SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   138




การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   139




 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการ                                           บทที่ 9
เรียนรู้

โครงร่างเนื้อหาของบท                                                  คาสาคัญ
    1. การเตรียมสาหรับจัดประสบการเรียนรู้                         การเตรียมสื่อการเรียนรู้
    2. การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์                  การเตรียมสิ่งแวดล้อม
    3. การใช้สื่อประเภทวิธีการ                                     ทางการเรียนรู้
                                                                  การเตรียมผู้เรียน
วัตถุประสงค์การเรียนรู้                                           การเรียนแบบร่วมมือ
    1. อธิบายความหมาย หลักการเตรียมสาหรับจัดประสบการ  การเรียนรู้แบบ
        เรียนรู้ การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และ     โครงงาน
        การใช้สื่อประเภทวิธีการ
                                                                  การเรียนรู้แบบใช้ปัญหา
    2. วางแผนการใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ      เป็นฐาน
        เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้ทตนเองรับผิดชอบได้
                                        ี่
                                                                  การเรียนรู้แบบสร้างองค์
กิจกรรมการเรียนรู้                                                 ความรู้
    1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง การเลือกใช้สื่อ
                                                                  การเรียนรู้แบบสืบเสาะ
        และวิธีการจัดการเรียนรู้
    2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษา
        สถานการณ์ปัญหา วิเคราะห์ทาความเข้าใจค้นหาคาตอบ
        จากเอกสารประกอบการสอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย
        และร่วมกันสรุปคาตอบ
    3. นักศึกษาร่วมกันวางแผนการออกแบบสื่อวัสดุกราฟิก ที่
        สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้ที่ตนเอง
        รับผิดชอบ
    4. นักศึกษานาเสนอผลงาน ร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ
        แลกเปลียนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้งประเด็น และอธิบาย
                  ่
        เพิ่มเติม

สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
         ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
ประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด ผู้อานวยการ
โรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็กเก่งด้วย ยิ่งทาให้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   140



ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่และนั กเรียนจะสนุกหรือสนใจ
ในวิ ธีก ารสอนของตนเองหรือ ไม่ ที่ สาคัญ คือ นัก เรี ยนห้อ งนี้ มีลั กษณะที่ชอบค้น คว้ า หาความรู้
กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้ง
ยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
มาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จ
เท่าที่ควร ซึ่งผู้อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัยหาการ
เรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้
ภารกิจ
         1. ครู พ ลกิ ต จะมี ห ลั ก ในการเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ มี
ประสิทธิภาพได้อย่างไร
         2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลื อกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะสอดคล้องกับ
ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้




 การเตรียมสาหรับจัดประสบ                                                 การใช้สื่อประเภทเครื่องมือ
         การเรียนรู้                                                         และวัสดุอุปกรณ์




                                            สาระสาคัญ
                                             ในบทที่ 9
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้     141




                                         การใช้สื่อประเภทวิธีการ


            นอกจากการผลิตสื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้สอนควรเข้าใจถึงหลักการใช้สื่อ
ประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถดาเนินการจัดการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น สื่อแต่ละประเภทนั้นมี
คุณลักษณะและวิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังเช่น วีดิทัศน์ ต้องใช้ ในสถานที่สามารถควบคุมแสง
เสียงและมีที่นั่งที่ให้ผู้เรียนชมรายการต่างๆได้อย่างทั่วถึง นอกจากสภาพแวดล้อมของการใช้สื่อแล้ว
การเลือกใช้สื่อประเภทวิธีการจัดการเรียนรู้ก็เป็นสิ่งที่สาคัญ โดยเฉพาะในปัจจุบัน การศึกษาไทยที่
มุ่งเน้นไท่เพียงแต่องค์ความรู้เท่านั้น แต่ยังเน้นที่วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนการการได้มาซึ่งองค์ความรู้
ของตนเอง สามารถนามาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อน ปัญหาที่แปลกใหม่ ที่ต้องอาศัย
ทักษะขั้นสูงในการคิดหาวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมในแต่บริบท รวมทั้งสามารถประยุกต์องค์
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองได้ ดังนั้นในบทนี้จะนาเสนอให้เห็นถึงว่าผู้สอนควรจะมีหลัก
ในการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร และนาเสนอรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรุปแบบต่างๆที่สามารถประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนจริงได้




การเตรียมสาหรับจัดประสบการเรียนรู้

              การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรดาเนินการจัดเตรียมความพร้อมและสิ่งที่
จะสนั บ สนุ น การจั ด ประสบการณ์ เ รี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายและเกิ ด การเรี ย นรู้ ที่ ดี
ซึ่ ง ผู้ ส อนจะต้ อ งจั ด เตรี ย มความพร้ อ มของสื่ อ และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ สิ่ ง แวดล้ อ มทางการเรี ย นรู้
ความพร้อมของผู้เรียน และกระบวนการตามบทเรียนที่วางไว้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
การเตรียมสื่อการเรียนรู้
         ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้
ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความพร้ อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสื่อที่
ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนาเสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้
งานได้ ตลอดจนการออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะ
แสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้ สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อน
การจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
         1. ก่อนการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้       142



              1.1 ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการศึกษาวิธีการใช้งานสื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ให้
                  เกิดความชานาญ
              1.2 ตรวจสอบความพร้อมของสื่อว่าสามารถใช้งานได้จริง
              1.3 เก็บสื่อและวัสดุการเรียนให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน
              1.4 กรณีใช้สื่อที่มีเสียงประกอบหรือวีดิทัศน์ ควรทดสอบว่าสามารถแสดงผลได้
                  ตามที่ต้องการหรือไม่
              1.5 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสื่อต่างๆนั้นผู้เรียนสามารถมองเห็นหรือได้ยินอย่างทั่วถึง
                  ในชั้นเรียน
           2. ระหว่างการจัดการเรียนรู้
              2.1 มีการเน้นสาระสาคัญ ความคิดยอดที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ใจด้วยการเขียนบน
                  กระดานหรือเน้นลงในสื่อ
           3. หลังการจัดการเรียนรู้
              3.1 ปฏิบัติตามที่กาหนดในบทเรียนด้วยการอภิปราย การทาโครงงานหรือกิจกรรม
                  อื่นๆที่ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้
การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
            ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้องกาหนดหรือจัด เตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน
สามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าการจัดการเรียนรู้นั้นจะเกิดในห้องเรียน
ก็ต้องเตรียมความพร้อมของห้องเรียนในน่าเรียน เอื้อต่อการจัดกิ จกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมการ
เรียนรู้อื่นๆ บางวิชาอาจต้องใช้ห้องปฏิบัติการดังเช่น วิทยาศาสตร์และภาษา ครูจะต้องเตรียมความ
พร้อมของห้องปฏิบัติการเหล่านั้นให้สามารถใช้การได้ทั้งสิ่งดานวยความสะดวกต่างๆ ดังเช่น แสง
ไฟ เครื่องเสียง ปลั๊กไฟ หรืออุปกรณ์ทดลองเฉพาะ เป็นต้น ให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีสภาพที่พร้อมใช้
งานได้จริง
การเตรียมผู้เรียน
                 เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งจาก
ผลการวิจัยเกี่ยวกับจัดการเรียนรู้ยืนยันถึงความชัดเจนที่ว่าผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่า
ผู้ เ รี ย นนั้ น เตรี ย มตั ว และเตรี ย มความพร้ อ มในการเรี ย นอย่ า งไร ดั งนั้ น การเตรี ย มผู้ เ รี ย นจึ ง มี
ความสาคัญมากเมื่อผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลง
มือปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
                 การเตรี ย มผู้ เ รี ย นอาจเริ่ ม ด้ ว ยการให้ ม โนมิ ติ ท างการเรี ย น (Advance organizer)
ล่วงหน้าก่อนเรียน โดยการจัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า การแนะนากิจกรรมการ
เรียน หรือการให้สารสนเทศที่สาคัญก่อนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ ความรู้และทัศนคติที่
ดีต่อการเรียน โดยมีเป้าหมายที่สาคัญคือการทาให้ ผู้เรียนใส่ใจ และสร้างความต้องการที่จะเรียนรู้
จากสื่อหรือวิธีการที่ครูจัดไว้ในบทเรียน (Ausubel, 1968)
                 ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศ
ก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรกของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง
เทคนิ ค ที่ ส าคั ญ ที่ ผู้ ส อนสามารถน าไปใช้ ไ ด้ ดั ง เช่ น การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ดี
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้     143



(Warmup) ให้ กับผู้ เรี ย น ด้ว ยการน าเสนอให้ ผู้เ รียนทราบถึงสาระสาคัญ ของการสอน การจั ด
กิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเกี่ยวข้องกับบทเรียนกับประสบการณ์เดิมและหัวข้อ
หรือเนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต
การดาเนินการตามบทเรียน
             หลังจากที่ผู้สอนได้เตรียมการทั้งสื่อ สิ่งแวดล้อมทางการเรียน และผู้เรียนเป็นที่เรียบร้อย
แล้วเพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไปอย่างราบรื่นบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ควร
ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
                  การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน ผู้สอนควรอธิบายภารกิจการเรียนรู้หรือ
สถานการณ์ให้ผู้เรียนทราบถึงแนวทางปฏิบัติในการเรียน และจะต้องตรวจสอบความเข้าใจของ
ผู้เรียนเกี่ยวกับขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม
                  การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องวางขั้นตอนของกิจกรรมให้ง่าย
และขับเคลื่อนให้ผู้เรียนสามารถดาเนินการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมายของกิจกรรม
                  การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับภารกิจที่ได้รับ
ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการเรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็น
ถึงมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับภารกิจทั้งประเด็นและแนวทางแก้ปัญหา การส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างที่อยู่รอบตัวเพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหา
                  การตั้งคาถามในระหว่างเรียน การตั้งคาถาม เป็นเทคนิคที่ผู้สอนสามารถใช้ใน
การกระตุ้นความสนใจเกี่ย วกับการเรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด ทั้งยังเป็นการประเมินเพื่อ
พัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในขณะเรียนได้เป็นอย่างดี

 การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์

           ในการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งนั้น ผู้สอนจะใช้สื่อประกอบเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ
บทเรียน นาเสนอบทเรียน กระตุนความสนใจในการเรียน และสามารถให้ผู้เรียนมีปฏิสมพันธ์กับสื่อ
                                ้                                                      ั
เพื่อสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนควรรู้หลักการในการใช้สื่อเพื่อให้
การดาเนินการจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้สื่อมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์
                สื่อประเภทมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในชั้นเรียน
ปั จ จุ บั น เนื่ อ งจากสามารถกระตุ้ น ความสนใจของผู้ เ รี ย นได้ เ ป็ น อย่ า งดี ฝึ ก ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้
คอมพิ ว เตอร์ ใ นการโต้ต อบและมี ปฏิ สัม พั นธ์ กับ ผู้ เรี ย น
ใ น ข ณ ะ เ รี ย น รู้ ทั้ ง ยั ง ส า ม า ร ถ น า เ ส น อ ไ ด้ ทั้ ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการแสดงภาพจาลองเหตุการณ์
เพื่ อ ให้ ผู้ เรี ย นสร้ างความเข้ า ใจได้ง่า ย แนวทางส าหรั บ
ผู้ ส อนในการสื่ อ ประเภทมั ล ติ มี เ ดี ย และโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ มีดังต่อไปนี้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   144



               ใช้จอหน้าเสนอที่มีความเหมาะสมสาหรับจานวนนักเรียนในชั้น จะต้องมั่นใจว่า
ผู้เรียนทุกคนสามารถมองเห็นภาพผ่านจอคอมพิวเตอร์หรือจอฉายภาพที่เห็นได้ทั่วทั้งชั้น
               ติ ด ตั้ ง และทดสอบทุ ก โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ กี่ ย วกั บ การน าเสนอเนื้ อ หา
บทเรียน
               เปิดใช้งานมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผ่านฮาร์ดดิส ค์มากกว่าเล่นจาก
แผ่น เนื่องจากจะมีความไวในการนาเสนอเนื้อหาบทเรียนสูงกว่า
               กระตุ้นผู้เรียนในมีส่วนร่วมด้วยการใช้คาถาม

การใช้สื่อวีดิทัศน์
                สื่อวีดิทัศน์ สามารถแสดงให้ผู้เรียนได้สัมผัสถึงความเหมือนจริง และบริบทต่างๆของ
เนื้อหา ทั้งรูปแบบ สีสันที่สร้างแรงจูงใจ ผ่านทาง
จอโทรทัศน์ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับสารที่นาเสนอ ดังนั้น
เพื่ อ ให้ผู้ เ รี ยนตื่ น ตัว ในการเรีย นรู้ จากสื่ อวี ดิ ทั ศ น์
ผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนชมวีดิทัศน์ด้วย
กิจกรรมที่ตื่นตัวในชั้นเรียน แนวทางสาหรับผู้สอน
ในการสื่อวีดิทัศน์ มีดังต่อไปนี้
                       ตรวจสอบความสว่างของแสง
ที่นั่ง และควบคุมความดังก่อนเปิดให้ผู้เรียนได้ชม
วีดิทัศน์
                       เตรียมผู้เรียนด้วยการทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วและถามถึงปัญหา
ใหม่ที่ให้ผู้เรียนคิดเพื่อหาคาตอบจากการชมวีดิทัศน์
                       หยุดวีดิทัศน์เมื่อถึงประเด็นสาคัญเพื่อให้ผู้เรียนได้ร่วมอภิปราย
                       เน้นหลักการที่สาคัญด้วยการเขียนสาระต่างๆบนกระดานหรือเครื่องฉาย
การใช้สื่อกราฟิก
          สื่อกราฟิก ประด้วย รูปภาพ ภาพลายเส้น แผนภูมิ แผนภาพ และสื่ออื่นๆที่ช่วยให้ผู้เรียน
มองเห็ น เห็ น สาระที่ ผู้ ส อนต้ องการน าเสนอ ซึ่ งสื่ อ ประเภทนี้จ ะใช้ ค วบคู่ กั บเนื้ อหาที่มี ใ นต ารา
ประกอบสอน ที่ ผู้ ส อนต้ อ งให้ ผู้ เ รี ย นมองเห็ น ภาพได้ ง่ า ยและ
ชัดเจนกว่าการอ่านเพียงอย่างเดียว แนวทางสาหรับผู้สอนในการ
สื่อกราฟิก มีดังต่อไปนี้
                 ใช้วัสดุที่ง่ายซึ่งผู้เรียนทุกคนสามารถมองเห็น
เช่น กระดาษชาร์ต แผ่นกระดาน เป็นต้น
                 ใช้การเขียนหรือคัดข้อความที่สาคัญเพื่อเน้น
สาระสาคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนมองอย่างใส่ใจ
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   145



 การใช้สื่อประเภทวิธีการ

            ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เปลี่ยนมามุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทในการ
ลงมือกระทา คิดและสร้างความรู้ขึ้นด้วยตนเอง ดังนั้นผู้สอนจึงควรเลือกใช้สื่อประเภทวิธีการที่
สอดคล้องกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ดังต่อไปนี้
การเรียนแบบร่วมมือ
            การเรียนแบบร่วมมือ เป็นกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้นักเรียน
เรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละความสามารถ ให้ทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการผสมผสาน
ความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ และค้นพบความหมายของสิ่งที่ศึกษาด้วยกลุ่ม โดยทากิจกรรมใน
การสืบค้น (Explore) อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหา
ร่วมกันในกลุ่ม เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน เป็นวิธีเรียนวิธีหนึ่งที่กาลังได้รับความสนใจและนาไป
ประยุกต์ในการเรียนการสอนทุกวิชาและทุกระดับชั้น รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่เป็นที่ยอมรับ
กันแพร่หลาย มีดังต่อไปนี้
         1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้มีเป้าหมาย
เพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์พลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสาคัญ
         2. TGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่คล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจใน
การเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย
         3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสานแนวคิด
ระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล (Individualized Instruction) รูปแบบ
ของ TAI เป็นการประยุกต์ใช้กับการสอนคณิตศาสตร์
         4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็นรูปแบบการเรียน
แบบร่ ว มมื อ แบบผสมผสาน ที่มุ่ งพัฒ นาขึ้ น เพื่ อ สอนการอ่ า นและการเขี ยนส าหรั บนั ก เรี ย น
ประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ
         5. Jigsaw ผู้ที่คิดค้นการเรียนการสอนแบบ Jigsaw เริ่มแรกคือ Elliot – Aronson และ
คณะ (1978) หลังจากนั้น สลาวินได้นาแนวคิดดังกล่าวมาปรับขยายเพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบ
การเรียนแบบร่วมมือมากยิ่งขึ้น เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่น
สังคมศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง รวมทั้งวิชาอื่นๆ ที่เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ
มากกว่าพัฒนาทักษะ
         6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่พัฒนาโดย Shlomo และ Yael Shsran ที่ใช้ในงาน
เฉพาะอย่าง ลักษณะสาคัญคือ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รบมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ
                                                                   ั
ทากิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วนาผลงานมารวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนามาเสนอ
ต่อชั้นเรียน
         7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่เปิดโอกาสให้
สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนก าลังศึกษา สิ่งที่ตนประทับใจให้เพื่อนๆ
ในกลุ่มฟัง
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้     146



         8. มุมสนทนา (Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มเข้าไปนั่งตามมุมหรือ
จุดต่าง ๆของห้องเรียน และช่วยกันหาคาตอบสาหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง
         9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน ให้นักเรียนจับคู่กัน
ทางาน คนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทาหน้าที่แก้โจทย์ เสร็จข้อที่ 1 แล้วให้สลับ
หน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นาคาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่อื่นในกลุ่ม
         10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ นักเรียนแต่ละคนจะต้องคิด
คาตอบของตนเอง นาคาตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นาคาตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง
         11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เริ่มจากครูถามคาถาม เปิดโอกาสให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่ม
หนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคาถาม เป็นวิธีการที่นิยมใช้ในการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ
         12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ จอห์นสันและจอห์นสัน (Johmson and
Johmson, 1989) กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์
เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและกระบวนการ และสามารถ
ที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่างคล่องแคล่ว
การเรียนรู้แบบโครงงาน
          การเรี ย นรู้ แ บบโครงงานเป็ น การเรี ย นรู้ ที่ เ ชื่ อ มโยงหลั ก การพั ฒ นาการคิ ด ของบลู ม
(Bloom) ทั้ง 6 ขั้น กล่าวคือ ความรู้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การ
นาไปใช้ (Application) การวิ เคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่ า
(Evaluation) และยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้
ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการ
ประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานมีดังต่อไปนี้
(สกศ., 2550)
        ระยะที่ 1 การเริ่มโครงงาน
        เป็นระยะที่ผู้สอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน โดยอาจศึกษาเรื่องจาก
การบอกเล่าของผู้ใหญ่หรือผู้รู้ จากประสบการณ์ของผู้เรียน/ผู้สอน จากเอกสารสิ่งพิมพ์หรือสื่อ
ต่างๆ จากการเล่นของผู้เรียน จากความคิดที่เกิดขึ้น จากวัตถุสิ่งของที่ผู้สอนนามาในห้องเรียน หรือ
จากตัวอย่างโครงงานที่ผู้อื่นทาไว้แล้ว เป็นต้น จากนั้นตกลงร่วมกันในการเลือกเรื่องที่ต้องการศึกษา
อย่างละเอียด



       ระยะที่ 2 ขั้นพัฒนาโครงงาน
       เป็ น ขั้ น ที่ ผู้ เ รี ย นก าหนดหั ว ข้ อ ค าถามหรื อ ประเด็ น ปั ญ หาที่ ผู้ เ รี ย นสนใจอยากรู้ แล้ ว
ตั้งสมมติฐานเพื่ อตอบคาถามเหล่านั้น มีการทดสอบสมมติฐ านด้ วยการลงมื อปฏิ บัติจนค้นพบ
คาตอบด้วยตนเอง ตามขั้นตอน ดังนี้
                            1. ผู้เรียนกาหนดปัญหาที่จะศึกษา
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   147



                       2. ผู้เรียนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น
                       3. ผู้เรียนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น
                       4. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้จากผลการตรวจสอบสมมติฐาน
              หากการตรวจสอบไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ผู้สอนควรให้กาลังผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียน
แสวงหาความรู้เพิ่มเติม
              หากผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมติฐาน ให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้จากการค้นพบ
ด้วยการลงมือปฏิบัติของผู้เรียนเอง
              เมื่อได้องค์ความรู้ใหม่แล้ว ผู้เรียนจะนาองค์ความรู้นั้นไปใช้ในการทากิจกรรมตามความ
สนใจต่อไป ผู้เรียนอาจใช้ความรู้ที่ค้นพบเป็นพื้นฐานของการกาหนดประเด็นปัญหาขึ้นมาใหม่เพื่อ
กาหนดเป็นโครงงานย่อยและศึกษารายละเอียดในเรื่องนั้นต่อไปอีก
        ระยะที่ 3 ขั้นสรุป
        เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียนค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว และได้แสดงให้ผู้สอน
เห็นว่าได้สิ้นสุดความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่มหันเหความสนใจไปสู่เรื่องใหม่ ระยะนี้เป็น
ระยะที่ผู้สอนและผู้เรียนจะได้แบ่งปันประสบการณ์การทางานและแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของ
การทางานตลอดโครงงานแก่คนอื่น ๆ มีกิจกรรมที่ผู้เรียนดาเนินการในขั้นตอนนี้ ดังนี้
                       1. ผู้เรียนเขียนรายงานเป็นรูปแบบงานวิจัยเล็ก ๆ
                       2. ผู้เรียนนาเสนอผลงาน โดยอาจแสดงเป็นแผงโครงงานให้ผู้ที่สนใจรับรู้
สรุปและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
            สิ่งสาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคือ ปัญหา เพราะปัญหาที่ดีจะเป็นสิ่ง
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่แสวงหาความรู้ในการเลือกศึกษาปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ผู้สอน
จะต้องคานึงถึงพื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียน ประสบการณ์ ความสนใจและภูมิหลังของ
ผู้เรียน เพราะคนเรามีแนวโน้มที่จะสนใจเรื่องใกล้ตัวมากกว่าเรื่องไกลตัว สนใจสิ่งที่มีความมายและ
มีความสาคัญต่อตนเองและเป็นเรื่องที่ตนเองใส่ใจใคร่รู้ ดังนั้น การกาหนดปัญหาจึงต้องคานึงถึงตัว
ผู้เรียนเป็นหลัก นอกจากนั้น ปัญหาที่ดียังต้องคานึงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ที่เอื้ออานวยต่อการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนอีกด้วย
            การนาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
นั้น ผู้สอนควรมีขั้นตอนพิจารณาประเด็นต่างๆ เพื่อประกอบการเลือกใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้
ในแนวทางนี้ ซึ่งมีประเด็นสาคัญทีควรดาเนินการ ดังนี้ (สกศ., 2550)
            1) พิจารณาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยดูจากผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เหมาะสมกับ
วิธีการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ทั้งทางด้านทักษะและกระบวนการเรียนรู้ จากนั้น จึงเลือก
เนื้อหาสาระมากาหนดการสอน เช่น พิจารณาว่า ผู้การเรียนรู้ที่คาดหวังต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะ
กระบวนการค้นหาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น
            2) กาหนดแหล่งข้อมูล เมื่อผู้สอนพิจารณาจากผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและกาหนดเนื้อหา
สาระแล้ว ผู้สอนต้องกาหนดแหล่งข้อมูลต่างๆ ให้เพียงพอเพื่อให้ผู้เรียนนามาแก้ปัญหาหรือค้นหา
คาตอบได้ ซึ่งแหล่งข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ ตัวผู้สอน ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต วิดิทัศน์ บุคลากรต่างๆ
และแหล่งการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้     148



          3) กาหนดและเขียนขอบข่ายปัญหาที่เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องศึกษา ค้นหาคาตอบ
          4) กาหนดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการสอนที่ผู้สอนเลือกหรือสร้าง
ขึ้นมาจะต้องทาให้ผู้เรียนสามารถเห็นแนวทางในการค้นพบความรู้หรือคาตอบได้ด้วยตนเอง
          5) สร้างคาถาม เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถดาเนินกิจกรรมได้ ควรสร้างคาถามที่มีลักษณะ
กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจงานที่กาลังทาอยู่และมองเห็นทิศทางในการทางานต่อไป
          6) กาหนดวิธีการประเมินผล ควรเป็นการประเมิ นผลตามสภาพจริงโดยประเมินทั้ง
ทางด้านเนื้อหา ทักษะกระบวนการและการทางานกลุ่ม
การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
            การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ (Constructivist) จัดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม
พุทธิปัญญา (Cognitive Psychology) ที่เรียกว่าทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เชื่อ
ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับความรู้ ดังนั้นเป้าหมายของการจัดการเรียนการ
สอน จะสนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น คอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism) จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสมของแต่ละบุคคล และสิ่งแวดล้อมมี
ความสาคัญในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง แนวทางในการจัดการเรียนรู้ แบบสร้างองค์
ความรู้มีรายละเอียดดังนี้
                  การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ นาสนทนาเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องที่จะ
ศึกษาโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดถึงประสบการณ์เดิม ชี้แจงวัตถุประสงค์ และอธิบายขั้นตอนการ
ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนทราบ
                  การกระตุ้นให้เกิดความสงสัยและท้าทายการเรียนรู้ ผู้สอนกาหนดปัญหาที่ก่อ
ให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยและค้นหาคาตอบด้วยตนเอง และคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาภารกิจและ
ท้าทายให้ผู้เรียนคิดหาคาตอบตามภารกิจแต่ละข้อ
                  การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ผ่ า นการสร้ า งประสบการณ์ ที่ ห ลากหลายและมี
ความหมาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่หลาย และส่งเสริมให้ผู้เรียนวิเคราะห์
ประเด็ นปัญหาหรือ คาถามและแสวงหาคาตอบด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เช่ น
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                   การส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนระดมสมองเพื่อ
แก้ปัญหา และแลกเปลี่ยนมุมองจากผู้เรียนอื่นๆ ผู้สอนคอยให้คาแนะนาชี้แนะ และการเชิญ
วิทยากรภายนอก
                   การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิด
และสรุปองค์ความรู้ ผู้สอนใช้กิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนความคิดภายในตนเองของผู้เรียน
(Individual reflection) กิจกรรมนี้เน้นให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ตรวจสอบผลงานหรือการแก้ปัญหาที่
ตนเองคิดไว้ ซึ่งผู้สอนอาจใช้เทคนิค การทา Mind mapping โดยให้ผู้เรียนสร้างแผนที่ความคิดเพื่อ
สะท้อ นสิ่ งที่ต นเองสร้า งความเข้า ใจเกี่ ย วกั บเนื้ อหาที่ เ รีย นรู้ การใช้ค าถามที่ ก ระตุ้น ให้ผู้ เรี ย น
ตรวจสอบความคิดของตนเอง เพื่อประเมินความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับงานที่ทา โดยผู้สอนอาจ
เตรี ย มประเด็ น ค าถามเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นสะท้ อ นความคิ ด เช่ น จุ ด อ่ อ น จุ ด แข็ ง ของงานและอาจ
มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติในช่วงท้ายชั่วโมง และการสะท้อนความคิดด้วยผู้อื่น (Peer mentoring)
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   149



กิจกรรมนี้เน้นให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้อื่น เช่น ครูผู้สอน และคณะ หรือเพื่อนต่างกลุ่ม เป็นผู้ประเมินผล
งานหรือผลการแก้ปัญหาของผู้เรียน เช่น การนาเสนอผลกลุ่ม และร่วมกันสะท้อนผล เทคนิค TPS
การจัดกิจกรรมประกอบด้วย T-Think เพื่อให้นักเรียนได้ใคร่ครวญตรวจสอบแนวคิดของตนเอง P-
Pair เพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนแนวคิดกับผู้เรียนอื่นเป็นคู่ และ S-Share เพื่อให้ผู้เรียนได้
แลกเปลี่ยนความคิดร่วมกับคู่มาแลกเปลี่ยนกับกลุ่ม
การเรียนรู้แบบสืบเสาะ
            การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ มุ่งเน้นกิจกรรมที่หลากหลายเกี่ยวกับการสังเกต การถาม
คาถาม การสารวจตรวจสอบจากเอกสารและแหล่งความรู้อื่น ๆ การวางแผนการสารวจตรวจสอบ
การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพื่อเป็นการยืนยันความรู้ที่ได้ค้นพบมาแล้ว การใช้เครื่องมือในการ
รวบรวม การวิเคราะห์ และการแปลความหมายข้อมูล การนาเสนอผลงาน การอธิบายและการ
คาดคะเน และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับผลงานที่ได้ การจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะนี้กระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้นสงสัยใคร่รู้ให้ ผู้ เรียนตั้งใจรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน ผู้สอน
เตรียมข้อมูลเอกสารความรู้ต่างๆ ที่มีคนศึกษาค้นคว้ามาแล้ว เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่
หรือเพื่อให้มองเห็นภาพได้ชัดเจนลึกซึ้งขึ้นให้ผู้เรียนอธิบายให้ชัดเจน ไม่เน้นความจาเนื้อหา และใช้
กระบวนการกลุ่มในการแสวงหาคาตอบ นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science
Curriculum Society) ได้เสนอกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่
โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม เป็นความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง
เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle หรือ 5Es มีขั้นตอนดังนี้ (BSCS. 1997)
            1) การสร้างความสนใจ (Engage) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการเรียนรู้ที่จะ
นาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้ คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะ
นาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมที่
คาดว่ากาลังจะเกิดขึ้น ซึ่งทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือ
ทักษะ และเริ่มคิดเชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม
            2) การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้เรียนมีประสบการณ์
ร่วมกันในการสร้างและ พัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให้เวลาและ
โอกาสแก่ผู้เรียนในการทากิจกรรมการสารวจและค้นหาสิงที่ผู้ เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็น
                                                             ่
ผู้เรียนแต่ละคน หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการคิด
รวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่ผู้เรียนทากิจกรรมสารวจและค้นหา เป็นโอกาสที่
ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดรวบ ยอดของผู้เรียนที่ยังไม่ถูกต้อง
และยังไม่สมบูรณ์ โดยการให้ผู้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ครูควร
ระลึกอยู่เสมอเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียนมีใจจดจ่อใน
การทากิจกรรม ผู้เรียนควรจะสามารถเชื่อมโยงการสังเกต การจาแนกตัวแปร และคาถามเกี่ยวกับ
เหตุการณ์นั้นได้
            3) การอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการ
อธิบายความคิดรวบยอดที่ได้จากการสารวจและค้นหา ครูควรให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับ ทักษะหรือพฤติกรรมการเรียนรู้ การอธิบายนั้นต้องการให้
ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการเชื่อมโยงสิ่งที่ เรียนรู้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมนี้ครูควรชี้แนะผู้เรียน
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   150



เกี่ยวกับการสรุปและการอธิบาย รายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอว่ากิจกรรม
เหล่านี้ยังคงเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง นั่นคือ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการอธิบายด้วยตัว
ผู้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการ
พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิด รวบยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบาย
ความคิดรวบยอดได้อย่างเข้าใจ โดยเชื่อมโยงประสบการณ์ ความรู้เดิมและสิ่งที่เรียนรู้เข้าด้วยกัน
               4) การขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้ยืนยันและขยาย
หรือเพิ่มเติมความรู้ ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และยังเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติตามที่ผู้เรียนต้องการ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรือ
อาจจะเข้าใจเฉพาะข้อสรุปที่ ได้จากการปฏิบัติการสารวจและค้นหาเท่านั้น ควรให้ประสบการณ์
ใหม่ ผู้ เรี ย นจะได้ พั ฒนาความรู้ ความเข้า ใจในความคิ ด รวบยอด ให้ กว้ า งขวางและลึ ก ซึ้งยิ่ งขึ้ น
เป้าหมายที่สาคัญของขั้นนี้ คือ ครูควรชี้แนะให้ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จะทาให้
ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะเพิ่มขึ้น
               5) การประเมิ นผล (Evaluate) ขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้รับข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการ
อธิบายความรู้ความ เข้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขั้นนี้ของรูปแบบการสอน ครู
ต้องกระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินความรู้ความเข้าใจและความ สามารถของตนเอง และยัง
เปิดโอกาสให้ครูได้ประเมินความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะของผู้เรียน
ด้วย

คาถามสะท้อนความคิด

      นั ก ศึ ก ษาคิ ด ว่ า หลั ก ส าคั ญ ในการเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นการ
       จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมีอะไรบ้าง
      นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุ อุปกรณ์อย่างไรบ้าง
      นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้สื่อประเภทวิธีการอย่างไรบ้าง
      นักศึกษาคิดว่าสื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดที่เหมาะสมกับลักษณะเนื้อหาวิชาเอก
       ของนักศึกษา เพราะเหตุใด

กิจกรรมแนะนา

ให้นักศึกษาวางแผนการใช้สื่อและวิธีการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ในสาระ
วิชาเอกของท่านมา 1 เนื้อหา

บรรณานุกรม

ส านั ก งานเลขาธิ การสภาการศึ ก ษา. (2550). การจั ดการเรี ย นรู้ แบบกระบวนการแก้ ปั ญหา.
         กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้   151



______.(2550). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
         ประเทศไทย.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ.ขอนแก่น:
คลังนานาวิทยา.
Aronson, E., Blaney, N., Stephin, C., Sikes, J., & Snapp, M. (1978). The jigsaw
         classroom. Beverly Hills, CA: Sage Publishing Company.
Asubel,D.P.(1968).Educational Psychology. A Cognitive View. Newyork : Holt,
         Rinehart & Winston.
BSCS. (1997). BSCS biology: A human approach (first edition). Dubuque, IA:
         Kendall/Hunt Publishing Company.
Johnson , David W. and Johnson, Roger T. (1987). “Research Shows the Benefits
         of Adult Cooperation,” Educational Leadership. 45 ( 3 ) 27 - 29 ;
         November
______.(1991). Learning Together and Alone : Cooperative and Individualistic
         Learning. 5th ed. Englewood Cliffs , New Jersey: Prentice Hall
Sharan, Yael; Sharan, Shlomo . Expanding Cooperative Learning Through Group
         Investigation New York Teachers .193 pp. Edgewear.
Slavin , Robert E. (1987). “Cooperative Learning and Cooperative School,”
         Educational Leadership. November.
_____. (1991). Cooperative Learning Theory, Research , and Practice. New Jersey:
         Prentice Hall .
Strachan , Kevin Winton. (1999). Cooperative Learning in A Secondary School
         Physical Education Program. February.

Contenu connexe

Tendances

สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Kittipun Udomseth
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Pennapa Kumpang
 

Tendances (19)

Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 

En vedette (20)

วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Collins Writing For Ielts
Collins Writing For IeltsCollins Writing For Ielts
Collins Writing For Ielts
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 

Similaire à บทที่ 9

บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7josodaza
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้B'nust Thaporn
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04Poo-Chom Siriwut
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 

Similaire à บทที่ 9 (20)

บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้
ภารกิจในบทที่ 4 เรื่องสื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 

บทที่ 9

  • 1. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 138 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 2. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 139 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการ บทที่ 9 เรียนรู้ โครงร่างเนื้อหาของบท คาสาคัญ 1. การเตรียมสาหรับจัดประสบการเรียนรู้  การเตรียมสื่อการเรียนรู้ 2. การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์  การเตรียมสิ่งแวดล้อม 3. การใช้สื่อประเภทวิธีการ ทางการเรียนรู้  การเตรียมผู้เรียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้  การเรียนแบบร่วมมือ 1. อธิบายความหมาย หลักการเตรียมสาหรับจัดประสบการ  การเรียนรู้แบบ เรียนรู้ การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และ โครงงาน การใช้สื่อประเภทวิธีการ  การเรียนรู้แบบใช้ปัญหา 2. วางแผนการใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ เป็นฐาน เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้ทตนเองรับผิดชอบได้ ี่  การเรียนรู้แบบสร้างองค์ กิจกรรมการเรียนรู้ ความรู้ 1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง การเลือกใช้สื่อ  การเรียนรู้แบบสืบเสาะ และวิธีการจัดการเรียนรู้ 2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษา สถานการณ์ปัญหา วิเคราะห์ทาความเข้าใจค้นหาคาตอบ จากเอกสารประกอบการสอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย และร่วมกันสรุปคาตอบ 3. นักศึกษาร่วมกันวางแผนการออกแบบสื่อวัสดุกราฟิก ที่ สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้ที่ตนเอง รับผิดชอบ 4. นักศึกษานาเสนอผลงาน ร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ แลกเปลียนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้งประเด็น และอธิบาย ่ เพิ่มเติม สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด ผู้อานวยการ โรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็กเก่งด้วย ยิ่งทาให้
  • 3. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 140 ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่และนั กเรียนจะสนุกหรือสนใจ ในวิ ธีก ารสอนของตนเองหรือ ไม่ ที่ สาคัญ คือ นัก เรี ยนห้อ งนี้ มีลั กษณะที่ชอบค้น คว้ า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้ง ยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง มาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จ เท่าที่ควร ซึ่งผู้อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัยหาการ เรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้ ภารกิจ 1. ครู พ ลกิ ต จะมี ห ลั ก ในการเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ มี ประสิทธิภาพได้อย่างไร 2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลื อกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะสอดคล้องกับ ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ การเตรียมสาหรับจัดประสบ การใช้สื่อประเภทเครื่องมือ การเรียนรู้ และวัสดุอุปกรณ์ สาระสาคัญ ในบทที่ 9
  • 4. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 141 การใช้สื่อประเภทวิธีการ นอกจากการผลิตสื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้สอนควรเข้าใจถึงหลักการใช้สื่อ ประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถดาเนินการจัดการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น สื่อแต่ละประเภทนั้นมี คุณลักษณะและวิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังเช่น วีดิทัศน์ ต้องใช้ ในสถานที่สามารถควบคุมแสง เสียงและมีที่นั่งที่ให้ผู้เรียนชมรายการต่างๆได้อย่างทั่วถึง นอกจากสภาพแวดล้อมของการใช้สื่อแล้ว การเลือกใช้สื่อประเภทวิธีการจัดการเรียนรู้ก็เป็นสิ่งที่สาคัญ โดยเฉพาะในปัจจุบัน การศึกษาไทยที่ มุ่งเน้นไท่เพียงแต่องค์ความรู้เท่านั้น แต่ยังเน้นที่วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนการการได้มาซึ่งองค์ความรู้ ของตนเอง สามารถนามาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อน ปัญหาที่แปลกใหม่ ที่ต้องอาศัย ทักษะขั้นสูงในการคิดหาวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมในแต่บริบท รวมทั้งสามารถประยุกต์องค์ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองได้ ดังนั้นในบทนี้จะนาเสนอให้เห็นถึงว่าผู้สอนควรจะมีหลัก ในการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร และนาเสนอรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรุปแบบต่างๆที่สามารถประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนจริงได้ การเตรียมสาหรับจัดประสบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรดาเนินการจัดเตรียมความพร้อมและสิ่งที่ จะสนั บ สนุ น การจั ด ประสบการณ์ เ รี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายและเกิ ด การเรี ย นรู้ ที่ ดี ซึ่ ง ผู้ ส อนจะต้ อ งจั ด เตรี ย มความพร้ อ มของสื่ อ และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ สิ่ ง แวดล้ อ มทางการเรี ย นรู้ ความพร้อมของผู้เรียน และกระบวนการตามบทเรียนที่วางไว้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ การเตรียมสื่อการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความพร้ อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสื่อที่ ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนาเสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้ งานได้ ตลอดจนการออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะ แสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้ สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อน การจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ก่อนการจัดการเรียนรู้
  • 5. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 142 1.1 ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการศึกษาวิธีการใช้งานสื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ เกิดความชานาญ 1.2 ตรวจสอบความพร้อมของสื่อว่าสามารถใช้งานได้จริง 1.3 เก็บสื่อและวัสดุการเรียนให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน 1.4 กรณีใช้สื่อที่มีเสียงประกอบหรือวีดิทัศน์ ควรทดสอบว่าสามารถแสดงผลได้ ตามที่ต้องการหรือไม่ 1.5 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสื่อต่างๆนั้นผู้เรียนสามารถมองเห็นหรือได้ยินอย่างทั่วถึง ในชั้นเรียน 2. ระหว่างการจัดการเรียนรู้ 2.1 มีการเน้นสาระสาคัญ ความคิดยอดที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ใจด้วยการเขียนบน กระดานหรือเน้นลงในสื่อ 3. หลังการจัดการเรียนรู้ 3.1 ปฏิบัติตามที่กาหนดในบทเรียนด้วยการอภิปราย การทาโครงงานหรือกิจกรรม อื่นๆที่ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้องกาหนดหรือจัด เตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน สามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าการจัดการเรียนรู้นั้นจะเกิดในห้องเรียน ก็ต้องเตรียมความพร้อมของห้องเรียนในน่าเรียน เอื้อต่อการจัดกิ จกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมการ เรียนรู้อื่นๆ บางวิชาอาจต้องใช้ห้องปฏิบัติการดังเช่น วิทยาศาสตร์และภาษา ครูจะต้องเตรียมความ พร้อมของห้องปฏิบัติการเหล่านั้นให้สามารถใช้การได้ทั้งสิ่งดานวยความสะดวกต่างๆ ดังเช่น แสง ไฟ เครื่องเสียง ปลั๊กไฟ หรืออุปกรณ์ทดลองเฉพาะ เป็นต้น ให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีสภาพที่พร้อมใช้ งานได้จริง การเตรียมผู้เรียน เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งจาก ผลการวิจัยเกี่ยวกับจัดการเรียนรู้ยืนยันถึงความชัดเจนที่ว่าผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่า ผู้ เ รี ย นนั้ น เตรี ย มตั ว และเตรี ย มความพร้ อ มในการเรี ย นอย่ า งไร ดั งนั้ น การเตรี ย มผู้ เ รี ย นจึ ง มี ความสาคัญมากเมื่อผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลง มือปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเตรี ย มผู้ เ รี ย นอาจเริ่ ม ด้ ว ยการให้ ม โนมิ ติ ท างการเรี ย น (Advance organizer) ล่วงหน้าก่อนเรียน โดยการจัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า การแนะนากิจกรรมการ เรียน หรือการให้สารสนเทศที่สาคัญก่อนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ ความรู้และทัศนคติที่ ดีต่อการเรียน โดยมีเป้าหมายที่สาคัญคือการทาให้ ผู้เรียนใส่ใจ และสร้างความต้องการที่จะเรียนรู้ จากสื่อหรือวิธีการที่ครูจัดไว้ในบทเรียน (Ausubel, 1968) ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศ ก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรกของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง เทคนิ ค ที่ ส าคั ญ ที่ ผู้ ส อนสามารถน าไปใช้ ไ ด้ ดั ง เช่ น การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ดี
  • 6. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 143 (Warmup) ให้ กับผู้ เรี ย น ด้ว ยการน าเสนอให้ ผู้เ รียนทราบถึงสาระสาคัญ ของการสอน การจั ด กิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเกี่ยวข้องกับบทเรียนกับประสบการณ์เดิมและหัวข้อ หรือเนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต การดาเนินการตามบทเรียน หลังจากที่ผู้สอนได้เตรียมการทั้งสื่อ สิ่งแวดล้อมทางการเรียน และผู้เรียนเป็นที่เรียบร้อย แล้วเพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไปอย่างราบรื่นบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ควร ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้  การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน ผู้สอนควรอธิบายภารกิจการเรียนรู้หรือ สถานการณ์ให้ผู้เรียนทราบถึงแนวทางปฏิบัติในการเรียน และจะต้องตรวจสอบความเข้าใจของ ผู้เรียนเกี่ยวกับขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม  การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องวางขั้นตอนของกิจกรรมให้ง่าย และขับเคลื่อนให้ผู้เรียนสามารถดาเนินการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมายของกิจกรรม  การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับภารกิจที่ได้รับ ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการเรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็น ถึงมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับภารกิจทั้งประเด็นและแนวทางแก้ปัญหา การส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างที่อยู่รอบตัวเพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหา  การตั้งคาถามในระหว่างเรียน การตั้งคาถาม เป็นเทคนิคที่ผู้สอนสามารถใช้ใน การกระตุ้นความสนใจเกี่ย วกับการเรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด ทั้งยังเป็นการประเมินเพื่อ พัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในขณะเรียนได้เป็นอย่างดี  การใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งนั้น ผู้สอนจะใช้สื่อประกอบเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ บทเรียน นาเสนอบทเรียน กระตุนความสนใจในการเรียน และสามารถให้ผู้เรียนมีปฏิสมพันธ์กับสื่อ ้ ั เพื่อสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนควรรู้หลักการในการใช้สื่อเพื่อให้ การดาเนินการจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้สื่อมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์ สื่อประเภทมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในชั้นเรียน ปั จ จุ บั น เนื่ อ งจากสามารถกระตุ้ น ความสนใจของผู้ เ รี ย นได้ เ ป็ น อย่ า งดี ฝึ ก ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้ คอมพิ ว เตอร์ ใ นการโต้ต อบและมี ปฏิ สัม พั นธ์ กับ ผู้ เรี ย น ใ น ข ณ ะ เ รี ย น รู้ ทั้ ง ยั ง ส า ม า ร ถ น า เ ส น อ ไ ด้ ทั้ ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการแสดงภาพจาลองเหตุการณ์ เพื่ อ ให้ ผู้ เรี ย นสร้ างความเข้ า ใจได้ง่า ย แนวทางส าหรั บ ผู้ ส อนในการสื่ อ ประเภทมั ล ติ มี เ ดี ย และโปรแกรม คอมพิวเตอร์ มีดังต่อไปนี้
  • 7. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 144  ใช้จอหน้าเสนอที่มีความเหมาะสมสาหรับจานวนนักเรียนในชั้น จะต้องมั่นใจว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถมองเห็นภาพผ่านจอคอมพิวเตอร์หรือจอฉายภาพที่เห็นได้ทั่วทั้งชั้น  ติ ด ตั้ ง และทดสอบทุ ก โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ กี่ ย วกั บ การน าเสนอเนื้ อ หา บทเรียน  เปิดใช้งานมัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผ่านฮาร์ดดิส ค์มากกว่าเล่นจาก แผ่น เนื่องจากจะมีความไวในการนาเสนอเนื้อหาบทเรียนสูงกว่า  กระตุ้นผู้เรียนในมีส่วนร่วมด้วยการใช้คาถาม การใช้สื่อวีดิทัศน์ สื่อวีดิทัศน์ สามารถแสดงให้ผู้เรียนได้สัมผัสถึงความเหมือนจริง และบริบทต่างๆของ เนื้อหา ทั้งรูปแบบ สีสันที่สร้างแรงจูงใจ ผ่านทาง จอโทรทัศน์ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับสารที่นาเสนอ ดังนั้น เพื่ อ ให้ผู้ เ รี ยนตื่ น ตัว ในการเรีย นรู้ จากสื่ อวี ดิ ทั ศ น์ ผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนชมวีดิทัศน์ด้วย กิจกรรมที่ตื่นตัวในชั้นเรียน แนวทางสาหรับผู้สอน ในการสื่อวีดิทัศน์ มีดังต่อไปนี้  ตรวจสอบความสว่างของแสง ที่นั่ง และควบคุมความดังก่อนเปิดให้ผู้เรียนได้ชม วีดิทัศน์  เตรียมผู้เรียนด้วยการทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วและถามถึงปัญหา ใหม่ที่ให้ผู้เรียนคิดเพื่อหาคาตอบจากการชมวีดิทัศน์  หยุดวีดิทัศน์เมื่อถึงประเด็นสาคัญเพื่อให้ผู้เรียนได้ร่วมอภิปราย  เน้นหลักการที่สาคัญด้วยการเขียนสาระต่างๆบนกระดานหรือเครื่องฉาย การใช้สื่อกราฟิก สื่อกราฟิก ประด้วย รูปภาพ ภาพลายเส้น แผนภูมิ แผนภาพ และสื่ออื่นๆที่ช่วยให้ผู้เรียน มองเห็ น เห็ น สาระที่ ผู้ ส อนต้ องการน าเสนอ ซึ่ งสื่ อ ประเภทนี้จ ะใช้ ค วบคู่ กั บเนื้ อหาที่มี ใ นต ารา ประกอบสอน ที่ ผู้ ส อนต้ อ งให้ ผู้ เ รี ย นมองเห็ น ภาพได้ ง่ า ยและ ชัดเจนกว่าการอ่านเพียงอย่างเดียว แนวทางสาหรับผู้สอนในการ สื่อกราฟิก มีดังต่อไปนี้  ใช้วัสดุที่ง่ายซึ่งผู้เรียนทุกคนสามารถมองเห็น เช่น กระดาษชาร์ต แผ่นกระดาน เป็นต้น  ใช้การเขียนหรือคัดข้อความที่สาคัญเพื่อเน้น สาระสาคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนมองอย่างใส่ใจ
  • 8. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 145  การใช้สื่อประเภทวิธีการ ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เปลี่ยนมามุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทในการ ลงมือกระทา คิดและสร้างความรู้ขึ้นด้วยตนเอง ดังนั้นผู้สอนจึงควรเลือกใช้สื่อประเภทวิธีการที่ สอดคล้องกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ การเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบร่วมมือ เป็นกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้นักเรียน เรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละความสามารถ ให้ทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการผสมผสาน ความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ และค้นพบความหมายของสิ่งที่ศึกษาด้วยกลุ่ม โดยทากิจกรรมใน การสืบค้น (Explore) อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหา ร่วมกันในกลุ่ม เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน เป็นวิธีเรียนวิธีหนึ่งที่กาลังได้รับความสนใจและนาไป ประยุกต์ในการเรียนการสอนทุกวิชาและทุกระดับชั้น รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่เป็นที่ยอมรับ กันแพร่หลาย มีดังต่อไปนี้ 1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์พลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสาคัญ 2. TGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่คล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจใน การเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย 3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสานแนวคิด ระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล (Individualized Instruction) รูปแบบ ของ TAI เป็นการประยุกต์ใช้กับการสอนคณิตศาสตร์ 4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็นรูปแบบการเรียน แบบร่ ว มมื อ แบบผสมผสาน ที่มุ่ งพัฒ นาขึ้ น เพื่ อ สอนการอ่ า นและการเขี ยนส าหรั บนั ก เรี ย น ประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ 5. Jigsaw ผู้ที่คิดค้นการเรียนการสอนแบบ Jigsaw เริ่มแรกคือ Elliot – Aronson และ คณะ (1978) หลังจากนั้น สลาวินได้นาแนวคิดดังกล่าวมาปรับขยายเพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบ การเรียนแบบร่วมมือมากยิ่งขึ้น เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่น สังคมศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง รวมทั้งวิชาอื่นๆ ที่เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ มากกว่าพัฒนาทักษะ 6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่พัฒนาโดย Shlomo และ Yael Shsran ที่ใช้ในงาน เฉพาะอย่าง ลักษณะสาคัญคือ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รบมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ ั ทากิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วนาผลงานมารวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนามาเสนอ ต่อชั้นเรียน 7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่เปิดโอกาสให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนก าลังศึกษา สิ่งที่ตนประทับใจให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง
  • 9. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 146 8. มุมสนทนา (Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มเข้าไปนั่งตามมุมหรือ จุดต่าง ๆของห้องเรียน และช่วยกันหาคาตอบสาหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน ให้นักเรียนจับคู่กัน ทางาน คนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทาหน้าที่แก้โจทย์ เสร็จข้อที่ 1 แล้วให้สลับ หน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นาคาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่อื่นในกลุ่ม 10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ นักเรียนแต่ละคนจะต้องคิด คาตอบของตนเอง นาคาตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นาคาตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง 11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เริ่มจากครูถามคาถาม เปิดโอกาสให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่ม หนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคาถาม เป็นวิธีการที่นิยมใช้ในการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ 12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ จอห์นสันและจอห์นสัน (Johmson and Johmson, 1989) กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและกระบวนการ และสามารถ ที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่างคล่องแคล่ว การเรียนรู้แบบโครงงาน การเรี ย นรู้ แ บบโครงงานเป็ น การเรี ย นรู้ ที่ เ ชื่ อ มโยงหลั ก การพั ฒ นาการคิ ด ของบลู ม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น กล่าวคือ ความรู้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การ นาไปใช้ (Application) การวิ เคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่ า (Evaluation) และยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการ ประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานมีดังต่อไปนี้ (สกศ., 2550) ระยะที่ 1 การเริ่มโครงงาน เป็นระยะที่ผู้สอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน โดยอาจศึกษาเรื่องจาก การบอกเล่าของผู้ใหญ่หรือผู้รู้ จากประสบการณ์ของผู้เรียน/ผู้สอน จากเอกสารสิ่งพิมพ์หรือสื่อ ต่างๆ จากการเล่นของผู้เรียน จากความคิดที่เกิดขึ้น จากวัตถุสิ่งของที่ผู้สอนนามาในห้องเรียน หรือ จากตัวอย่างโครงงานที่ผู้อื่นทาไว้แล้ว เป็นต้น จากนั้นตกลงร่วมกันในการเลือกเรื่องที่ต้องการศึกษา อย่างละเอียด ระยะที่ 2 ขั้นพัฒนาโครงงาน เป็ น ขั้ น ที่ ผู้ เ รี ย นก าหนดหั ว ข้ อ ค าถามหรื อ ประเด็ น ปั ญ หาที่ ผู้ เ รี ย นสนใจอยากรู้ แล้ ว ตั้งสมมติฐานเพื่ อตอบคาถามเหล่านั้น มีการทดสอบสมมติฐ านด้ วยการลงมื อปฏิ บัติจนค้นพบ คาตอบด้วยตนเอง ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ผู้เรียนกาหนดปัญหาที่จะศึกษา
  • 10. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 147 2. ผู้เรียนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น 3. ผู้เรียนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น 4. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้จากผลการตรวจสอบสมมติฐาน หากการตรวจสอบไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ผู้สอนควรให้กาลังผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียน แสวงหาความรู้เพิ่มเติม หากผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมติฐาน ให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้จากการค้นพบ ด้วยการลงมือปฏิบัติของผู้เรียนเอง เมื่อได้องค์ความรู้ใหม่แล้ว ผู้เรียนจะนาองค์ความรู้นั้นไปใช้ในการทากิจกรรมตามความ สนใจต่อไป ผู้เรียนอาจใช้ความรู้ที่ค้นพบเป็นพื้นฐานของการกาหนดประเด็นปัญหาขึ้นมาใหม่เพื่อ กาหนดเป็นโครงงานย่อยและศึกษารายละเอียดในเรื่องนั้นต่อไปอีก ระยะที่ 3 ขั้นสรุป เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียนค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว และได้แสดงให้ผู้สอน เห็นว่าได้สิ้นสุดความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่มหันเหความสนใจไปสู่เรื่องใหม่ ระยะนี้เป็น ระยะที่ผู้สอนและผู้เรียนจะได้แบ่งปันประสบการณ์การทางานและแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของ การทางานตลอดโครงงานแก่คนอื่น ๆ มีกิจกรรมที่ผู้เรียนดาเนินการในขั้นตอนนี้ ดังนี้ 1. ผู้เรียนเขียนรายงานเป็นรูปแบบงานวิจัยเล็ก ๆ 2. ผู้เรียนนาเสนอผลงาน โดยอาจแสดงเป็นแผงโครงงานให้ผู้ที่สนใจรับรู้ สรุปและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สิ่งสาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคือ ปัญหา เพราะปัญหาที่ดีจะเป็นสิ่ง กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่แสวงหาความรู้ในการเลือกศึกษาปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ผู้สอน จะต้องคานึงถึงพื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียน ประสบการณ์ ความสนใจและภูมิหลังของ ผู้เรียน เพราะคนเรามีแนวโน้มที่จะสนใจเรื่องใกล้ตัวมากกว่าเรื่องไกลตัว สนใจสิ่งที่มีความมายและ มีความสาคัญต่อตนเองและเป็นเรื่องที่ตนเองใส่ใจใคร่รู้ ดังนั้น การกาหนดปัญหาจึงต้องคานึงถึงตัว ผู้เรียนเป็นหลัก นอกจากนั้น ปัญหาที่ดียังต้องคานึงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ที่เอื้ออานวยต่อการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนอีกด้วย การนาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน นั้น ผู้สอนควรมีขั้นตอนพิจารณาประเด็นต่างๆ เพื่อประกอบการเลือกใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ ในแนวทางนี้ ซึ่งมีประเด็นสาคัญทีควรดาเนินการ ดังนี้ (สกศ., 2550) 1) พิจารณาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยดูจากผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เหมาะสมกับ วิธีการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ทั้งทางด้านทักษะและกระบวนการเรียนรู้ จากนั้น จึงเลือก เนื้อหาสาระมากาหนดการสอน เช่น พิจารณาว่า ผู้การเรียนรู้ที่คาดหวังต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะ กระบวนการค้นหาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น 2) กาหนดแหล่งข้อมูล เมื่อผู้สอนพิจารณาจากผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและกาหนดเนื้อหา สาระแล้ว ผู้สอนต้องกาหนดแหล่งข้อมูลต่างๆ ให้เพียงพอเพื่อให้ผู้เรียนนามาแก้ปัญหาหรือค้นหา คาตอบได้ ซึ่งแหล่งข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ ตัวผู้สอน ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต วิดิทัศน์ บุคลากรต่างๆ และแหล่งการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
  • 11. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 148 3) กาหนดและเขียนขอบข่ายปัญหาที่เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องศึกษา ค้นหาคาตอบ 4) กาหนดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการสอนที่ผู้สอนเลือกหรือสร้าง ขึ้นมาจะต้องทาให้ผู้เรียนสามารถเห็นแนวทางในการค้นพบความรู้หรือคาตอบได้ด้วยตนเอง 5) สร้างคาถาม เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถดาเนินกิจกรรมได้ ควรสร้างคาถามที่มีลักษณะ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจงานที่กาลังทาอยู่และมองเห็นทิศทางในการทางานต่อไป 6) กาหนดวิธีการประเมินผล ควรเป็นการประเมิ นผลตามสภาพจริงโดยประเมินทั้ง ทางด้านเนื้อหา ทักษะกระบวนการและการทางานกลุ่ม การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ (Constructivist) จัดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม พุทธิปัญญา (Cognitive Psychology) ที่เรียกว่าทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เชื่อ ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับความรู้ ดังนั้นเป้าหมายของการจัดการเรียนการ สอน จะสนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสมของแต่ละบุคคล และสิ่งแวดล้อมมี ความสาคัญในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง แนวทางในการจัดการเรียนรู้ แบบสร้างองค์ ความรู้มีรายละเอียดดังนี้  การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ นาสนทนาเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องที่จะ ศึกษาโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดถึงประสบการณ์เดิม ชี้แจงวัตถุประสงค์ และอธิบายขั้นตอนการ ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนทราบ  การกระตุ้นให้เกิดความสงสัยและท้าทายการเรียนรู้ ผู้สอนกาหนดปัญหาที่ก่อ ให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยและค้นหาคาตอบด้วยตนเอง และคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาภารกิจและ ท้าทายให้ผู้เรียนคิดหาคาตอบตามภารกิจแต่ละข้อ  การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ผ่ า นการสร้ า งประสบการณ์ ที่ ห ลากหลายและมี ความหมาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่หลาย และส่งเสริมให้ผู้เรียนวิเคราะห์ ประเด็ นปัญหาหรือ คาถามและแสวงหาคาตอบด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เช่ น สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น  การส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนระดมสมองเพื่อ แก้ปัญหา และแลกเปลี่ยนมุมองจากผู้เรียนอื่นๆ ผู้สอนคอยให้คาแนะนาชี้แนะ และการเชิญ วิทยากรภายนอก  การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิด และสรุปองค์ความรู้ ผู้สอนใช้กิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนความคิดภายในตนเองของผู้เรียน (Individual reflection) กิจกรรมนี้เน้นให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ตรวจสอบผลงานหรือการแก้ปัญหาที่ ตนเองคิดไว้ ซึ่งผู้สอนอาจใช้เทคนิค การทา Mind mapping โดยให้ผู้เรียนสร้างแผนที่ความคิดเพื่อ สะท้อ นสิ่ งที่ต นเองสร้า งความเข้า ใจเกี่ ย วกั บเนื้ อหาที่ เ รีย นรู้ การใช้ค าถามที่ ก ระตุ้น ให้ผู้ เรี ย น ตรวจสอบความคิดของตนเอง เพื่อประเมินความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับงานที่ทา โดยผู้สอนอาจ เตรี ย มประเด็ น ค าถามเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นสะท้ อ นความคิ ด เช่ น จุ ด อ่ อ น จุ ด แข็ ง ของงานและอาจ มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติในช่วงท้ายชั่วโมง และการสะท้อนความคิดด้วยผู้อื่น (Peer mentoring)
  • 12. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 149 กิจกรรมนี้เน้นให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้อื่น เช่น ครูผู้สอน และคณะ หรือเพื่อนต่างกลุ่ม เป็นผู้ประเมินผล งานหรือผลการแก้ปัญหาของผู้เรียน เช่น การนาเสนอผลกลุ่ม และร่วมกันสะท้อนผล เทคนิค TPS การจัดกิจกรรมประกอบด้วย T-Think เพื่อให้นักเรียนได้ใคร่ครวญตรวจสอบแนวคิดของตนเอง P- Pair เพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนแนวคิดกับผู้เรียนอื่นเป็นคู่ และ S-Share เพื่อให้ผู้เรียนได้ แลกเปลี่ยนความคิดร่วมกับคู่มาแลกเปลี่ยนกับกลุ่ม การเรียนรู้แบบสืบเสาะ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ มุ่งเน้นกิจกรรมที่หลากหลายเกี่ยวกับการสังเกต การถาม คาถาม การสารวจตรวจสอบจากเอกสารและแหล่งความรู้อื่น ๆ การวางแผนการสารวจตรวจสอบ การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพื่อเป็นการยืนยันความรู้ที่ได้ค้นพบมาแล้ว การใช้เครื่องมือในการ รวบรวม การวิเคราะห์ และการแปลความหมายข้อมูล การนาเสนอผลงาน การอธิบายและการ คาดคะเน และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับผลงานที่ได้ การจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะนี้กระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้นสงสัยใคร่รู้ให้ ผู้ เรียนตั้งใจรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน ผู้สอน เตรียมข้อมูลเอกสารความรู้ต่างๆ ที่มีคนศึกษาค้นคว้ามาแล้ว เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ หรือเพื่อให้มองเห็นภาพได้ชัดเจนลึกซึ้งขึ้นให้ผู้เรียนอธิบายให้ชัดเจน ไม่เน้นความจาเนื้อหา และใช้ กระบวนการกลุ่มในการแสวงหาคาตอบ นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Society) ได้เสนอกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม เป็นความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle หรือ 5Es มีขั้นตอนดังนี้ (BSCS. 1997) 1) การสร้างความสนใจ (Engage) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการเรียนรู้ที่จะ นาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้ คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะ นาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมที่ คาดว่ากาลังจะเกิดขึ้น ซึ่งทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือ ทักษะ และเริ่มคิดเชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม 2) การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ ร่วมกันในการสร้างและ พัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให้เวลาและ โอกาสแก่ผู้เรียนในการทากิจกรรมการสารวจและค้นหาสิงที่ผู้ เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็น ่ ผู้เรียนแต่ละคน หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการคิด รวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่ผู้เรียนทากิจกรรมสารวจและค้นหา เป็นโอกาสที่ ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดรวบ ยอดของผู้เรียนที่ยังไม่ถูกต้อง และยังไม่สมบูรณ์ โดยการให้ผู้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ครูควร ระลึกอยู่เสมอเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียนมีใจจดจ่อใน การทากิจกรรม ผู้เรียนควรจะสามารถเชื่อมโยงการสังเกต การจาแนกตัวแปร และคาถามเกี่ยวกับ เหตุการณ์นั้นได้ 3) การอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการ อธิบายความคิดรวบยอดที่ได้จากการสารวจและค้นหา ครูควรให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับ ทักษะหรือพฤติกรรมการเรียนรู้ การอธิบายนั้นต้องการให้ ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการเชื่อมโยงสิ่งที่ เรียนรู้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมนี้ครูควรชี้แนะผู้เรียน
  • 13. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 150 เกี่ยวกับการสรุปและการอธิบาย รายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอว่ากิจกรรม เหล่านี้ยังคงเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง นั่นคือ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการอธิบายด้วยตัว ผู้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการ พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิด รวบยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบาย ความคิดรวบยอดได้อย่างเข้าใจ โดยเชื่อมโยงประสบการณ์ ความรู้เดิมและสิ่งที่เรียนรู้เข้าด้วยกัน 4) การขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้ยืนยันและขยาย หรือเพิ่มเติมความรู้ ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และยังเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติตามที่ผู้เรียนต้องการ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรือ อาจจะเข้าใจเฉพาะข้อสรุปที่ ได้จากการปฏิบัติการสารวจและค้นหาเท่านั้น ควรให้ประสบการณ์ ใหม่ ผู้ เรี ย นจะได้ พั ฒนาความรู้ ความเข้า ใจในความคิ ด รวบยอด ให้ กว้ า งขวางและลึ ก ซึ้งยิ่ งขึ้ น เป้าหมายที่สาคัญของขั้นนี้ คือ ครูควรชี้แนะให้ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จะทาให้ ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะเพิ่มขึ้น 5) การประเมิ นผล (Evaluate) ขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้รับข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการ อธิบายความรู้ความ เข้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขั้นนี้ของรูปแบบการสอน ครู ต้องกระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินความรู้ความเข้าใจและความ สามารถของตนเอง และยัง เปิดโอกาสให้ครูได้ประเมินความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะของผู้เรียน ด้วย คาถามสะท้อนความคิด  นั ก ศึ ก ษาคิ ด ว่ า หลั ก ส าคั ญ ในการเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นการ จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมีอะไรบ้าง  นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้สื่อประเภทเครื่องมือและวัสดุ อุปกรณ์อย่างไรบ้าง  นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้สื่อประเภทวิธีการอย่างไรบ้าง  นักศึกษาคิดว่าสื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดที่เหมาะสมกับลักษณะเนื้อหาวิชาเอก ของนักศึกษา เพราะเหตุใด กิจกรรมแนะนา ให้นักศึกษาวางแผนการใช้สื่อและวิธีการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ในสาระ วิชาเอกของท่านมา 1 เนื้อหา บรรณานุกรม ส านั ก งานเลขาธิ การสภาการศึ ก ษา. (2550). การจั ดการเรี ย นรู้ แบบกระบวนการแก้ ปั ญหา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
  • 14. บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 151 ______.(2550). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ.ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. Aronson, E., Blaney, N., Stephin, C., Sikes, J., & Snapp, M. (1978). The jigsaw classroom. Beverly Hills, CA: Sage Publishing Company. Asubel,D.P.(1968).Educational Psychology. A Cognitive View. Newyork : Holt, Rinehart & Winston. BSCS. (1997). BSCS biology: A human approach (first edition). Dubuque, IA: Kendall/Hunt Publishing Company. Johnson , David W. and Johnson, Roger T. (1987). “Research Shows the Benefits of Adult Cooperation,” Educational Leadership. 45 ( 3 ) 27 - 29 ; November ______.(1991). Learning Together and Alone : Cooperative and Individualistic Learning. 5th ed. Englewood Cliffs , New Jersey: Prentice Hall Sharan, Yael; Sharan, Shlomo . Expanding Cooperative Learning Through Group Investigation New York Teachers .193 pp. Edgewear. Slavin , Robert E. (1987). “Cooperative Learning and Cooperative School,” Educational Leadership. November. _____. (1991). Cooperative Learning Theory, Research , and Practice. New Jersey: Prentice Hall . Strachan , Kevin Winton. (1999). Cooperative Learning in A Secondary School Physical Education Program. February.