าใช้จ่ายรายเดือนที่ต่ากว่า 300 บาท
่
เป็ นร้ อยละ 35 เปอร์ เซ็นต์ เพราะนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 5ส่ วนมากมีการใช้ค่าหรื อเติมเงินโทรศัพทที่ไม่แน่นอนและครั้ง
ละไม่มาก อันดับถัดมาคือ ค่าใช้จ่ายรายเดือน 300-500 บาท ,ค่าใช้จ่ายรายเดือน 500-1,000 บาท และค่าใช้จ่ายรายเดือน
มากกว่า 1,000 บาท โดยมี ร้ อยละ 32 เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 18 เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 15 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ
4.การเติมเงินโทรศัพท์
การเติมเงินโทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่มากที่สุด คือ ใช้แบบรายเดือน เป็ นร้ อยละ 40 เปอร์ เซ็นต์
เพราะการเติมเงินโทรศัพท์แบบรายเดือนมีความประหยัดและคุมค่าในการใช้จ่ายมากกว่า และยังสามารถปรับเปลี่ยน
้
รู ปแบบโปรโมชันให้เข้ากับการใช้งานในปั จจุบน หรื อ สามารถยกเลิกรู ปแบบการเติมเงินรายเดือนเมื่อต้องการ อันดับถัด
ั
่
มา คือ การเติมเงินโทรศัพท์ที่ไม่แน่นอน โดยมี ร้ อยละ 60 เปอร์ เซ็นต์
5.เวลาในการใช้โทรศัพท์
เวลาในการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่มากที่สุด คือ ใช้เวลามากกว่า 4 ชัวโมงเป็ น ร้ อยละ 35
่
เปอร์ เซ็นต์ เพราะปั จจุบนโทรศัพท์มีการใช้งานต่างๆ นอกเหนือจากการโทรติดต่อกับผูอื่น ทาให้เวลาในการใช้โทรศัพท์
ั
้
เพิ่มขึ้นเช่นกัน อันดับถัดมา คือ ใช้เวลาต่ากว่า 1 ชัวโมง , ใช้เวลา 1-2ชัวโมง และใช้เวลา 3-4 ชัวโมง โดยมีร้อยละ 32
่
่
่
เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 17 เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 16 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ
6.ส่ วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องใด
ส่ วนมากของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ใช้โทรศัพท์ในเรื่ อง การเข้าใช้ facebook, twitter,line และ instragram
่
เป็ นร้ อยละ 50 เปอร์ เซ็นต์ เพราะนักเรี ยนเข้าสู่ สังคมออนไลน์มากขึ้น ในด้านการแสดงความคิดเห็น และด้านการส่ งข้อมูล
ข่าวสาร อันดับถัดมา คือ ใช้คุยโทรศัพท์ และ ใช้ถ่ายรู ป ฟั งเพลง เล่นเกม ซึ่ งทั้ง3สิ่ ง มีค่าร้ อยละเท่ากัน คือ มีค่าร้ อยละ 20
เปอร์ เซ็นต์ และทั้ง 3 สิ่ งมีค่าร้ อยละ 10 เปอร์ เซ็นต์
ข้อเสนอแนะ : ได้รับข้อมูลครบถ้วน แต่ขอมูลมีการคาดเคลื่อนจากสมมติฐานในบางข้อ
้
ภาคผนวก
แบบสารวจการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นม.5โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ
ั
ม.5 ห้อง [ ] 1

[]2

[]3

[]4

[]5

[]6

[]7

[]8

[]9

[ ] 10

1. ยีหอโทรศัพท์ที่ใช้
่ ้
[ ] Apple
[ ] Sony

[ ] Samsung

[ ] Nokia

[ ] AIS

[ ] LG

[ ] Black Berry

[ ] DTAC

[ ] อื่นๆ

2. เครื อข่ายโทรศัพท์ที่ใช้
[ ] TRUE
3. ค่าใช้จ่าย
3.1 การเติมเงินโทรศัพท์
[ ] แบบรายเดือน (ทาข้อ 3.2)

[ ] ไม่แน่นอน (ข้ามไปข้อ4)

3.2 ค่าใช้จ่ายรายเดือนประมาณ
[ ] ต่ากว่า300บาท

[ ] 300-500บาท

[ ] 500-1000บาท

[ ] มากกว่า1000บาท

[ ] 1-2ชัวโมง
่

[ ] 3-4 ชัวโมง
่

[ ] มากกว่า4ชัวโมง
่

4. เวลาในการใช้โทรศัพท์
[ ] ต่ากว่า1 ชัวโมง
่

5. ส่ วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องใด (ตอบได้มากกว่า1ข้อ)
[ ] คุยโทรศัพท์

[ ] แชท

[ ] เช็คอีเมล์

[ ] เล่นเกม

[ ] ฟังเพลง

[ ] ถ่ายรู ป

[ ] สื บค้นข้อมูล

[ ] ซื้ อ-ขายของออนไลน์

[ ]เล่นเฟสบุ๊ค,ทวิตเตอร์ ,ไลน์,อินสตาแกรม

[ ] อื่นๆ

6. ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………
ขั้นตอนการดาเนินงาน

Contenu connexe

Tendances

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Sombom
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
tanakit pintong
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
kessara61977
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
jellyjel
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
kessara61977
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ariaty KiKi Sang
 

Tendances (20)

ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 

En vedette

ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ   ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
P_rerng
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
kessara61977
 
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟนโครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
Szo'k JaJar
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBook
sirikandaTom
 
พฤติกรรมเด็กติดเกม
พฤติกรรมเด็กติดเกมพฤติกรรมเด็กติดเกม
พฤติกรรมเด็กติดเกม
natchanit
 
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
Nutchaporn Kanchanakorn
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
Nutdanai Dt
 

En vedette (12)

สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ   ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
ผลของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
 
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟนโครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBook
 
พฤติกรรมเด็กติดเกม
พฤติกรรมเด็กติดเกมพฤติกรรมเด็กติดเกม
พฤติกรรมเด็กติดเกม
 
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
 
Lichen
LichenLichen
Lichen
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 

Similaire à การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Similaire à การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (11)

Is2
Is2Is2
Is2
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
 
2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
แท็บเล็ต
แท็บเล็ตแท็บเล็ต
แท็บเล็ต
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์s
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์sอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์s
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์s
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 

การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

  • 1. โครงงาน เรื่ อง การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ั โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม ฯ ั เสนอ อาจารย์ ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ จัดทาโดย น.ส. พุทธชาด โลหะมาศ ม. 5/7 น.ส. ณัฐมน ทิพย์ทอง ม. 5/7 น.ส. วิพิชญาณ์ ใจสอาด ม. 5/7 น.ส. พัณณิ ตา ทั้งธรณิ นทร์ ม. 5/7 เลขที่ 15 เลขที่ 18 เลขที่ 19 เลขที่ 27 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ั ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
  • 2. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นม.5 นี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี เนื่องจาก ั ้ กลุ่มผูจดทาโครงงานได้รับความอนุเคราะห์ของครู ประจาวิชา คือ คุณครู ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ ที่ให้ขอเสนอแนะ ้ั ้ เพิ่มเติมทาให้โครงงานนี้มีความถูกต้องสมบูรณ์ยงขึ้น และนักเรี ยนโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ิ่ ั ที่ 5ที่ให้ความร่ วมมือในการทาแบบสารวจข้อมูลที่กลุ่มได้จดทาขึ้น คณะผูจดทาโครงงานขอขอบคุณในการ ั ้ั สนับสนุนและการให้ความร่ วมมือของทุกฝ่ าย ขอขอบคุณ คุณครู ศรัญญาภรณ์ สวยวิเศษ ที่ตรวจสอบข้อมูล การทางาน วิธีการดาเนินงาน และเสนอแนะ วิธีการทาโครงงานนี้ให้ดียงขึ้น ิ่ ขอขอบคุณ คุณครู อรทัย สาโรวาท ที่แนะนาวิธีการเขียน ขั้นตอนและเค้าโครงงานต่างๆให้ดีมากขึ้น สุดท้ายขอขอบคุณบิดาและมารดา ผูเ้ ป็ นกาลังใจในการทางานต่างๆ ของผูจดทา ้ั ผูจดทา ้ั
  • 3. บทคัดย่อ โครงงานเรื่ อง : การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒา ั ั ราม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร ปัจจุบนในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม มีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลายในทุกระดับชั้น ั ั นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ใช้เกินความจาเป็ นโดยโทรศัพท์มือถือ การใช้โทรศัพท์มือถือ ติดต่อกันเป็ นเวลานานอาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกาย โครงงานนี้มีวตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาเวลาการใช้ ั โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เพื่อศึกษาผลเสียของการใช้โทรศัพท์มากกว่าความจาเป็ น และเพื่อศึกษา สาเหตุที่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้น กลุ่มประชากรตัวอย่างที่สารวจ คือ นักเรี ยนชั้น ั ่ มัธยมศึกษาปี ที่5 ปี การศึกษา 2557 จานวน 100คน โดยเครื่ องมือวิจยที่ใช้คือ แบบสารวจจานวน 100ชุด วิธี ั วิเคราะห์ขอมูลที่ใช้ คือ การหาค่าร้อยละ ้ โครงงานเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามชั้นม.5 พบว่า ส่วนมากนักเรี ยนชั้นม.5ใช้ ั โทรศัพท์มากกว่าความจาเป็ นอย่างมาก ทั้งในเรื่ องเวลาและการใช้งานต่างๆ เวลา ใช้มากกว่า 4ชัวโมงต่อวัน การใช้ ่ งานต่างๆ ใช้โทรศัพท์ ในเรื่ องอื่นมากกว่าการโทรศัพท์ถึงผูอื่น โทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ ยีหอApple สาเหตุที่ทา ้ ่ ้ ให้การใช้โทรศัพท์มากขึ้น คือ มีรูปแบบ ฟังก์ชนการใช้งานที่ทนสมัยครบครัน มีแอพลิเคชันหลากหลาย และพบว่า ั ั ่ ผลเสียที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์เป็ นเวลายาวนาน คือ ปวดตามร่ างกายและมีสุขภาพที่แย่ลง นักเรี ยนชั้นม.5ส่วนมากมีการใช้โทรศัพท์ที่เพิ่มมากขึ้นทุกวันเพราะเทคโนโลยีในปัจจุบนนั้นมีความ ั ทันสมัยขึ้น สมมติฐานที่คาดการณ์ไว้ก็ตรงกับข้อเท็จจริ ง แต่ในบางข้อก็มีการคลาดเคลื่อนเล็กน้อย
  • 4. บทนา 1 บทนา โครงงาน การสารวจการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม ั ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบนในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม มีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลายในทุกระดับชั้น ั ั นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่ใช้เกินความจาเป็ นโดยโทรศัพท์มือถือนั้นอาจมีราคาสูงหรื อต่าตาม ฐานะของแต่ละคนจึงเกิดผลกระทบต่อนักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ค่าใช้จ่ายราคาแพง ้ รวมถึงใช้จ่ายรายวันหรื อรายสัปดาห์ในการจ่ายค่าโทรศัพท์มือถือและการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานาน อาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกาย ปัญหาในการใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานานหรื อซื้อโทรศัพท์มือถือราคาแพง นั้นเป็ นผลกระทบทั้งตัวนักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนทาให้เกิดผลเสียทางด้านการเงินและสุขภาพจิต จาก ้ ข้อมูลที่น่าสนใจเหล่านี้ทาให้กลุ่มผูจดทาศึกษาเรื่ องนี้ เพื่อสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและผลกระทบ ้ั ของการใช้โทรศัพท์มือถือ และสารวจการใช้งานของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ทุกห้อง วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อศึกษาเวลาการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5 2.เพื่อศึกษาผลเสียของการใช้โทรศัพท์ที่เกินความจาเป็ น 3.เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทาให้นกเรี ยน ม.5 เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้น ั สมมติฐานของโครงงาน - คาดว่าการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ ใช้มากกว่า 5 ชัวโมงต่อวัน ่ ่ - คาดว่านักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์ในเรื่ องอื่นมากกว่าเรื่ องโทรติดต่อ ่ - คาดว่านักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที5 ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์เข้าอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ต่างๆ ่
  • 5. ตัวแปร ตัวแปรต้น : การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้น ม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม จานวน100คน ั ตัวแปรตาม : รายละเอียดของการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน ระยะเวลา 2 เดือน สถานที่ดาเนินงาน : โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก ั กลุ่มประชากรตัวอย่าง : นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ปี การศึกษา 2556 จานวน100คน จากทุกห้องโดย ่ การสุ่มห้องละ 10 คน ใช้แบบสารวจในการเก็บข้อมูล นิยามศัพท์เฉพาะ โทรศัพท์มือถือ (call phone) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทาง ใช้คลื่นวิทยุในการ ติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มอถือผ่านสถานีฐาน โดยเครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผูให้บริ การจะเชื่อมต่อกับ ื ้ เครื อข่ายโทรศัพท์บานและเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือของผูให้บริ การอื่น โทรศัพท์มือถือมีความสามารถเพิ่มขึ้นใน ้ ้ ลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน Wi-fi คือ เครื อข่ายไร้สาย มักใช้กบระบบเครื อข่าย ไม่ว่าจะเป็ นในองค์กรหรื อในระบบเครื อข่าย ั อินเตอร์เน็ต สมาร์ ทโฟน (smartphone) เป็ นโทรศัพท์ที่มีความสามารถเพิ่มเติม และมีการทางานที่คล้ายคอมพิวเตอร์ พกพา โดยที่สามารถเชื่อมต่อความสามารถหลักของโทรศัพท์มือถือ เข้าร่ วมกับแอปพลิเคชันของโทรศัพท์ และ สามารถให้ผใช้งานติดตั้งโปรแกรมเสริ มสาหรับเพิ่มความสามารถของโทรศัพท์ รู ปแบบขึ้นอยูกบโทรศัพท์และ ู้ ่ ั ระบบปฏิบติการ ั
  • 6. วัสดุอุปกรณ์ วัสดุ แบบสอบถามการใช้ โทรศัพท์มือถือของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 100 ชุด ้ อุปกรณ์ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง 2.เครื่องปรินเตอร์ ้ 1 เครื่อง 3.ปากกา 1 ด้ าม ขันตอนการดาเนินงาน ้ ขันตอนการสร้ างเครื่องมือ ้ ทาแบบสารวจ ประเภทแบบสอบถาม เริ่มจากการค้ นคว้ าข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ โทรศัพท์และเลือกหัวข้ อที่ ต้ องการสารวจ ขันตอนการใช้ เครื่องมือ ้ สุมนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ ่ ้ 5 จานวน100คน ห้ องละ10คน ทาแบบสอบถาม สาเหตุที่เลือกกลุม ่ ประชากรนี ้ เพราะปั จจุบนเห็นได้ ชดว่านักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที5 มีอตราการใช้ โทรศัพท์ที่เพิ่มขึ ้นสูงมาก ั ั ้ ่ ั
  • 7. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั ประเด็นหรือองค์ความรู้เพิมเติมที่ต้องการศึกษาเพิมหรือมีความเกียวข้ องกับโครงงาน ่ ่ ่ ประเด็น 1.จิตใจของวัยรุ่ นต่อโทรศัพท์ 2.ค่านิยมของการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน 3.ผลเสียของการใช้โทรศัพท์ที่มากกว่าความจาเป็ น องค์ความรู้เพิมเติมที่ต้องสืบค้นเพิม ่ ่ 1.สาเหตุที่ที่ทาให้เกิดการใช้โทรศัพท์มากขึ้นของนักเรี ยน 2.โรคภัยที่สามารถเกิดจากการใช้โทรศัพท์ บทความหรืองานวิจยที่เกียวกับโครงงาน ั ่ 1.เปิ ดผลวิจย ชี้วยรุ่ นไทยมีมือถือ-ใช้มือถืออันดับหนึ่งของเอเชีย ทั้งทาสถิติพดคุยผ่านโทรศัพท์มือถืออันดับหนึ่ง ั ั ู แถมวัยรุ่ นไทยมีเพื่อนในเครื อข่ายสังคมออนไลน์อนดับหนึ่ง สถิติการมีคอมพิวเตอร์ต้งโต๊ะของเด็กไทยยังสูงที่สุด ั ั ในเอเชียอีกด้วย ร้อยละ 23 ของวัยรุ่ นไทยบอกอยูไม่ได้ถาไม่มีมือถือ ่ ้ นางสาวรัตตยา กุลประดิษฐ์ ผูอานวยการฝ่ ายวิจย บริ ษท ซินโนเวต ประเทศไทย เปิ ดเผยว่า จากผลสารวจการวิจย ้ ั ั ั พฤติกรรมการใช้มือถือของวัยรุ่ นเอเชียอายุต้งแต่ 8-24 ปี โดยใช้การสัมภาษณ์ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายอายุระหว่าง 8ั 14 ปี และสัมภาษณ์ผานออนไลน์ กลุ่มอายุ 15-24 ปี ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย 12,302 คน ใน 11 ประเทศ ในช่วง ่ ไตรมาสสองที่ผานมา โดยในไทยจะเน้นกลุ่มเป้ าหมายในกรุ งเทพฯ ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่าง 919 คนนั้น พบว่า ่ วัยรุ่ นไทยมีมือถือใช้สูงสุดในเอเชีย ถึงร้อยละ 72 สูงกว่าค่าเฉลี่ยในเอเชียที่มีมือถือร้อยละ 64 และเด็กอายุ 8-14 ปี สูงถึงร้อยละ 30 ก็มีมือถือใช้ได้แล้ว นอกจากผลสารวจในครั้งนี้ยงพบว่าวัยรุ่ นไทยไม่ห่างจากมือถือวิถีชีวิตตั้งแต่พระอาทิตย์ข้ ึนไปจนถึงพระอาทิตย์ตก ั จนติดอันดับ 1 ของการพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือ ใช้เวลาถึง 1 ชัวโมง 7 นาทีต่อวัน ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของภูมิภาค ่
  • 8. อยูที่ 49 นาที พฤติกรรมการใช้เพื่อติดต่อกับครอบครัวพ่อแม่ถึงร้อยละ 70 ตามด้วยการติดต่อกับเพื่อน แสดงให้ ่ เห็นว่าครอบครัวเป็ นสิ่งที่วยรุ่ นไทยให้ความสาคัญมากสุด นอกจากนี้ผลสารวจยังพบว่าวัยรุ่ นไทยยังเป็ น ั ผูใช้บริ การต่างๆ บนมือถือสูงที่สุดในเอเชีย โดยใช้มือถือส่วนใหญ่เพื่อความบันเทิง ร้อยละ 67 ใช้เพื่อการฟังเพลง ้ สูงกว่าค่าเฉลี่ยภูมิภาคอยูที่ร้อยละ 51 ตามด้วยใช้มือถือถ่ายรู ปร้อยละ 65 สูงกว่าค่าเฉลี่ยภูมิภาคที่ร้อยละ 47 และ ่ ร้อยละ 32 ใช้มือถือในการบันทึกวิดีโอ สูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละ 21 ในภูมิภาค วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556 เขียนโดย peeraphon narongredrit ที่ 06:24 2. งานวิจย เรื่ อง พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ ั ความเป็ นมาและความสาคัญ ปัจจุบนในโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมมีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่ หลาย โดยโทรศัพท์มือถือที่นกเรี ยน ั ั นั้นอาจจะมีราคาสูงและต่าตามฐานะของแต่ละคนจึงอาจมีเกิดผลกระทบต่อผูปกครองของนักเรี ยนที่ใช้ ้ โทรศัพท์มือถือราคาแพงรวมถึงใช้จ่ายรายวันหรื อรายสัปดาห์ในการจ่ายค่าโทรศัพท์มือถือและการใช้ โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานานอาจทาให้เกิดผลกระทบต่อร่ างกายด้วย ปัญหาในการใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานานหรื อซื้อโทรศัพท์มือถือราคาแพง อาจจะเป็ นผลกระทบทั้งตัว นักเรี ยนและผูปกครองของนักเรี ยนเองทาให้เกิดผลเสียทางด้านการเงินและสุขภาพจิต ดังนั้นทางผูจดทาจึงได้จดทา ้ ้ั ั งานวิจยชุดนี้ข้ ึนเพื่อสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อสารวจ ั การใช้งานของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 แผนการเรี ยน วิทย์-คณิ ต 3.ค่านิยมของการใช้โทรศัพท์ของวัยรุ่ น ค่านิยมการใช้โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือเรามีไว้ใช้โทร. ใช้ในความจาเป็ น แต่สมัยนี้โทรศัพท์มือถือ เป็ นส่วน หนึ่งของดารงชีวิต ของวัยรุ่ นไปแล้ว วันไหนไม่ได้โทรศัพท์ เหมือนขาดอะไรบางอย่าง และวัยรุ่ นบางกลุ่ม ใช่ โทรศัพท์มือถือ เป็ นการโอ้อวดฐานะเช่น ไอโฟน แบล็คเบอร์รี่ โนเกียเอกซ์เพรส เมื่อกระแสพวกนี้หมดลง ก็จะมี การ ซื้อสิ่งใหม่ๆที่เข้ามา ซึ่งนอกจากจะเรี ยกว่า หมกมุ่นแล้ว ยังเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็ นอีกด้วย
  • 9. 4.งานวิจยพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ั ที่มาและความสาคัญ ในสังคมไทยสมัยโบราณมีวฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ปฏิบติสืบต่อกันมาจนกลายเป็ นวิถีชีวิตที่ทุกคน ั ั ในสังคมต้องปฏิบติการดารงชีวิตเป็ นไปอย่างเรี ยบง่ายไม่ยดติดกับเทคโนโลยีหรื อสิ่งอานวยความสะดวก ั ึ สังคมไทยในปัจจุบนได้เปลี่ยนแปลงจากสมัยโบราณอย่างมาก อันเนื่องมาจากมีการพัฒนาวิทยาการด้านต่างๆรวม ั ไปถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารหรื อโทรศัพท์มือถือที่ขณะนี้ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญกับการ ดารงชีวิตในสังคม ทั้งช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว รู ปลักษณ์ที่สวยงาม และฟังก์ชนที่ให้ ั ความบันเทิงอีกมากมาย จึงทาให้กลายเป็ นที่น่าสนใจของคนในสังคมหลายกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่ น ซึ่งเป็ นกลุ่ม ที่ตกอยูในวัตถุนิยม ตามแฟชันและรักความสะดวกสบายแต่อย่างไรก็ตามโทรศัพท์มือถือก็มีท้งประโยชน์และโทษ ่ ั ่ แม้ว่าโทรศัพท์มือถือจะช่วยให้สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร แต่หากใช้ไปในทางที่ผด หรื อใช้ผดที่ผดเวลา ผิด ิ ิ ิ วัตถุประสงค์ ก็จะก่อให้เกิดผลเสียต่างๆ 5.โทรศัพท์มือถือกับสุขภาพ ผลกระทบต่อสุขภาพ Basis of Health Concerns โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาจะมีผลต่อสุขภาพสูงขึ้นถ้ามีเสาอากาศติดตั้งอยูดวย ในขณะที่ใช้งานเสาอากาศจะอยู่ ่ ้ ใกล้ชิดกับศีรษะของผูใช้ ทาให้มีความกังวลเกี่ยวกับระดับการได้รับรังสีไมโครเวฟของสมอง ้ โทรศัพท์ที่เสาอากาศถูกห่อหุมไว้จะมีผลน้อยกว่า เนื่องจากระดับของการได้รับรังสีจะลดลงอย่างรวดเร็ วเมื่อ ้ ระยะห่างจากเสาอากาศเพิ่มขึ้น โทรศัพท์ไร้สายที่ใช้งานโดยอยูห่างจากเครื่ องรับได้ในระยะไม่เกิน 20 เมตร การใช้ ่ งานจะไม่มีผลต่อสุขภาพเนื่องจากระดับรังสีต่ามาก มีรายงานจานวนมากปรากฏในสื่อต่างๆ ว่ามีอาการผิดปกติที่ เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น ปวดศีรษะ มีจุดร้อน (hot spots) ในสมองและมะเร็ งสมอง มีรายงานในสื่อเหล่านั้นว่า ประมาณ 70% ของไมโครเวฟที่แผ่ออกมาจากโทรศัพท์มือถือจะถูกดูดกลืนไปที่ศีรษะ ของผูใช้ เรื่ องนี้ไม่มีการยืนยันอย่างแน่ชด แต่ก็เสี่ยงที่จะทาให้เกิดจุดร้อน (hot spots) ขึ้นในสมองของผูใช้ ทาให้ ้ ั ้ การใช้โทรศัพท์มือถืออาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ มีรายงานบางแห่งที่ช้ ีให้เห็นว่าผูใช้หลายรายมีอาการปวดศีรษะ ้ หลังจากใช้โทรศัพท์มือถือ ขณะนี้จึงเป็ นการยากที่จะประเมินความแน่นอนของรายงานเหล่านี้ เนื่องจากยังไม่มี รายงานออกมาอย่างเป็ นทางการมีรายงานถึงการเกิดมะเร็ งสมองในอเมริ กาว่า มีผป่วยจานวนมากที่ฟ้องร้องผูผลิต ู้ ้ หรื อจาหน่ายโทรศัพท์มือถือ ว่าไมโครเวฟจากโทรศพท์มือถือทาให้พวกเขาเกิดมะเร็ งสมอง แต่เมื่อมีการตรวจสอบ แล้วพบว่าบางรายเกิดความเข้าใจผิด
  • 10. ที่มา นสพ.มติชน วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 14:44 น 6.โทรศัพท์มือถือ” ภัยใกล้ตวที่ไม่ควรมองข้าม ั นอกเหนือไปจากอวัยวะครบ 32 ประการในร่ างกายคนเราแล้ว ปัจจุบนดูเหมือนว่า “โทรศัพท์มือถือ” กาลังจะ ั กลายเป็ นส่วนหนึ่งของคนยุคโลกาภิวฒน์ที่จะขาดเสียมิได้ เพียงแต่ว่าอวัยวะส่วนนี้โดยมาก จะเริ่ มงอกเงยขึ้นมา ั ในช่วงที่เป็ น “วัยรุ่ น” ซึ่งข้อดีของโทรศัพท์มือถือก็มีอยูไม่นอย โทษของโทรศัพท์มือถือได้ก่อให้เกิดโรคใหม่ๆ ่ ้ หลายประการ ดังนี้ 1.โรคเห่อตามแฟชัน นิยมเปลี่ยนมือถือไปตามแฟชันเพื่อให้อินเทรน ดูทนสมัย ไม่ตกรุ่ น ั ่ ่ 2.โรคทรัพย์จาง ดิ้นรนหาเงินเพิ่มหรื อไปกูหนี้ยมสินมาซื้อมือถือ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นจากค่าโทรศัพท์และ ้ ื ค่าบริ การ 3.โรคขาดความอดทนและใจร้อน เพราะความสะดวกสบายในการใช้โทรศัพท์มือถือ ที่ว่าตรงไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้ กดปุ๊ บติดปั๊บนี่เอง ทาให้หลายๆ คนกลายเป็ นคนที่ทนรอใครนานไม่ได้ หรื อไม่ยอมทนแม้แต่เรื่ องเล็กๆ น้อยๆ 4.โรคขาดกาลเทศะและมารยาท เช่น การใช้โทรศัพท์เวลาประชุม อาจเป็ นการรบกวนผูอื่นในเวลานอน เวลา ้ รับประทานอาหาร เวลาพักผ่อน หรื อเป็ นวันหยุด กาลังใช้เวลาอยูกบครอบครัว เป็ นต้น ่ ั 5.โรคขาดมนุษยสัมพันธ์ หากวันไหนไม่ได้โทรศัพท์ไปหาเพื่อน ก็อาจจะเกิดอาการเฉาหรื อเหงาหงอย โดยไม่คิด จะมีมนุษยสัมพันธ์กบเพื่อนคนอื่นหรื อคนที่อยูรอบข้าง กลายเป็ นคนแยกตัวออกจากสังคม โทรศัพท์มือถือยังมี ั ่ ผลข้างเคียงทาให้เสียสุขภาพในด้านอื่นๆ อีก เช่น ทาให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น เพราะมัวแต่คุยทั้งวันทั้งคืน เลยนอนดึกนอนไม่พอ ทาให้หูตึงหรื อมีโรคเกี่ยวกับหู เกิดอาการปวดหัว ไมเกรนหรื อมีปัญหาทางเส้นประสาท เพราะคลื่นจากมือถือที่มีกาลังส่งแรงสูง นอกจากนี้ มือถือยังก่อให้เกิดอาชญากรรม ถูกคนร้ายติดตามมาทาร้าย ร่ างกายหรื อแย่งชิงทรัพย์ได้ง่ายอีกด้วย 29 ก.ค. 56 18.59 น Thaimobilecenter 7.โทรศัพท์มือถือกับการเปลี่ยนแปลงชีวิตวัยรุ่ น โทรศัพท์มือถือในปัจจุบนนี้ นอกจากจะมีคุณสมบัติในการสื่อสารทางเสียงแล้วยังมีความสามารถอื่น ั อีก เช่น สนับสนุนการสื่อสารด้วยข้อความ เช่น SMS ,การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต, การสื่อสารด้วยแบบ Multimedia เช่น MMS, นาฬิกา, นาฬิกาปลุก, นาฬิกาจับเวลา, ปฏิทิน, ตารางนัดหมาย รวมไปถึงความสามารถใน การรองรับแอปพลิเคชันของจาวาเช่น เกมส์ต่างๆได้ และเจ้ามือถือนี่เองก็กลับเป็ นที่สิ่งเปลี่ยนแปลงไลน์สไตล์
  • 11. ของชีวิตคนได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าในปัจจุบนมือถือได้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิงในวัยรุ่ น ใน ั ่ สายตาของวัยรุ่ น โทรศัพท์มือถือมิได้มีฐานะเป็ นเพียงเครื่ องมือสื่อสารที่ใช้ในการสนทนาระหว่างกันและกัน เท่านั้น แต่โทรศัพท์มือถือกับกลายเป็ นสิ่งจาเป็ นและเป็ นปัจจัยที5 ในชีวิตของพวกเขาไปเรี ยบร้อยแล้ว มือถือยัง ่ เป็ นสิ่งที่บ่งบอกถึงลักษณะของตนเอง โดยผ่านการเลือกภาพพักหน้าจอที่แปลกใหม่ การใช้เสียงเรี ยกเข้า (Ringtone) ที่ทนสมัย และไม่ซ้ าใคร การเลือกเสียงรอสาย (Calling Melody) ที่ตรงกับความชอบ และการเลือกใช้ ั กรอบมือถือที่แสดงบุคลิก และความเป็ นตัวตนของพวกเขา นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือในสายตาวัยรุ่ นยังเป็ น เครื่ องมือแสดงสถานะทางสังคม ที่สร้างความภูมิใจ และความโก้เก๋ ให้แก่วยรุ่ น การเปลี่ยนโทรศัพท์บ่อยๆ ด้วย ั เหตุผลที่ว่าไม่อยากใช้โทรศัพท์ที่ตกรุ่ น เพราะกลัวจะไม่ทดเทียมกับเพื่อนนั้น ฟังดูจะคุนชินจนกลายเป็ นเรื่ อง ั ้ ธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา) ที่วยรุ่ นต้องพยายามเกาะกระแสให้ทน ั ั มิถุนายน 13, 2008, 07:55:56 AM »Bangkokbiznews.com 8.ปัญหาวัยรุ่ นในยุค เทคโนโลยี ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นพร้อมกับความเจริ ญ ด้านเทคโนโลยี หรื อ ยุคดิจิตอล ที่พบเห็นกันบ่อยๆในสังคมคือ ปัญหาวัยรุ่ น ซึ่งส่วนใหญ่ ยังไม่ตระหนัก ขาดการยับยังการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง ถึงแม้เทคโนโลยีจะมี ้ ประโยชน์มาก แต่ก็ก่อให้เกิดปัญหาตามมาเช่นกัน ความเจริ ญด้าน เทคโนโลยีมีบทบาทกับวัยรุ่ นมากกว่าพ่อแม่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับสมัยก่อน ที่ส่วนใหญ่ พ่อแม่ จะมีความใกล้ชิดสนิทสนมกับลูก ถึงแม้ว่าเทคโนโนลีจะไม่เจริ ญ เท่าใดนัก ยกตัวอย่างง่ายๆ เมื่อก่อนไปเรี ยนที่กรุ งเทพ ก็จะเขียนจดหมายหาพ่อแม่ เพราะไม่มีโทรศัพท์มือถือ พ่อ แม่ก็เขียนจดหมายตอบกลับมา กว่าจะถึงก็ใช้เวลาหลายวัน เพราะไม่มีโทรศัพท์มือถือ แต่ในปัจจุบนแค่โทรศัพท์ ั หากันก็รู้เรื่ องแล้ว ในยุคโลกาภิวฒน์น้ ี พ่อแม่มกไม่มีเวลาให้ลกเพราะต้องทางานหาเงิน ถ้าเป็ นพ่อแม่ที่อยูตาม ั ั ู ่ ต่างจังหวัดแล้ว ก็ตองปล่อยให้ลกอยูกบปู่ ย่าตายาย ซึ่งปู่ ย่าตายาย ส่วนใหญ่ก็ไม่ค่อยเข้าถึงเทคโนโลยี มาก ้ ู ่ ั นัก วัยรุ่ นส่วนใหญ่จึงได้รับอิทธิพลจาก สื่อ จากโททัศน์ หมกมุ่นอยูกบโทรศัพท์มือถือ รุ่ นใหม่ๆ ที่พ่อแม่ ซื้อให้ ่ ั เพราะต้องตามใจลูก ตามยุคสมัยที่ลกเรี ยกร้อง ู วัยรุ่ นเป็ นวัยเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ในด้านร่ างกาย จิตใจ และอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทาง เพศ และที่สาคัญการรับรู้รู้ข่าวสารข้อมูล ย่อมมีความเร็ วและง่ายกว่าวัยอื่น เพราะเป็ นวัยที่อยากรู้อยากเห็น และ ชอบเลียนแบบ ถ้าขาดการชี้แนะที่ถกต้องในด้านใดด้านหนึ่งแล้วย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมาได้ โดยเฉพาะในยุค ู เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในสังคมนี้ รู้สึกว่าวัยรุ่ นจะเป็ นเป้ าหมายหลักของ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เช่น สื่อโฆษณา ที่ทนสมัยที่เน้นบริ โภคนิยม ในยุคทุนนิยม อุปกรณ์การสื่อสารที่ทนสมัย มีระบบการใช้งานที่สลับซับซ้อนและ ั ั
  • 12. เป็ นที่นิยมในหมู่วยรุ่ นในสถานศึกษา ระบบการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ วในคอมพิวเตอร์ที่ขาดการควบคมและ ั สอดส่องดูแลจากพ่อแม่ หรื อครู หรื อ พ่อแม่ และครู ตามเทคโนโลยีไม่ทนเท่ากับลูกจึงไม่รู้ว่าตอนนี้วยรุ่ นกาลัง ั ั ทาอะไรอยู่ คุยกับใครอยูเ่ ป็ นเวลานานๆ หรื อ นังเฝ้ าหน้าจอคอมพิวเตอร์ทุกๆวันโดยไม่คุยกับใคร ่ 9.ธรรมชาติจิตใจของวัยรุ่ น ………… แตกต่างจากวัยเด็ก วัยรุ่ นเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงมากทั้งร่ างกายและจิตใจ วัยรุ่ นจึงต้องมีการปรับตัวมาก ซึ่งอาจทาให้วยรุ่ นมี ั ปฏิกิริยาต่อการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายและอารมณ์ต่าง ๆ บางครั้ง ปฏิกิริยาเหล่านี้เมื่อมองเผิน ๆ อาจเหมือนความ ผิดปกติที่ตองการความช่วยเหลือได้ แต่โดยทัวไปแล้ว ปฏิกิริยาบางอย่างจะอยูชวคราวแล้วหายไปเองได้ การ ้ ่ ั่ ่ เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่ นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรื อผูใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่า ้ บุตรหลานของตนเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปเป็ นคนที่ด้ือรั้นไม่เชื่อฟัง หรื อเกิดความวิตกกังวลว่าอาจมีปัญหาร้ายแรง ตามมาจากการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ถ้าพ่อแม่ไม่เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงนี้ก็อาจพยายามขัดขวางไม่ผอนปรน หรื อ ่ กลับเพิ่มการควบคุมมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างพ่อแม่และวัยรุ่ นได้ และอาจทาให้วยรุ่ นยิงมี ั ่ ปฏิกิริยาตอบโต้ที่รุนแรงขึ้น การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มีดงนี้ ั ความสนใจในตัวเอง วัยรุ่ นจะสนใจตัวเองมาก รักสวยรักงาม การแต่งกายก็ตองพิถีพิถนหรื อให้เป็ นที่ยอมรับของ ้ ั เพื่อนฝูง หรื อสะดุดตา โดยเฉพาะให้เพศตรงข้ามสนใจ จะสนใจแฟชันมาก ใช้เวลาแต่งตัวค่อนข้างนาน ่ ความยอมรับนับถือผูใหญ่ วัยรุ่ นจะให้ความสาคัญต่อผูใหญ่นอยลง มักมีความคิดว่าผูใหญ่มีความคิดที่ลาหลังไม่ ้ ้ ้ ้ ้ ทันสมัย และอื่นๆ และเห็นว่าความคิดของตนถูกต้องกว่า ถ้าผูใหญ่ไม่เข้าใจถึงธรรมชาติน้ ีของวัยรุ่ นก็อาจโกรธ ้ ความอยากเป็ นตัวของตัวเอง และอยากมีอิสระ วัยรุ่ นเป็ นวัยที่ตองการเป็ นตัวของตัวเองมาก และมีความต้องการ ้ รับผิดชอบตัวเองขอบเขต ชอบเพ้อฝัน วัยรุ่ นมักมีความเพ้อฝันค่อนข้างมาก เด็กหญิงมักเขียนบันทึกประจาวัน เด็กชายมักพูดโทรศัพท์บ่อย ๆ นาน ๆ ซึ่งพ่อแม่มกไม่พอใจที่ใช้เวลาไปกับโทรศัพท์นาน ๆ บางครั้งถึงกับทะเลาะกับวัยรุ่ นเรื่ องการใช้โทรศัพท์ ั บ่อย ๆ หรื อพยายามจะควบคุมการใช้โทรศัพท์ของวัยรุ่ น
  • 13. 10. "บ้าแชต" เหมือน "ติดยา จิตแพทย์ช้ ี ติด "แชตมือถือ" หนักๆ ก็เหมือนคนติดยาเสพติด ส่งผลกระทบจิตใจ เสียสุขภาพ สมาธิส้ น เตือนพ่อแม่ ั ระวังเด็กใช้มากเกิน นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผอ.สานักสุขภาพจิตสังคม กล่าวว่า การใช้เทคโนโลยีของคนในสังคมปัจจุบนนี้แบ่ง ั ออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ ใช้ในระดับปกติ และใช้เกินปกติ แต่ผลทางด้านจิตใจทางการแพทย์ถือว่า อาการติด โทรศัพท์มือถือที่กาลังฮิตในหมู่ดาราไฮโซ เซเลบริ ต้ ี และกาลังเริ่ มฮิตในกลุ่มวัยรุ่ นขณะนี้ เป็ นอาการเดียวกับการ ติดอินเทอร์เน็ตหรื อติดสารเสพติด เรี ยกว่า โรค "Addiction" หรื อ "การติดเป็ นนิสย" คือใช้เทคโนโลยีจนเกินไป ั หมกมุ่นมากไป ถ้าไม่ได้ใช้แล้วห่วงหา ซึ่งมีส่งผลกระทบต่อร่ างกายและจิตใจในเชิงลบ เหมือนการเสพติดอย่าง หนึ่ง นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า การใช้บีบีเป็ นวิธีการสื่อสารแบบการส่งข้อความ SMS ซึ่งสะดวกกว่าการใช้ คอมพิวเตอร์พดคุยหรื อที่เรี ยกว่าแช้ต (Chat ) ผ่านระบบเอ็มเอสเอ็น (MSN) ซึ่งต้องทาเฉพาะกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ู แต่การใช้โทรศัพท์มือถือจะสามารถทาได้ทุกสถานที่ทุกเวลา นางสาวจุไรวรรณ ไชยพงศ์และคณะ /รองศาสตราจารย์สมพล ทุ่งหว้า 11.ผลกระทบทางสุขภาพที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบนโทรศัพท์มือถือเป็ นอุปกรณ์สื่อสารที่สาคัญในชีวิตประจาวันของประชากรมากกว่า ๑.๔ พันล้านคนทัว ั ่ โลก สาหรับในประเทศไทยมีผใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า ๒๐ ล้านคน และมีแนวโน้มที่จะมีจานวนของผูใช้มาก ู้ ้ ขึ้นทุกปี โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสารด้วยวาจาพร้อมทั้งการส่งข้อมูลเป็ นไปได้อย่างสะดวก และรวดเร็ ว ช่วยให้ความเป็ นอยูของคนไทยและเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีข้ ึน แต่อย่างไรก็ตามการ ่ ใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละนาน ๆ เป็ นเวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และ นักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือนว่าผูที่ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นเวลานาน ้ อาจจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็ งสมอง หูอกเสบ มะเร็ งของเม็ดเลือดขาว ั และความจาเสื่อม เป็ นต้น จากคาเตือนดังกล่าวทาให้มีการวิจยถึงผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก ั โทรศัพท์มือถือมากขึ้น ในปัจจุบนข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการวิจยชี้ว่ายังมีขอขัดแย้งกันเกี่ยวกับผลกระทบของ ั ั ้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือกับการทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ในมนุษย์ แต่จากการศึกษาของนักวิชาการ ผูรู้ ้ ผูเ้ กี่ยวข้อง จากในและต่างประเทศ สรุ ปได้ดงนี้ ั
  • 14. ๑. การใช้โทรศัพท์มือถือแนบไว้ที่หูนาน ๆ เป็ นเวลาหลายปี น่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของผูใช้โดยตรงทั้งใน ้ ระยะสั้นและระยะยาว โดยมีรายงานการวิจยในหลอดทดลองพบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic Wave) ั ที่เกิดจากการรับ - ส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือซึ่งมีความถี่อยูในช่วงคลื่นไมโครเวฟนั้น สามารถทาให้เกิดความร้อน ่ และทาร้ายเซลล์ภายในเนื้อเยือบริ เวณหู ตา และสมอง ทาให้เกิดผลกระทบกับผูใช้ คือ ่ ้ ผลในระยะสั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือจะทาให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น ปวดหู ปวดศีรษะ ตาพร่ า มัว มึนงง ขาดสมาธิ และเครี ยดเนื่องจากระบบพลังงานในร่ างกายถูกรบกวน นอนไม่หลับเนื่องจากมีการหลัง ่ ฮอร์โมนเมลาโตนิน (melatonin) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการนอนหลับในร่ างกายลดลง และคลื่นสมองมีการ เปลี่ยนแปลงไป ผลในระยะยาว คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถืออาจทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม เนื่องจากเนื้อเยือสมองถูก ่ ทาลาย โรคมะเร็ งสมองเนื่องจากเนื้อเยือสมองมีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมไปจากปกติ โรคมะเร็ งของเม็ด ่ เลือดขาว เช่น leukemia และ lymphoma เป็ นต้น สร้าง: 13 ธันวาคม 2553 14:56 · แก้ไข: 13 ธันวาคม 2553 14:5 นาย ชาญ หนุ่ย สังฆมานนท์ 12.พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ที่มีต่อวัยรุ่ น พฤติกรรมด้านบวก มือถือกลายเป็ นอีกปัจจัยหนึ่งของวัยรุ่ น เพราะมือถือก็มีขอดีอยูไม่นอย เป็ นทั้งเครื่ องมือสื่อสารที่ยนทั้งระยะทาง ้ ่ ้ ่ และระยะเวลาระหว่างกัน เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านมือถือนั้นสร้างความสะดวกสบายให้กบวัยรุ่ นได้อย่างมาก ั บางครั้งที่มีอุบติเหตุ หรื อต้องการความช่วยเหลือด่วนมือถือก็จะมีประโยชน์มากในช่วงเวลานั้น หรื อบางทีมือถือยัง ั ทาหน้าที่สร้าง และกระชับความสัมพันธ์ของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็ นญาติพี่นอง หรื อกลุ่มเพื่อน ถึงแม้จะอยู่ ้ ห่างไกลกันมากแต่ก็เชื่อมความสัมพันธ์กนได้ดวยมือถือ ยิงปัจจุบนนี้มือถือมีเทคโนโลยีกาวหน้ากว่าเดิมมาก ซึ่ง ั ้ ั ้ ่ นอกจากจะดูหนังฟังเพลงแล้วยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ต และยังสามารถเล่นได้เกือบทุกที่ทุกเวลา ยิงทาให้การ ่ ติดต่อสื่อสารง่ายขึ้นไปอีก อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้นต้องคานึงถึงความจาเป็ น ใช้แต่พอเพียงเท่านั้นเพื่อไม่ให้ตกเป็ นทาสของมือถือ พฤติกรรมด้านลบจากสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ(สวช.) กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) พบว่า ปัจจุบนโทรศัพท์มือถือ กาลังจะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของคนยุค ั โลกาภิวตน์ที่จะขาดไม่ได้ จนกลายเป็ นอวัยวะส่วนที่ 33 โดยเฉพาะในเด็กวัยรุ่ นซึ่งเป็ นกลุ่มเสี่ยง ให้ ข้อเสียหาก ั ผูใช้ นาไปใช้ในทางที่ผดหรื อใช้ไม่เป็ นทาให้เกิดโรคใหม่ๆ ตามมาหลาย ้ ิ 7 มิถุนายน 2554 06:55 นสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน
  • 15. 13.เด็กไทยติดโทรศัพท์มือถือ ใช้ต้งแต่ตื่นจนเข้านอน ั โทรศัพท์มือถือกลายมาเป็ นสิ่งของติดตัวที่หลาย ๆ คนขาดไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิงสมาร์ทโฟน พ่อแม่หลาย ๆ คน ่ ซื้อโทรศัพท์มือถือให้ลก ๆ มีพกติดตัวเอาไว้เพื่อให้ง่ายต่อการติดต่อ ใช้ในกรณี ฉุกเฉิน หรื อเสริ มทักษะการเรี ยนรู้ ู และฝึ กความรับผิดชอบ แต่เมื่อลูกใช้ หรื อเล่นโทรศัพท์มากขึ้นเรื่ อย ๆ และมีแนวโน้มว่าเด็กยุคใหม่ใช้ชีวิตกับโทรศัพท์มือถือตั้งแต่ตื่นจน เข้านอน ลูกคุณกาลังใช้เวลากับโทรศัพท์มากเกินไปหรื อเปล่า? รายงานข่าวล่าสุดอาจทาให้คุณตกใจ จากรายงานข่าวที่ออกมาเร็ ว ๆ นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทาการสารวจเด็ก ๆ ใน กรุ งเทพมหานคร และต่างจังหวัดจานวน 3,058 คนเมื่อเดือนมกราคมที่ผานมา และพบว่าชีวิตของเด็ก และวัยรุ่ นยุค ่ ใหม่ผกพันกับโทรศัพท์มือถือมากยิงขึ้น ร้อยละ 51.1 ของเด็กในการสารวจหยิบโทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่งแรกหลังตื่น ู ่ นอน และ ร้อยละ 35 ของเด็ก ๆ ใช้โทรศัพท์มือถือเป็ นกิจกรรมสุดท้ายก่อนเข้านอนร้อยละ 75.7 ของเด็ก ๆ ใช้โซ เชี่ยลเน็ตเวิร์กบ่อย หรื อเป็ นประจา อันที่จริ งการใช้โทรศัพท์มือถือก็ไม่ใช่เรื่ องเสียหายอะไร ผูใหญ่ คุณพ่อ คุณแม่ ้ เองก็ใช้กน แล้วปัญหามันอยูที่ไหนกันล่ะ? ั ่ ประภาวรรณ ทองแท่ง วันที่: 13 พฤษภาคม 2556, 17:30 14. Sleep Texting โรคใหม่บนมือถือ Sleep Texting โรคใหม่บนมือถือ หลายคนอาจจะสงสัยว่ามันคืออะไร ? โรคนี้ถากล่าวกันตามภาษาชาวบ้านๆ ก็คือ ้ อาการติดแชทที่แม้ขณะนั้นตัวเองกาลังหลับอยู่ จากการศึกษาในต่างประเทศพบว่า Sleep Texting เป็ นอาการชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการพิมพ์ขอความแชทในมือถือ ้ ของผูที่เข้าขั้น "ติด" อาการนี้จะเกิดขึ้นในขณะหลับ และเมื่อได้ยนเสียงข้อความส่งมา ร่ างกายและระบบประสาท ้ ิ จะตอบสนองด้วยการหยิบมือถือมาแล้วพิมพ์ขอความตอบกลับไปในทันที ซึ่งสภาพของผูใช้ในขณะนั้นจะอยูใน ้ ้ ่ สภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น เป็ นเหตุให้เมื่อตื่นขึ้นมาตัวเองจะจาอะไรไม่ได้ว่าทาอะไรหรื อพิมพ์อะไรไปบ้าง และข้อความ นั้นก็เป็ นข้อความที่ไม่สามารถจับใจความได้ เพราะไม่ได้มีกระบวนการคิดใดๆก่อนที่จะพิมพ์ขอความตอบกลับไป ้ ยังปลายทาง แน่นอนว่าปัญหานี้นามาซึ่งสภาพร่ างกายที่อ่อนแอ ทั้งการพักผ่อนไม่เต็มที,่ การเกิดโรคอ้วน, ภาวะทางจิตใจที่ ซึมเศร้า และอาจส่งผลกระทบในการเรี ยนหรื อการทางานด้วย
  • 16. แม้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบนที่มีท้งการโทร การแชท ที่แทบจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่แนวทางง่ายๆที่จะ ั ั ป้ องกันโรคSleep Texting คือการปิ ดโทรศัพท์ในขณะนอนหลับ หรื อจะเป็ นการปิ ดเสียง หรื อปิ ดสัญญาณ WiFi และ 3G เพื่อให้ร่างกายได้พกผ่อนอย่างเต็มที่ ั 2 มกราคม 2556 10:10 น 15.ผลวิจยชี้ “วัยเรี ยนใช้มือถือ ไม่รับผิดชอบสิ่งแวดล้อม” ั นักวิจยมศว ชี้วยรุ่ นไทยใช้โทรศัพท์มือถือจานวนมากแบบไม่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมวอนเจ้าของค่ายฯ ั ั นอกจากทาโปรโมชันขายของแล้ว ควรรณรงค์วิธีรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย ่ นางพรรณี บุญประกอบ หนึ่งในคณะผูวิจยการสารวจพฤติกรรมการใช้และขจัดโทรศัพท์มือถือ – แบตเตอรรี่ ้ ั ของคนไทย สถาบันวิจยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ (มศว) เปิ ดเผยว่า ั ปัจจุบนนี้โทรศัพท์มือถือมีผคนในสังคมใช้กนอย่างแพร่ หลาย นับเป็ นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทุกคนต้องมี และโดย ั ู้ ั เฉลี่ยแล้วคนไทยจานวนไม่นอยที่มีโทรศัพท์มือถือตั้งแต่ 1 เครื่ อง 2 เครื่ อง หรื อบางคนก็ใช้โทรศัพท์มือถือถึง 3 ้ เครื่ อง ส่วนผูให้บริ การนั้นมีการทาโปรโมชันเพื่อสนับสนุนการขายหลายรู ปแบบ ้ ่ การที่ทาโปรโมชันต่างๆ จึงส่งเสริ มเกิดการใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้น เมื่อบริ โภคมากใช้งานมากก็ยอมมีขยะ ่ ่ ที่มาจากการใช้โทรศัพท์ ซึ่งก็คือแบตเตอรี่ มือถือที่เพิ่มพูนเป็ นจานวนมาก และเป็ นมลพิษทางสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้จากการวิจยยังพบอีกว่าพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของคนในสังคมยังเป็ นปัญหา ตั้งแต่การขับรถแล้วใช้ ั โทรศัพท์ การโทรศัพท์ในที่ๆ มีการห้ามในโทรศัพท์ หรื อโทรศัพท์ขณะข้ามถนน ใช้โทรศัพท์ในขณะฝนตกใกล้ สายไฟแรงสูง อธิปลักษณ์ โชติธนประสิทธิ์ วันที่: 26 มีนาคม 2556, 12:20 น
  • 17. บทที่ 3 วิธีดาเนินการทดลอง ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่จะทาโครงงาน 2. วางแผนว่าจะทาขั้นตอนไหนก่อน 3. เขียนโครงร่ างของโครงงานในแต่ละหัวข้อ 4. จัดทะแบบสอบถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ พิมพ์แบบสอบถามเรื่ องการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยน ชั้นม.5 5. จัดการพิมพ์แบบสอบถามโดยใช้เครื่ องพิมพ์ 6. เริ่ มทาการสารวจนักเรี ยนชั้นม.5 โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ ั 7. โดยการทาการสารวจนักเรี ยนชั้นม.5 จะสารวจ 2ครั้ งต่อเดือน 8. ทาการสารวจในสัปดาห์ที่1และสัปดาห์ที่4ของเดือน เป็ นระยะเวลา 2เดือน 9. ทาการรวบรวมแบบสารวจ 10. ทาการสรุ ปผลการสารวจว่านักเรี ยนชั้นม.5ในโรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ ใช้โทรศัพท์ ั มากน้อยเพียงใด 11. จัดทารู ปเล่มโครงงาน 12. เผยแพร่ โครงงานทางPowerpointและไฟล์pdf ลงในเว็บSlideshare
  • 18. แผนการปฏิบติการ ั กิจกรรมที่ปฏิบติ ั ส.ค. ก.ย. เวลา/เดือน/สัปดาห์ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. หมายเหตุ ม.ค. ก.พ. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1.สารวจปัญหา 2.ประชุมวางแผน งาน 3.สื บค้นรวบรวม ข้อมูล 4.ลงมือแก้ปัญหา 5.ประเมินผล 6.ประชุมสรุ ปผล 7.นาเสนอผลงาน
  • 19. บทที่ 4 ผลการทดลอง 2% 6% 1% เวลาในการใช้ โทรศัพท์ ยื่ห้อโทรศัพท์ ท่ใช้ ี 14% Apple 39% 35% Samsung 15% 16% Nokia 23% ต่ากว่า1 ชัวโมง ่ 1-2ชัวโมง ่ 32% 17% 3-4ชัวโมง ่ LG เครือข่ ายโทรศัพท์ ท่ใช้ ี 25% 43% 32% การเติมเงินโทรศัพท์ 40% TRUE 60% AIS แบบราย เดือน DTAC ค่ าใช้ จ่ายรายเดือน 15% 35% 18% 32% 10% ต่ากว่า300 บาท 300-500 บาท 500-1,000 บาท ส่ วนมากใช้ โทรศัพท์ ในเรื่องใด คุยโทรศัพท์ 10% 20% 50% 10% เล่นfacebook,t witter,line,ins tragram
  • 20. บทที่ 5 สรุ ปผล และอภิปราย สรุปผลและอภิปรายเรื่องการใช้ โทรศัพท์ ของนักเรียนสตรีวดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ั ่ สรุ ปผล : 1.ยีหอโทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ ยีหอ Apple ่ ้ ่ ้ 2.เครื อข่ายโทรศัพท์ที่ใช้มากที่สุด คือ เครื อข่าย Dtac 3.ค่าใช้จ่ายรายเดือนของโทรศัพท์ที่มีมากที่สุด คือ ค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่า 300 บาท 4.การเติมเงินโทรศัพท์แบบที่มากที่สุด คือ แบบรายเดือน 5.เวลาในการใช้โทรศัพท์ที่ใช้เวลานานมากที่สุด คือ เฉลี่ยวันละมากกว่า 4 ชัวโมง ่ 6.ส่วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องการเข้าใช้ facebook, instragram, line และ twitter อภิปราย 1.ยี่หอโทรศัพท์ที่ใช้ ้ การใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ ยี่หอ Apple เป็ น ร้ อยละ 39 ้ เปอร์ เซ็นต์ เพราะมีรูปลักษณ์ที่ทนสมัย หรู มีความเร็ วของระบบเครื่ องมาก ขนาดกะทัดรัด น้ าหนักเบา มีแอพลิเคชันที่ดี ั ่ และหลากหลายมากที่สุด อันดับถัดมา คือ ยี่หอ Samsung , Nokia , Black berry ,ใช้ยี่หออื่นๆ , Sony และ LG โดยมีร้อยละ ้ ้ 23เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 15 เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 14 เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 6เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 2เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 1 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ 2.เครื อของข่ายโทรศัพท์ที่ใช้ เครื อข่ายของโทรศัพท์ที่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5เลือกใช้มากที่สุด คือ เครื อข่าย DTAC เป็ นร้ อยละ 43 ั ่ เปอร์ เซ็นต์ เพราะเครื อข่ายมีโปรโมชันที่มีค่าใช้จ่ายไม่แพง เหมาะสมกับวัยเรี ยน เหมาะกับการใช้งานของผูที่ใช้งานน้อย ้ ่ และสามารถปรับเปลี่ยนโปรโมชันได้เมื่อต้องการ อันดับถัดมา คือ เครื อข่ายAIS และเครื อข่าย TRUE โดยมีร้อยละ32 ่ เปอร์ เซ็นต์ และ 25เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ
  • 21. 3.ค่าใช้จ่ายรายเดือนโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายรายเดือนโทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5ที่มากที่สุด คือ ค่าใช้จ่ายรายเดือนที่ต่ากว่า 300 บาท ่ เป็ นร้ อยละ 35 เปอร์ เซ็นต์ เพราะนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 5ส่ วนมากมีการใช้ค่าหรื อเติมเงินโทรศัพทที่ไม่แน่นอนและครั้ง ละไม่มาก อันดับถัดมาคือ ค่าใช้จ่ายรายเดือน 300-500 บาท ,ค่าใช้จ่ายรายเดือน 500-1,000 บาท และค่าใช้จ่ายรายเดือน มากกว่า 1,000 บาท โดยมี ร้ อยละ 32 เปอร์ เซ็นต์ ,ร้ อยละ 18 เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 15 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ 4.การเติมเงินโทรศัพท์ การเติมเงินโทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่มากที่สุด คือ ใช้แบบรายเดือน เป็ นร้ อยละ 40 เปอร์ เซ็นต์ เพราะการเติมเงินโทรศัพท์แบบรายเดือนมีความประหยัดและคุมค่าในการใช้จ่ายมากกว่า และยังสามารถปรับเปลี่ยน ้ รู ปแบบโปรโมชันให้เข้ากับการใช้งานในปั จจุบน หรื อ สามารถยกเลิกรู ปแบบการเติมเงินรายเดือนเมื่อต้องการ อันดับถัด ั ่ มา คือ การเติมเงินโทรศัพท์ที่ไม่แน่นอน โดยมี ร้ อยละ 60 เปอร์ เซ็นต์ 5.เวลาในการใช้โทรศัพท์ เวลาในการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5่ ที่มากที่สุด คือ ใช้เวลามากกว่า 4 ชัวโมงเป็ น ร้ อยละ 35 ่ เปอร์ เซ็นต์ เพราะปั จจุบนโทรศัพท์มีการใช้งานต่างๆ นอกเหนือจากการโทรติดต่อกับผูอื่น ทาให้เวลาในการใช้โทรศัพท์ ั ้ เพิ่มขึ้นเช่นกัน อันดับถัดมา คือ ใช้เวลาต่ากว่า 1 ชัวโมง , ใช้เวลา 1-2ชัวโมง และใช้เวลา 3-4 ชัวโมง โดยมีร้อยละ 32 ่ ่ ่ เปอร์ เซ็นต์ , ร้ อยละ 17 เปอร์ เซ็นต์ และร้ อยละ 16 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ 6.ส่ วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องใด ส่ วนมากของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที5 ใช้โทรศัพท์ในเรื่ อง การเข้าใช้ facebook, twitter,line และ instragram ่ เป็ นร้ อยละ 50 เปอร์ เซ็นต์ เพราะนักเรี ยนเข้าสู่ สังคมออนไลน์มากขึ้น ในด้านการแสดงความคิดเห็น และด้านการส่ งข้อมูล ข่าวสาร อันดับถัดมา คือ ใช้คุยโทรศัพท์ และ ใช้ถ่ายรู ป ฟั งเพลง เล่นเกม ซึ่ งทั้ง3สิ่ ง มีค่าร้ อยละเท่ากัน คือ มีค่าร้ อยละ 20 เปอร์ เซ็นต์ และทั้ง 3 สิ่ งมีค่าร้ อยละ 10 เปอร์ เซ็นต์ ข้อเสนอแนะ : ได้รับข้อมูลครบถ้วน แต่ขอมูลมีการคาดเคลื่อนจากสมมติฐานในบางข้อ ้
  • 22. ภาคผนวก แบบสารวจการใช้โทรศัพท์ของนักเรี ยนชั้นม.5โรงเรี ยนสตรี วดมหาพฤฒารามฯ ั ม.5 ห้อง [ ] 1 []2 []3 []4 []5 []6 []7 []8 []9 [ ] 10 1. ยีหอโทรศัพท์ที่ใช้ ่ ้ [ ] Apple [ ] Sony [ ] Samsung [ ] Nokia [ ] AIS [ ] LG [ ] Black Berry [ ] DTAC [ ] อื่นๆ 2. เครื อข่ายโทรศัพท์ที่ใช้ [ ] TRUE 3. ค่าใช้จ่าย 3.1 การเติมเงินโทรศัพท์ [ ] แบบรายเดือน (ทาข้อ 3.2) [ ] ไม่แน่นอน (ข้ามไปข้อ4) 3.2 ค่าใช้จ่ายรายเดือนประมาณ [ ] ต่ากว่า300บาท [ ] 300-500บาท [ ] 500-1000บาท [ ] มากกว่า1000บาท [ ] 1-2ชัวโมง ่ [ ] 3-4 ชัวโมง ่ [ ] มากกว่า4ชัวโมง ่ 4. เวลาในการใช้โทรศัพท์ [ ] ต่ากว่า1 ชัวโมง ่ 5. ส่ วนมากใช้โทรศัพท์ในเรื่ องใด (ตอบได้มากกว่า1ข้อ) [ ] คุยโทรศัพท์ [ ] แชท [ ] เช็คอีเมล์ [ ] เล่นเกม [ ] ฟังเพลง [ ] ถ่ายรู ป [ ] สื บค้นข้อมูล [ ] ซื้ อ-ขายของออนไลน์ [ ]เล่นเฟสบุ๊ค,ทวิตเตอร์ ,ไลน์,อินสตาแกรม [ ] อื่นๆ 6. ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………