SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
รูปร่างและลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวตหลายเซลล์
                                    ิ                               ิ
    ลักษณะที่สาคัญ       เซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์เดียว
                                          ิ              เซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์หลายเซลล์
                                                                          ิ
 รูปร่างและลักษณะ    รูปร่างและลักษณะไม่ซับซ้อน          รูปร่างลักษณะแตกต่างกัน
 หน้าที่             ดาเนินกิจกรรมในการดารงชีวตเซลล์ มีหน้าที่แตกต่างกัน
                                                 ิ
                     เดียว เช่น การกินอาหาร การสืบพันธุ์
                     การย่อยอาหาร การหายใจ ฯลฯ
 ตัวอย่าง            อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา          เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เซลล์ประสาท

ส่วนประกอบและหน้าที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ส่วนประกอบ                           ลักษณะและหน้าที่                     เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. ผนังเซลล์ (cell wall)  เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปอยู่ได้                -
2.เยื่อหุ้มเซลล์ (cell    ห่อหุมไซโทพลาซึม ควบคุมการเข้าออกของสาร ให้นา
                                ้
                                                                                            
membrane)                 ออกซิเจน ผ่านได้ โปรตีน ไขมันผ่านไม่ได้
3.นิวเคลียส (nucleus)     รูปร่างกลมอยู่ตรงกลางเซลล์ ควบคุมลักษณะการ
                          ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสังเคราะห์โปรตีน                           
                          กระบวนการเมแทบอลึซึม
4.ไซโทพลาซึม              เป็นของเหลวอยู่รอบนิวเคลียส มีองค์ประกอบของ
(cytoplasm)               เซลล์ที่เรียกว่าออแกเนลล์ เป็นศูนย์กลางการทางาน                   
                          ของเซลล์ เป็นแหล่งเกิดปฏิกิรยาเคมี
                                                        ิ
4.1 กอลจิบอดี (golgi      เป็นถุงแบนๆเรียงซ้อนกัน มีเยื่อหุ้มชันเดียว สังเคราะห์
                                                                                            
body)                     คาร์โบไฮเดรตและดัดแปลงโปรตีน
4.2 ร่างแหเอนโดพลาสมิก ถ้ามีไรโบโซมมาเกาะ สังเคราะห์โปรตีนและเอนไซม์
(endoplasmic              ถ้าเป็นชนิดเรียบ จะสังเคราะห์ไขมัน ทาลายสารพิษ                    
reticulum;ER)
4.3 ไมโทคอนเดรีย          เป็นก้อนกลม มีเยื่อหุ้ม 2 ชัน ผลิตสารที่ให้พลังงานสูง
                                                                                            
(mitochondria)            (adenosine triphosphate;ATP) ให้แก่เซลล์
4.4 คลอโรพลาสต์           เป็นก้อนกลม มีผนัง 2 ชัน ชันนอกควบคุมปริมาณและ
(chloroplast)             ชนิดของสาร ชันในมีรงควัตถุสีเขียวเรียกว่า
                                                                                            -
                          คลอโรฟิลล์ (chlorophll) จะดูดซับพลังงานแสงใช้ใน
                          การสังเคราะห์ด้วยแสง
4.5 แวคิวโอล (vacuole) เป็นถุง มีเยื่อบางๆหุ้ม สะสมนา อาหาร ของเสียใน
                                                                                            -
                          เซลล์
4.6 ไลโซโซม (lysosome) รูปร่างค่อนข้างกลม มีเยื่อหุ้มชันเดียว มีเอนโซม์ย่อน
                          อินทรียสารและของเสียในเซลล์ พบมากในเซลล์เม็ด              -        
                          เลือดขาว
4.7 เซนทริโอล (centriole) มีขนาดเล็ก 1 คู่ อยู่ดานข้างของนิวเคลียส สร้างเส้น
                                                ้
                          ใยสปินเดิล ช่วยในการแบ่งเซลล์ และช่วยในการ                -        
                          เคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
การแพร่และออสโมซิส
การแพร่(diffusion) เป็นการกระจายอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไปยังที่มีความเข้มข้น
น้อย จนมีความเข้มข้นเท่ากัน
ปัจจัยที่มผลต่อการแพร่
          ี
    1.   ความเข้มข้น ถ้าทังสองบริเวณมีความเข้มข้นแตกต่างกันมากจะแพร่ได้เร็ว
    2.   อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง โมเลกุลเคลื่อนที่ได้เร็ว การแพร่จะแพร่ได้เร็ว
    3.   ความดัน ถ้าเพิ่มความดันโมเลกุลเคลื่อนที่ได้ดี การแพร่จะแพร่ได้เร็ว
    4.   ขนาดของอนุภาค ถ้าขนาดของอนุภาคเล็กจะแพร่ได้เร็วกว่า
    5.   ตัวกลาง ถ้าตัวกลางมีความหนืดสูงจะแพร่ได้ช้า

ตัวอย่าง
    - การแพร่ของด่างทับทิมในนา
    - การแพร่ของนาหอมในอากาศ
    - การแพร่ของแก๊สออกซิเจนในดินเข้าสู่เซลล์ของพืชบริเวณขนราก
    - การแพร่ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการหายใจของพืชออกทางปากใบ
    - การแพร่ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการสังเคราะห์แสงของพืชเข้าทางปากใบ
    - การแพร่ของแก๊สออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสงของพืชออกทางปากใบ
    - การแพร่ของเสียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการเมแทบอลิซึมเข้าสู่เลือดแล้วลาเลีบง
        ไปยังปอด เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของนาผ่านเยื่อกันที่เป็นเยื่อกึ่งซึมผ่านได้ หรือเยื่อหุมเซลล์ จะแพร่จะที่ๆ
                                                                                     ้
มีความเข้มข้นของนามากไปสู่ความเข้มข้นของนาน้อย จนมีความเข้มข้นของนาเท่ากัน
ตัวอย่าง
    - รากพืชดูดซึมนาในดิน
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ปัจจัยบางประการที่จาเป็น
    1. คลอโรฟิลล์ เป็นรงควัตถุสีเขียว มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ จะช่วยดูดพลังงานแสงเป็น
        พลังงานเคมีในรูปของนาตาลกลูโคส
2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้จากการแพร่ของอากาศเข้าทางปากใบ ในอากาศมีแก๊ส
      คาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 0.4 % แต่ถ้ามีปริมาณมากขึน การสังเคราะห์แสงก็จะมากขึน
   3. แสง เป็นปหล่งพลังงานสาหรับกระบวนการสังเคระห์ด้วยแสง ความเข้มของแสงมาก อัตราการ
      สังเคราะห์ด้วยแสงจะมาก แต่ถ้ามากเกินไปก็จะเป็นอันตรายต่อเนือเยื่อของพืช แสงสีม่วงมีผลต่อ
      การสังเคราะห์แสงมากที่สุด แสงสีเขียวมีผลต่อการสังเคราะห์แสงน้อยที่สุด
   4. นา ใช้ในกระบวนการสร้างอาหารของพืช ถ้าพืชขาดนาปากใบจะปิด ทาให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
      เข้าสู่ปากใบได้นอย
                      ้
ผลผลิตจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง




ความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวตและสิ่งแวดล้อม
                                                                 ิ
    1. แหล่งอาหารที่สาคัญ การสังเคราะห์แสงจะทาให้ได้สารอาหารประเภทนาตาลและแป้ง ซึ่ง
       สิ่งมีชีวตอื่นๆนาไปใช้ประโยชน์
                ิ
    2. แหล่งผลิตแก๊สออกซิเจนและลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
การลาเลียงนาของพืช
       พืชลาเลียงนาจากพืนดินเข้าสู่ราก โดยวิธี ออสโมซิส ส่วนแร่ธาตุจะแพร่เข้าสู่ขนรากโดยวิธีการ
แพร่แบบแอกทีฟทรานสปอร์ต นาและแร่ธาตุจะลาเลียงจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืชผ่านท่อลาเลียงนา
(xylem) เกิดขึนได้ตลอดเวลา เกิดมากในตอนกลางวัน เกิดได้เฉพาะจากล่างขึนบนเท่านัน
       การคายนาของพืช เป็นการแพร่ของนาในรูปของไอนาทางปากใบ พบมากที่สุดด้านท้องใบที่ไม่ได้
รับแสง เกิดมากในตอนกลางวัน
การลาเลียงอาหารของพืช
         นาตาลซึ่งเป็นอาหารของพืชจะถูกลาเลียงไปยังส่วนต่างๆของพืชทางท่อลาเลียงอาหาร (phloem)
เกิดได้ทังจากส่วนบนลงสู่ล่าง และจากล่างขึนบน




   - ท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงของลาต้นพืชใบเลียงคู่อาหารอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีท่อลาเลียงอาหาร
     อยู่ข้างนอกและท่อลาเลียงนาอยู่ข้างใน
   - ท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงของลาต้นพืชใบเลียงเดี่ยวจะอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย




   - ท่อลาเลียงนาของรากพืชใบเลียงคู่เป็นแฉกอยู่ตรงกลางมีท่อลาเลียงอาหารอยู่ระหว่างแฉก
   - ท่อลาเลียงอาหารของรากพืชใบเลียงเดี่ยวจะอยู่ระหว่างท่อลาเลียงนาสลับกันไป
โครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
        1. กลีบเลียง (sepal) ป้องกันอันตรายให้แก่ดอกไม้
        2. กลีบดอก (petal) ล่อแมลงช่วยผสมเกสร
        3. เกสรเพศผู้ (stamen) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้
               - ก้านชูอับละอองเรณู (filament)
               - อับเรณู หรืออับละอองเรณู (anther)
        4. เกสรเพศเมีย (pistil) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย
               - เกสรเพศเมีย (stigma)
               - ก้านชูเกสรเพศเมีย (style)
               - รังไข่ (overy) มีออวุล (ovule) เป็นเม็ดเล็กๆ ภายในมีไข่ (egg) เป็นเซลล์สืบพันธุ์
                   เพศเมีย
กระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
   1. การถ่ายละอองเรณู(pollination) ละอองเรณูจากเกสรเพศผู้ไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย
          - เกิดภายในต้นเดียวกันหรือในดอกเดียวกัน พืชจะมีลักษณะเหมือนต้นเดิม
          - เกิดข้ามต้น พืชที่ได้แตกต่างจากต้นเดิม
   2. การปฏิสนธิ(fertilization) เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เข้ารวมตัวกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
   1. การตอนกิ่ง
   2. การติดตา
   3. การปักชา
   4. การทาบกิ่ง
   5. การโน้มกิ่ง
   6. การเพาะเลียงเนือเยื่อ
การตอบสนองของพืชต่อแสง นา และการสัมผัส
   1. เนื่องจากการเจริญเติบโต
      1.1 การตอบสนองที่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
               - การตอบสนองต่อแสง ปลายยอดพืชจะเจริญเข้าหาแสง ปลายรากจะเจริญหนีแสง
               - การตอบสนองต่อนาหรือความชืน ปลายรากจะเจริญเข้าหานาหรือความชืน
- การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก ปลายยอดจะเจริญหนีแรงโน้มถ่วง ปลายราก
                  จะเจริญเข้าหาแรงโน้มถ่วง
               - การตอบสนองต่อสารเคมี หลอดละอองเรณูจะเจริยเข้าหาออวุลที่มสาระละลาย
                                                                                 ี
                  นาตาล
               - การตอบสนองต่อการสัมผัส การเจริญของมือเกาะ จะบิดลาต้นรอบๆเป็นเกลียวพัน
                  หลักไว้
      1.2 การตอบสนองที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
              - การตอบสนองต่อแสง ดอกบัวบานตอนกลางวัน หุบในตอนกลางคืน
              - การตอบสนองต่ออุณหภูมิ ดอกบัวสวรรค์บานเมื่ออุณหภูมิต่า ดอกปิวลิปบานเมื่อ
                 อุณหภูมิสูง
   2. เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณนาภายในเซลล์
              - การตอบสนองต่อการสัมผัส เช่น ไมยราบ กาบหอยแครง เนื่องจาก โคนก้านใบมีกลุ่ม
                 เซลล์ที่มีความไวต่อการสัมผัสสูง อยู่รวมกันเป็นกระเปาะเรียกว่า pulvinus เมื่อมีการ
                 สัมผัสจึงสูญเสียนาไปยังช่องว่างรหว่างเซลล์อย่างรวดเร็ว ทาให้ใบหุบ สักครู่หนึ่งจะ
                 ซึมเข้าสู่เซลล์กลุ่มนีใหม่จนเต่ง ใบจึงกางเหมือนเดิม
              - การตอบสนองต่อแสง เช่น กระถิน จามจุรี พืชตระกูลถั่ว เมื่อความเข้มแสงลดลง นา
                 จะเคลื่อนที่ออกนอกเซลล์ ทาให้แรงดันแต่งภายในลดลง ใบจะหุบ เรียกว่าต้นไม้นอน
                 หรือการเปิดปิดของปากใบ ในตอนกลางวัน มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ทาให้มี
                 นาตาลมาก นาจากเซลล์ข้างเคียงตึงแพร่ผ่านเข้าสู่เซลล์คุมจนเต่ง ปากใบจึงเปิด ส่วน
                 กลางคืนไม่มการสังเคราะห์ด้วยแสง เซลล์คุมแพร่นาออกมาปากใบจึงปิด
                               ี
หลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืช
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
   1. การเพาะเลียงเนือเยื่อ (tissue culture)
      นาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลียงในอาหารวิทยาศาสตร์ เช่น กล้วยไม้ ข้าว ต้นสัก ปาล์มนามัน
      คาร์เนชั่น บอน
   2. การทาเมล็ดเทียม (artificial seed)
      พัฒนามาจากการเพาะเลียงเนือเยื่อ โดยนาเซลล์ที่เจิญมาจากการเพาะเลียงเนือเยื่อมาทาให้เกิด
      เอ็มบริโอเรียกว่า โซมาติก เอมบริโอ
   3. พันธุวิศวกรรม GMOs เป็นการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม ตัดแต่งยีน

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 

En vedette

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)rutchadaphun123
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 

En vedette (16)

5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
Cell
CellCell
Cell
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similaire à สรุปเซลล์

บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 

Similaire à สรุปเซลล์ (20)

Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
4
44
4
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 

Plus de สายฝน ต๊ะวันนา

ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 

Plus de สายฝน ต๊ะวันนา (20)

Hb5
Hb5Hb5
Hb5
 
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
 
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
 
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
 
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
 
อัตราว่าง
อัตราว่างอัตราว่าง
อัตราว่าง
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัมการเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
 
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัมการเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
Sb2
Sb2Sb2
Sb2
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด dวิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด c
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด cวิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด c
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด c
 

สรุปเซลล์

  • 1. รูปร่างและลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวตหลายเซลล์ ิ ิ ลักษณะที่สาคัญ เซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์เดียว ิ เซลล์ของสิ่งมีชีวตเซลล์หลายเซลล์ ิ รูปร่างและลักษณะ รูปร่างและลักษณะไม่ซับซ้อน รูปร่างลักษณะแตกต่างกัน หน้าที่ ดาเนินกิจกรรมในการดารงชีวตเซลล์ มีหน้าที่แตกต่างกัน ิ เดียว เช่น การกินอาหาร การสืบพันธุ์ การย่อยอาหาร การหายใจ ฯลฯ ตัวอย่าง อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เซลล์ประสาท ส่วนประกอบและหน้าที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
  • 2. ส่วนประกอบ ลักษณะและหน้าที่ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. ผนังเซลล์ (cell wall) เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปอยู่ได้  - 2.เยื่อหุ้มเซลล์ (cell ห่อหุมไซโทพลาซึม ควบคุมการเข้าออกของสาร ให้นา ้   membrane) ออกซิเจน ผ่านได้ โปรตีน ไขมันผ่านไม่ได้ 3.นิวเคลียส (nucleus) รูปร่างกลมอยู่ตรงกลางเซลล์ ควบคุมลักษณะการ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสังเคราะห์โปรตีน   กระบวนการเมแทบอลึซึม 4.ไซโทพลาซึม เป็นของเหลวอยู่รอบนิวเคลียส มีองค์ประกอบของ (cytoplasm) เซลล์ที่เรียกว่าออแกเนลล์ เป็นศูนย์กลางการทางาน   ของเซลล์ เป็นแหล่งเกิดปฏิกิรยาเคมี ิ 4.1 กอลจิบอดี (golgi เป็นถุงแบนๆเรียงซ้อนกัน มีเยื่อหุ้มชันเดียว สังเคราะห์   body) คาร์โบไฮเดรตและดัดแปลงโปรตีน 4.2 ร่างแหเอนโดพลาสมิก ถ้ามีไรโบโซมมาเกาะ สังเคราะห์โปรตีนและเอนไซม์ (endoplasmic ถ้าเป็นชนิดเรียบ จะสังเคราะห์ไขมัน ทาลายสารพิษ   reticulum;ER) 4.3 ไมโทคอนเดรีย เป็นก้อนกลม มีเยื่อหุ้ม 2 ชัน ผลิตสารที่ให้พลังงานสูง   (mitochondria) (adenosine triphosphate;ATP) ให้แก่เซลล์ 4.4 คลอโรพลาสต์ เป็นก้อนกลม มีผนัง 2 ชัน ชันนอกควบคุมปริมาณและ (chloroplast) ชนิดของสาร ชันในมีรงควัตถุสีเขียวเรียกว่า  - คลอโรฟิลล์ (chlorophll) จะดูดซับพลังงานแสงใช้ใน การสังเคราะห์ด้วยแสง 4.5 แวคิวโอล (vacuole) เป็นถุง มีเยื่อบางๆหุ้ม สะสมนา อาหาร ของเสียใน  - เซลล์ 4.6 ไลโซโซม (lysosome) รูปร่างค่อนข้างกลม มีเยื่อหุ้มชันเดียว มีเอนโซม์ย่อน อินทรียสารและของเสียในเซลล์ พบมากในเซลล์เม็ด -  เลือดขาว 4.7 เซนทริโอล (centriole) มีขนาดเล็ก 1 คู่ อยู่ดานข้างของนิวเคลียส สร้างเส้น ้ ใยสปินเดิล ช่วยในการแบ่งเซลล์ และช่วยในการ -  เคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
  • 3. การแพร่และออสโมซิส การแพร่(diffusion) เป็นการกระจายอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไปยังที่มีความเข้มข้น น้อย จนมีความเข้มข้นเท่ากัน ปัจจัยที่มผลต่อการแพร่ ี 1. ความเข้มข้น ถ้าทังสองบริเวณมีความเข้มข้นแตกต่างกันมากจะแพร่ได้เร็ว 2. อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง โมเลกุลเคลื่อนที่ได้เร็ว การแพร่จะแพร่ได้เร็ว 3. ความดัน ถ้าเพิ่มความดันโมเลกุลเคลื่อนที่ได้ดี การแพร่จะแพร่ได้เร็ว 4. ขนาดของอนุภาค ถ้าขนาดของอนุภาคเล็กจะแพร่ได้เร็วกว่า 5. ตัวกลาง ถ้าตัวกลางมีความหนืดสูงจะแพร่ได้ช้า ตัวอย่าง - การแพร่ของด่างทับทิมในนา - การแพร่ของนาหอมในอากาศ - การแพร่ของแก๊สออกซิเจนในดินเข้าสู่เซลล์ของพืชบริเวณขนราก - การแพร่ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการหายใจของพืชออกทางปากใบ - การแพร่ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการสังเคราะห์แสงของพืชเข้าทางปากใบ - การแพร่ของแก๊สออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสงของพืชออกทางปากใบ - การแพร่ของเสียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการเมแทบอลิซึมเข้าสู่เลือดแล้วลาเลีบง ไปยังปอด เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของนาผ่านเยื่อกันที่เป็นเยื่อกึ่งซึมผ่านได้ หรือเยื่อหุมเซลล์ จะแพร่จะที่ๆ ้ มีความเข้มข้นของนามากไปสู่ความเข้มข้นของนาน้อย จนมีความเข้มข้นของนาเท่ากัน ตัวอย่าง - รากพืชดูดซึมนาในดิน การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ปัจจัยบางประการที่จาเป็น 1. คลอโรฟิลล์ เป็นรงควัตถุสีเขียว มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ จะช่วยดูดพลังงานแสงเป็น พลังงานเคมีในรูปของนาตาลกลูโคส
  • 4. 2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้จากการแพร่ของอากาศเข้าทางปากใบ ในอากาศมีแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 0.4 % แต่ถ้ามีปริมาณมากขึน การสังเคราะห์แสงก็จะมากขึน 3. แสง เป็นปหล่งพลังงานสาหรับกระบวนการสังเคระห์ด้วยแสง ความเข้มของแสงมาก อัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงจะมาก แต่ถ้ามากเกินไปก็จะเป็นอันตรายต่อเนือเยื่อของพืช แสงสีม่วงมีผลต่อ การสังเคราะห์แสงมากที่สุด แสงสีเขียวมีผลต่อการสังเคราะห์แสงน้อยที่สุด 4. นา ใช้ในกระบวนการสร้างอาหารของพืช ถ้าพืชขาดนาปากใบจะปิด ทาให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าสู่ปากใบได้นอย ้ ผลผลิตจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวตและสิ่งแวดล้อม ิ 1. แหล่งอาหารที่สาคัญ การสังเคราะห์แสงจะทาให้ได้สารอาหารประเภทนาตาลและแป้ง ซึ่ง สิ่งมีชีวตอื่นๆนาไปใช้ประโยชน์ ิ 2. แหล่งผลิตแก๊สออกซิเจนและลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ การลาเลียงนาของพืช พืชลาเลียงนาจากพืนดินเข้าสู่ราก โดยวิธี ออสโมซิส ส่วนแร่ธาตุจะแพร่เข้าสู่ขนรากโดยวิธีการ แพร่แบบแอกทีฟทรานสปอร์ต นาและแร่ธาตุจะลาเลียงจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืชผ่านท่อลาเลียงนา (xylem) เกิดขึนได้ตลอดเวลา เกิดมากในตอนกลางวัน เกิดได้เฉพาะจากล่างขึนบนเท่านัน การคายนาของพืช เป็นการแพร่ของนาในรูปของไอนาทางปากใบ พบมากที่สุดด้านท้องใบที่ไม่ได้ รับแสง เกิดมากในตอนกลางวัน
  • 5. การลาเลียงอาหารของพืช นาตาลซึ่งเป็นอาหารของพืชจะถูกลาเลียงไปยังส่วนต่างๆของพืชทางท่อลาเลียงอาหาร (phloem) เกิดได้ทังจากส่วนบนลงสู่ล่าง และจากล่างขึนบน - ท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงของลาต้นพืชใบเลียงคู่อาหารอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีท่อลาเลียงอาหาร อยู่ข้างนอกและท่อลาเลียงนาอยู่ข้างใน - ท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงของลาต้นพืชใบเลียงเดี่ยวจะอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย - ท่อลาเลียงนาของรากพืชใบเลียงคู่เป็นแฉกอยู่ตรงกลางมีท่อลาเลียงอาหารอยู่ระหว่างแฉก - ท่อลาเลียงอาหารของรากพืชใบเลียงเดี่ยวจะอยู่ระหว่างท่อลาเลียงนาสลับกันไป
  • 6. โครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช 1. กลีบเลียง (sepal) ป้องกันอันตรายให้แก่ดอกไม้ 2. กลีบดอก (petal) ล่อแมลงช่วยผสมเกสร 3. เกสรเพศผู้ (stamen) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ - ก้านชูอับละอองเรณู (filament) - อับเรณู หรืออับละอองเรณู (anther) 4. เกสรเพศเมีย (pistil) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย - เกสรเพศเมีย (stigma) - ก้านชูเกสรเพศเมีย (style) - รังไข่ (overy) มีออวุล (ovule) เป็นเม็ดเล็กๆ ภายในมีไข่ (egg) เป็นเซลล์สืบพันธุ์ เพศเมีย กระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก 1. การถ่ายละอองเรณู(pollination) ละอองเรณูจากเกสรเพศผู้ไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย - เกิดภายในต้นเดียวกันหรือในดอกเดียวกัน พืชจะมีลักษณะเหมือนต้นเดิม - เกิดข้ามต้น พืชที่ได้แตกต่างจากต้นเดิม 2. การปฏิสนธิ(fertilization) เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เข้ารวมตัวกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช 1. การตอนกิ่ง 2. การติดตา 3. การปักชา 4. การทาบกิ่ง 5. การโน้มกิ่ง 6. การเพาะเลียงเนือเยื่อ การตอบสนองของพืชต่อแสง นา และการสัมผัส 1. เนื่องจากการเจริญเติบโต 1.1 การตอบสนองที่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า - การตอบสนองต่อแสง ปลายยอดพืชจะเจริญเข้าหาแสง ปลายรากจะเจริญหนีแสง - การตอบสนองต่อนาหรือความชืน ปลายรากจะเจริญเข้าหานาหรือความชืน
  • 7. - การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก ปลายยอดจะเจริญหนีแรงโน้มถ่วง ปลายราก จะเจริญเข้าหาแรงโน้มถ่วง - การตอบสนองต่อสารเคมี หลอดละอองเรณูจะเจริยเข้าหาออวุลที่มสาระละลาย ี นาตาล - การตอบสนองต่อการสัมผัส การเจริญของมือเกาะ จะบิดลาต้นรอบๆเป็นเกลียวพัน หลักไว้ 1.2 การตอบสนองที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า - การตอบสนองต่อแสง ดอกบัวบานตอนกลางวัน หุบในตอนกลางคืน - การตอบสนองต่ออุณหภูมิ ดอกบัวสวรรค์บานเมื่ออุณหภูมิต่า ดอกปิวลิปบานเมื่อ อุณหภูมิสูง 2. เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณนาภายในเซลล์ - การตอบสนองต่อการสัมผัส เช่น ไมยราบ กาบหอยแครง เนื่องจาก โคนก้านใบมีกลุ่ม เซลล์ที่มีความไวต่อการสัมผัสสูง อยู่รวมกันเป็นกระเปาะเรียกว่า pulvinus เมื่อมีการ สัมผัสจึงสูญเสียนาไปยังช่องว่างรหว่างเซลล์อย่างรวดเร็ว ทาให้ใบหุบ สักครู่หนึ่งจะ ซึมเข้าสู่เซลล์กลุ่มนีใหม่จนเต่ง ใบจึงกางเหมือนเดิม - การตอบสนองต่อแสง เช่น กระถิน จามจุรี พืชตระกูลถั่ว เมื่อความเข้มแสงลดลง นา จะเคลื่อนที่ออกนอกเซลล์ ทาให้แรงดันแต่งภายในลดลง ใบจะหุบ เรียกว่าต้นไม้นอน หรือการเปิดปิดของปากใบ ในตอนกลางวัน มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ทาให้มี นาตาลมาก นาจากเซลล์ข้างเคียงตึงแพร่ผ่านเข้าสู่เซลล์คุมจนเต่ง ปากใบจึงเปิด ส่วน กลางคืนไม่มการสังเคราะห์ด้วยแสง เซลล์คุมแพร่นาออกมาปากใบจึงปิด ี หลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืช และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1. การเพาะเลียงเนือเยื่อ (tissue culture) นาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลียงในอาหารวิทยาศาสตร์ เช่น กล้วยไม้ ข้าว ต้นสัก ปาล์มนามัน คาร์เนชั่น บอน 2. การทาเมล็ดเทียม (artificial seed) พัฒนามาจากการเพาะเลียงเนือเยื่อ โดยนาเซลล์ที่เจิญมาจากการเพาะเลียงเนือเยื่อมาทาให้เกิด เอ็มบริโอเรียกว่า โซมาติก เอมบริโอ 3. พันธุวิศวกรรม GMOs เป็นการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม ตัดแต่งยีน