SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
งานเปิ ดตัวศู นย์ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนา
                                                                          ั
                                    ของสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ (วช.)
                                                                      ั
      วันที่ 11 ตุลาคม 2553 เวลา 8.30 – 13.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรู ม โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จ.เชียงใหม่



          การเปิ ดตัวศู นย์ ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ (วช.) ซึ่งเป็ นศู นย์ ประสาน
                                             ั
งานวิจัยภู มิภาคแห่ งแรกของ วช มีภารกิจในการขับเคลื่อนนโยบายการวิจัยของชาติสู่ ชุมชน โดยการบริ หารจัดการ
งานวิจัยและการจัดการความรู้ กาหนดกรอบทิศทางการวิจัยที่สอดคล้ องกับศั กยภาพและความต้ องการในพืนที่ สร้ าง    ้
ฐานข้ อมูลงานวิจยและพัฒนานักวิจัย สนับสนุนแหล่ งทุนวิจัยและการถ่ ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยสู่ ชุมชนอย่ างมี
                  ั
ส่ วนร่ วมจากหน่ วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีการจัดบูธแสดงนิทรรศการ ตลอดจนรับฟั งนโยบายการพัฒนาระบบวิจัย
และนักวิจยจากผู้บริหารระดับสู งของ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ (วช) สถาบันการศึกษา และเสวนาการสร้ าง
           ั
ความเข้ มแข็งของเครือข่ ายภาคีวจยในพืนทีภาคเหนือตอนบนจาก ผู้แทนทุกภาคส่ วนทั้งภาครัฐและเอกชน
                                   ิั       ้ ่

            สื บ เนื่ อ งจากนโยบายการวิจัย ของชาติ พ.ศ. 2551-2553 เน้น การบู รณาการด้านการวิจัย ให้สอดคล้อ งกับ
แนวนโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศโดยให้ทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วม อย่างไรก็ตามการสนับสนุนงบประมาณ
วิจยยังอยูในสถาบันการศึกษาระดับสูง และกระจุกอยูที่ส่วนกลางโดยไม่กระจายไปยังพื้นที่ส่วนภูมิภาค ทาให้ผลงานวิจย
      ั   ่                                            ่                                                            ั
ส่ วนใหญ่ได้องค์ความรู ้ ที่ไม่ตอบสนองการแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ ด้วยเหตุน้ ี สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ (วช.)
                                                                                                   ั
โดยภารกิจโครงการและประสานงานวิจย (ภค.) จึงสนับสนุนโครงการศึกษาแนวทางการจัดตั้งศูนย์ภาคีเครื อข่ายการวิจย
                                         ั                                                                        ั
วช. ส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็ นการดาเนินงานบริ หารงานวิจยในรู ปแบบใหม่เน้นความสาคัญในการสร้างความเข้มแข็งเครื อข่าย
                                                     ั
วิจยในพื้นที่แต่ละจังหวัดอย่างมีเอกภาพ งบประมาณการวิจยกระจายสู่ภาคีเครื อข่ายที่เข้าร่ วมโครงการกับ วช. ช่วยให้เกิด
    ั                                                     ั
การขับเคลื่อนนโยบายการวิจยของชาติสู่ชุมชน ชุมชนมีโอกาสนาเสนอปั ญหาในพื้นที่ สามารถดาเนิ นการทาวิจยอย่าง
                                ั                                                                           ั
ถูกวิธีการ และมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ร่วมเข้าดาเนิ นการด้วย เป็ นการกระจายโอกาส และสร้างความ
เข้มแข็งให้กบการวิจยในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน (ได้แก่ จังหวัดลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย
                ั          ั
พะเยา แพร่ และน่าน) โดยแยกกลุ่มสาขาด้านการวิจยออกเป็ น 4 กลุ่มคือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านเกษตรและ
                                                   ั
เทคโนโลยีการเกษตร ด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ และด้านสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่ งศูนย์ภาคีเครื อข่ายวิจยล้านนานี้ จะเป็ น
                                                                                                 ั
ต้นแบบของการบริ หารจัดการและดาเนินการของศูนย์ภาคีเครื อข่ายอื่นๆ ของ วช. ที่จะจัดตั้งในส่วนภูมิภาคอื่นในอนาคต

         ผลการดาเนิ นงานโครงการฯ 1 ปี ที่ ผ่านมานั้น รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ร พล นธการกิ จกุล ผู้อานวยการ
แผนงานวิจัย รายงานว่าโครงการฯได้รับทุนอุดหนุ นการวิจยประจาปี 2552 เป็ นจานวนเงิ น 4,400,000.00 บาท
                                                           ั
จากสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.) เริ่ มทาการวิจยตั้งแต่เดือน กันยายน 2552 ประกอบด้วย โครงการวิจยย่อย
                            ั                            ั                                                  ั
3 โครงการ มี ค ณะท างานนัก วิจัย ของสถาบัน วิ จัย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ ร่ ว มกับ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ดาวรุ่ ง กังวานพงศ์ อดีตรองอธิ การบดีฝ่ายวิจยและบริ การวิชาการเป็ นที่
                                                                                      ั
ปรึ กษาแผนงานฯ และรองศาสตราจารย์ ดร.ธนพร สุ ปริ ยศิลป์ ผูอานวยการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้
                                                             ้                 ั

                                                                                                                   1
การสนับสนุน ทีมนักวิจย และสิ่ งอานวยความสะดวกของสถาบันฯ ได้รูปแบบโครงสร้างและการบริ หารจัดการศูนย์ฯ
                       ั
ได้กาหนดยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบติงาน และมีการประสานงานเครื อข่ายวิจยในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน จาก
                                  ั                                    ั
สถาบันการศึกษาและสถาบันวิชาการของรัฐและเอกชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริ หารส่ วน
จังหวัดและท้องถิ่น สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หอการค้าจังหวัด สมาคมผูประกอบการในพื้นที่และวิสาหกิจชุมชน ใน 8
                                                                   ้
จังหวัดภาคเหนื อตอนบน เข้าร่ วมมากกว่า 200 เครื อข่าย ผลการสารวจความต้องการงานวิจยเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่ ได้
                                                                                      ั
ประเด็นสาคัญคือ 1. การวิจยเพื่อพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2. การวิจยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม:
                          ั                                                  ั
ด้านการสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม 3. การวิจยเพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต ด้านการเกษตร
                                                    ั
การท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม 4. การวิจยเพื่อพัฒนาการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการท้องถิ่น มีการจัดทาฐานข้อมูล
                                       ั
วิจยและนักวิจยในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ การประชุมกลุ่มย่อย และผ่านเว็บไซต์www.ist.cmu.ac.th/NRCT
   ั          ั
ของสถาบันฯ มีการสร้างหลักสูตรและจัดอบรมความรู ้เสริ มสร้างและเพิ่มสมรรถนะนักวิจยท้องถิ่นใน 8 จังหวัดภาคเหนือ
                                                                                  ั
ตอนบนและได้รับข้อเสนอเชิงพื้นที่และเชิงประเด็นวิจย จานวน 17 แผนงาน
                                                  ั

        ในวันเปิ ดงานมีผูเ้ ข้าร่ วมงานประมาณ 170 คน ประกอบด้วยคณะทางาน คณะกรรมการอานวยการ ที่ปรึ กษา
โครงการฯ ภาคีเครื อข่ายวิจยจากผูแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ของ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน ผูบริ หารของ
                            ั        ้                                                     ้
สถาบันการศึกษาและแหล่งทุนวิจย นักวิจย ผูสนใจและสื่ อมวลชน
                                   ั     ั ้

          มีการบรรยายพิเศษ การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศโดยการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของระบบวิจัย โดย
ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิ การคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ บทบาทของสถาบันการศึกษาต่ อการ
                                                                             ั
พั ฒ นานั ก วิ จั ย ในพื้ น ที่ โดยผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ วรยศ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ ายวิ จั ย และบริ การวิ ช าการ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่             การขับเคลื่อนศู นย์ ภาคีเครือข่ ายวิจัยล้ านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.สุ รพล นธการกิ จกุล ผูอานวยการแผนงานวิจย และการเสวนา การสร้ างความเข้ มแข็งของ
                                                    ้                          ั
เครือข่ ายภาคีวจยในพืนทีภาคเหนือตอนบนจากตัวแทนของภาคส่ วน ภาคการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชริ นทร์
                  ิั      ้ ่
เตชะพันธุ์ คณบดี คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ภาครั ฐ นายนพดล ณ เชี ยงใหม่ นายกองค์การ
บริ หารส่ วนท้องถิ่นตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชี ยงใหม่ หน่ วยงานภาคเอกชน นายวิเชี ยร เชิ ดชูตระกูลทอง
รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชี ยงใหม่ อดีตนายกสมาคมส่ งเสริ มผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
                                                                                 ้
ย่อ มไทย (สสวท/ATSME) นายณรงค์ ตนานุ วัฒ น์ รองประธานคณะกรรมการพัฒ นาพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ ภาคเหนื อ
หอการค้าไทย และที่ ปรึ กษาหอการค้าจังหวัดเชี ยงใหม่ ภาคประชาชน นายชั ดชาญ เอกชั ยพัฒนกุล ผูจดการบริ ษท   ้ั          ั
เชียงใหม่วนัสนันท์ จากัด และแหนมวนัสนันท์ไบโอเทค จังหวัดเชียงใหม่

        การจัดงานครั้งนี้ มีการแสดงนิทรรศการต่างๆ และบูธแสดงตัวอย่างผลงานวิจยนักวิจยด้านวิทยาศาสตร์และ
                                                                            ั       ั
เทคโนโลยีของหน่วยงานของมหาวิทยาลัยและขององค์กรต่างๆ ร่ วมกับองค์กรท้องถิ่นและภาคเอกชน ในการถ่ายทอด
เทคโนโลยีดานการเกษตร พลังงาน อาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่ งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อผลักดันเศรษฐกิจชุมชน และ
           ้
แก้ปัญหาคุณภาพชีวตของชุมชนใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนอย่างยังยืน
                 ิ                                            ่

                                                                                                                    2
รู ปภาพประกอบ




บรรยายพิเศษ การพัฒนาระบบวิจยของประเทศโดยการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของระบบวิจย
                                ั                                             ั
โดย ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ
                                                                 ั




ผูเ้ ข้าร่ วมประชุมจากภาคีเครื อข่ายวิจยจากผูแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ของ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
                                       ั     ้
ผูบริ หารของสถาบันการศึกษาและแหล่งทุนวิจย นักวิจย ผูสนใจและสื่ อมวลชน
    ้                                          ั      ั ้




                                                                                                       3
คณะกรรมการดาเนินงานจัดตั้งศูนย์ภาคีเครื อข่ายวิจยล้านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.)
                                                ั                              ั




การเสวนา การสร้ างความเข้ ม แข็ ง ของเครื อ ข่ า ยภาคี วิ จั ย ในพื้น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนจากตัว แทนของภาคส่ ว น
ภาคการศึ ก ษา ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชริ น ทร์ เตชะพัน ธุ์ คณบดี ค ณะอุ ตสาหกรรมเกษตร มหาวิท ยาลัย เชี ย งใหม่
ภาครั ฐ นายนพดล ณ เชี ย งใหม่ นายกองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นท้องถิ่ น ตาบลดอนแก้ว อ าเภอแม่ ริม จัง หวัด เชี ย งใหม่
หน่ วยงานภาคเอกชน นายวิเชี ยร เชิ ดชูตระกูลทอง รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ นายณรงค์ ตนา
นุวัฒน์ ที่ ปรึ กษาหอการค้าจังหวัดเชี ยงใหม่ ภาคประชาชน นายชั ดชาญ เอกชั ยพัฒนกุล ผูจัดการบริ ษท เชี ยงใหม่
                                                                                            ้        ั
วนัสนันท์ จากัด




                                                                                                              4
ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ถ่ ายภาพร่ วมกับผู้บรรยายพิเศษ
                                                             ั
บทบาทของสถาบันการศึกษาต่อการพัฒนานักวิจยในพืนที่โดยผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ วรยศ รองอธิการบดีฝ่ายวิจย
                                               ั  ้                                                    ั
และบริ การวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการขับเคลือนศูนย์ ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนาของสานักงาน
                                                      ่                      ั
คณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นธการกิจกุล ผูอานวยการแผนงานวิจย
                ั                                                    ้                      ั




รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นธการกิจกุล ผูอานวยการแผนงานวิจยและรองศาสตราจารย์ ดร.ธนพร สุปริ ยศิลป์
                                      ้                   ั
ผูอานวยการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นาศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการ
  ้                ั
คณะกรรมการวิจยแห่งชาติ และตัวแทนเครื อข่ายภาคีวจย เยียมชนบูธและนิทรรศการ
              ั                                ิั ่




                                                                                                           5

Contenu connexe

Tendances

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socPrachoom Rangkasikorn
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555RMUTT
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 
นายพิพากษา สุทธินา
นายพิพากษา สุทธินานายพิพากษา สุทธินา
นายพิพากษา สุทธินาJanchaiPokmoonphon
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014Wichai Likitponrak
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
Kick off program
Kick off programKick off program
Kick off programrattapol
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564PornpenInta
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 

Tendances (20)

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
 
Summary dhurain
Summary dhurainSummary dhurain
Summary dhurain
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 
นายพิพากษา สุทธินา
นายพิพากษา สุทธินานายพิพากษา สุทธินา
นายพิพากษา สุทธินา
 
V 254
V 254V 254
V 254
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
V 282
V 282V 282
V 282
 
Kick off program
Kick off programKick off program
Kick off program
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
6
66
6
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
V 265
V 265V 265
V 265
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 

En vedette

Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...
Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...
Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...Infosecurity2010
 
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs UtrechtEric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs UtrechtInfosecurity2010
 
Arie Kuit
Arie KuitArie Kuit
Arie Kuitariesax
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2rattapol
 
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKit
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKitComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKit
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKitCorneliu Chitanu
 
iWave Company Profile
iWave Company ProfileiWave Company Profile
iWave Company Profileazeezsr
 
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs UtrechtPaul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs UtrechtInfosecurity2010
 
Training for research&transfer
Training for research&transferTraining for research&transfer
Training for research&transferrattapol
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...Infosecurity2010
 
Employee stress management techniques 2
Employee stress management techniques 2Employee stress management techniques 2
Employee stress management techniques 2Dinesh Chandran
 
Timefly iOS App Development Presentation
Timefly iOS App Development PresentationTimefly iOS App Development Presentation
Timefly iOS App Development PresentationCorneliu Chitanu
 

En vedette (17)

Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...
Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...
Emiel Brok, Open Source tijdens Infosecurity.nl Storage Expo en Tooling Event...
 
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs UtrechtEric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Eric Verheul, Infosecurity.nl, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
 
Doc002
Doc002Doc002
Doc002
 
Arie Kuit
Arie KuitArie Kuit
Arie Kuit
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKit
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKitComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKit
ComponentKit basics presentation: Improving View Performance with ComponentKit
 
iWave Company Profile
iWave Company ProfileiWave Company Profile
iWave Company Profile
 
Doc001
Doc001Doc001
Doc001
 
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs UtrechtPaul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
Paul James Adams, InfoSecurity.nl 2010, 3 november, Jaarbeurs Utrecht
 
Training for research&transfer
Training for research&transferTraining for research&transfer
Training for research&transfer
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...
Sharon Conheady - Social engineering & social networks (4 novmber Jaarbeurs U...
 
Doc002
Doc002Doc002
Doc002
 
How is Destiny Created?
How is Destiny Created?How is Destiny Created?
How is Destiny Created?
 
Employee stress management techniques 2
Employee stress management techniques 2Employee stress management techniques 2
Employee stress management techniques 2
 
Timefly iOS App Development Presentation
Timefly iOS App Development PresentationTimefly iOS App Development Presentation
Timefly iOS App Development Presentation
 

Similaire à Kick off nrct

2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยKobwit Piriyawat
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 

Similaire à Kick off nrct (20)

V 268
V 268V 268
V 268
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
V 301
V 301V 301
V 301
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
 
NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
V 264
V 264V 264
V 264
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 

Kick off nrct

  • 1. งานเปิ ดตัวศู นย์ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนา ั ของสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ (วช.) ั วันที่ 11 ตุลาคม 2553 เวลา 8.30 – 13.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรู ม โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จ.เชียงใหม่ การเปิ ดตัวศู นย์ ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ (วช.) ซึ่งเป็ นศู นย์ ประสาน ั งานวิจัยภู มิภาคแห่ งแรกของ วช มีภารกิจในการขับเคลื่อนนโยบายการวิจัยของชาติสู่ ชุมชน โดยการบริ หารจัดการ งานวิจัยและการจัดการความรู้ กาหนดกรอบทิศทางการวิจัยที่สอดคล้ องกับศั กยภาพและความต้ องการในพืนที่ สร้ าง ้ ฐานข้ อมูลงานวิจยและพัฒนานักวิจัย สนับสนุนแหล่ งทุนวิจัยและการถ่ ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยสู่ ชุมชนอย่ างมี ั ส่ วนร่ วมจากหน่ วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีการจัดบูธแสดงนิทรรศการ ตลอดจนรับฟั งนโยบายการพัฒนาระบบวิจัย และนักวิจยจากผู้บริหารระดับสู งของ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ (วช) สถาบันการศึกษา และเสวนาการสร้ าง ั ความเข้ มแข็งของเครือข่ ายภาคีวจยในพืนทีภาคเหนือตอนบนจาก ผู้แทนทุกภาคส่ วนทั้งภาครัฐและเอกชน ิั ้ ่ สื บ เนื่ อ งจากนโยบายการวิจัย ของชาติ พ.ศ. 2551-2553 เน้น การบู รณาการด้านการวิจัย ให้สอดคล้อ งกับ แนวนโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศโดยให้ทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วม อย่างไรก็ตามการสนับสนุนงบประมาณ วิจยยังอยูในสถาบันการศึกษาระดับสูง และกระจุกอยูที่ส่วนกลางโดยไม่กระจายไปยังพื้นที่ส่วนภูมิภาค ทาให้ผลงานวิจย ั ่ ่ ั ส่ วนใหญ่ได้องค์ความรู ้ ที่ไม่ตอบสนองการแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ ด้วยเหตุน้ ี สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ (วช.) ั โดยภารกิจโครงการและประสานงานวิจย (ภค.) จึงสนับสนุนโครงการศึกษาแนวทางการจัดตั้งศูนย์ภาคีเครื อข่ายการวิจย ั ั วช. ส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็ นการดาเนินงานบริ หารงานวิจยในรู ปแบบใหม่เน้นความสาคัญในการสร้างความเข้มแข็งเครื อข่าย ั วิจยในพื้นที่แต่ละจังหวัดอย่างมีเอกภาพ งบประมาณการวิจยกระจายสู่ภาคีเครื อข่ายที่เข้าร่ วมโครงการกับ วช. ช่วยให้เกิด ั ั การขับเคลื่อนนโยบายการวิจยของชาติสู่ชุมชน ชุมชนมีโอกาสนาเสนอปั ญหาในพื้นที่ สามารถดาเนิ นการทาวิจยอย่าง ั ั ถูกวิธีการ และมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ร่วมเข้าดาเนิ นการด้วย เป็ นการกระจายโอกาส และสร้างความ เข้มแข็งให้กบการวิจยในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน (ได้แก่ จังหวัดลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย ั ั พะเยา แพร่ และน่าน) โดยแยกกลุ่มสาขาด้านการวิจยออกเป็ น 4 กลุ่มคือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านเกษตรและ ั เทคโนโลยีการเกษตร ด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ และด้านสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่ งศูนย์ภาคีเครื อข่ายวิจยล้านนานี้ จะเป็ น ั ต้นแบบของการบริ หารจัดการและดาเนินการของศูนย์ภาคีเครื อข่ายอื่นๆ ของ วช. ที่จะจัดตั้งในส่วนภูมิภาคอื่นในอนาคต ผลการดาเนิ นงานโครงการฯ 1 ปี ที่ ผ่านมานั้น รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ร พล นธการกิ จกุล ผู้อานวยการ แผนงานวิจัย รายงานว่าโครงการฯได้รับทุนอุดหนุ นการวิจยประจาปี 2552 เป็ นจานวนเงิ น 4,400,000.00 บาท ั จากสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.) เริ่ มทาการวิจยตั้งแต่เดือน กันยายน 2552 ประกอบด้วย โครงการวิจยย่อย ั ั ั 3 โครงการ มี ค ณะท างานนัก วิจัย ของสถาบัน วิ จัย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ ร่ ว มกับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ดาวรุ่ ง กังวานพงศ์ อดีตรองอธิ การบดีฝ่ายวิจยและบริ การวิชาการเป็ นที่ ั ปรึ กษาแผนงานฯ และรองศาสตราจารย์ ดร.ธนพร สุ ปริ ยศิลป์ ผูอานวยการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้ ้ ั 1
  • 2. การสนับสนุน ทีมนักวิจย และสิ่ งอานวยความสะดวกของสถาบันฯ ได้รูปแบบโครงสร้างและการบริ หารจัดการศูนย์ฯ ั ได้กาหนดยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบติงาน และมีการประสานงานเครื อข่ายวิจยในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน จาก ั ั สถาบันการศึกษาและสถาบันวิชาการของรัฐและเอกชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริ หารส่ วน จังหวัดและท้องถิ่น สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หอการค้าจังหวัด สมาคมผูประกอบการในพื้นที่และวิสาหกิจชุมชน ใน 8 ้ จังหวัดภาคเหนื อตอนบน เข้าร่ วมมากกว่า 200 เครื อข่าย ผลการสารวจความต้องการงานวิจยเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่ ได้ ั ประเด็นสาคัญคือ 1. การวิจยเพื่อพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2. การวิจยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม: ั ั ด้านการสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม 3. การวิจยเพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต ด้านการเกษตร ั การท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม 4. การวิจยเพื่อพัฒนาการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการท้องถิ่น มีการจัดทาฐานข้อมูล ั วิจยและนักวิจยในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ การประชุมกลุ่มย่อย และผ่านเว็บไซต์www.ist.cmu.ac.th/NRCT ั ั ของสถาบันฯ มีการสร้างหลักสูตรและจัดอบรมความรู ้เสริ มสร้างและเพิ่มสมรรถนะนักวิจยท้องถิ่นใน 8 จังหวัดภาคเหนือ ั ตอนบนและได้รับข้อเสนอเชิงพื้นที่และเชิงประเด็นวิจย จานวน 17 แผนงาน ั ในวันเปิ ดงานมีผูเ้ ข้าร่ วมงานประมาณ 170 คน ประกอบด้วยคณะทางาน คณะกรรมการอานวยการ ที่ปรึ กษา โครงการฯ ภาคีเครื อข่ายวิจยจากผูแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ของ 8 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน ผูบริ หารของ ั ้ ้ สถาบันการศึกษาและแหล่งทุนวิจย นักวิจย ผูสนใจและสื่ อมวลชน ั ั ้ มีการบรรยายพิเศษ การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศโดยการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของระบบวิจัย โดย ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิ การคณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ บทบาทของสถาบันการศึกษาต่ อการ ั พั ฒ นานั ก วิ จั ย ในพื้ น ที่ โดยผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ วรยศ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ ายวิ จั ย และบริ การวิ ช าการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การขับเคลื่อนศู นย์ ภาคีเครือข่ ายวิจัยล้ านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุ รพล นธการกิ จกุล ผูอานวยการแผนงานวิจย และการเสวนา การสร้ างความเข้ มแข็งของ ้ ั เครือข่ ายภาคีวจยในพืนทีภาคเหนือตอนบนจากตัวแทนของภาคส่ วน ภาคการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชริ นทร์ ิั ้ ่ เตชะพันธุ์ คณบดี คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ภาครั ฐ นายนพดล ณ เชี ยงใหม่ นายกองค์การ บริ หารส่ วนท้องถิ่นตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชี ยงใหม่ หน่ วยงานภาคเอกชน นายวิเชี ยร เชิ ดชูตระกูลทอง รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชี ยงใหม่ อดีตนายกสมาคมส่ งเสริ มผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ้ ย่อ มไทย (สสวท/ATSME) นายณรงค์ ตนานุ วัฒ น์ รองประธานคณะกรรมการพัฒ นาพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ ภาคเหนื อ หอการค้าไทย และที่ ปรึ กษาหอการค้าจังหวัดเชี ยงใหม่ ภาคประชาชน นายชั ดชาญ เอกชั ยพัฒนกุล ผูจดการบริ ษท ้ั ั เชียงใหม่วนัสนันท์ จากัด และแหนมวนัสนันท์ไบโอเทค จังหวัดเชียงใหม่ การจัดงานครั้งนี้ มีการแสดงนิทรรศการต่างๆ และบูธแสดงตัวอย่างผลงานวิจยนักวิจยด้านวิทยาศาสตร์และ ั ั เทคโนโลยีของหน่วยงานของมหาวิทยาลัยและขององค์กรต่างๆ ร่ วมกับองค์กรท้องถิ่นและภาคเอกชน ในการถ่ายทอด เทคโนโลยีดานการเกษตร พลังงาน อาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่ งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อผลักดันเศรษฐกิจชุมชน และ ้ แก้ปัญหาคุณภาพชีวตของชุมชนใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนอย่างยังยืน ิ ่ 2
  • 3. รู ปภาพประกอบ บรรยายพิเศษ การพัฒนาระบบวิจยของประเทศโดยการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของระบบวิจย ั ั โดย ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ั ผูเ้ ข้าร่ วมประชุมจากภาคีเครื อข่ายวิจยจากผูแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ของ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ั ้ ผูบริ หารของสถาบันการศึกษาและแหล่งทุนวิจย นักวิจย ผูสนใจและสื่ อมวลชน ้ ั ั ้ 3
  • 4. คณะกรรมการดาเนินงานจัดตั้งศูนย์ภาคีเครื อข่ายวิจยล้านนาของสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.) ั ั การเสวนา การสร้ างความเข้ ม แข็ ง ของเครื อ ข่ า ยภาคี วิ จั ย ในพื้น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนจากตัว แทนของภาคส่ ว น ภาคการศึ ก ษา ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชริ น ทร์ เตชะพัน ธุ์ คณบดี ค ณะอุ ตสาหกรรมเกษตร มหาวิท ยาลัย เชี ย งใหม่ ภาครั ฐ นายนพดล ณ เชี ย งใหม่ นายกองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นท้องถิ่ น ตาบลดอนแก้ว อ าเภอแม่ ริม จัง หวัด เชี ย งใหม่ หน่ วยงานภาคเอกชน นายวิเชี ยร เชิ ดชูตระกูลทอง รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ นายณรงค์ ตนา นุวัฒน์ ที่ ปรึ กษาหอการค้าจังหวัดเชี ยงใหม่ ภาคประชาชน นายชั ดชาญ เอกชั ยพัฒนกุล ผูจัดการบริ ษท เชี ยงใหม่ ้ ั วนัสนันท์ จากัด 4
  • 5. ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ถ่ ายภาพร่ วมกับผู้บรรยายพิเศษ ั บทบาทของสถาบันการศึกษาต่อการพัฒนานักวิจยในพืนที่โดยผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ วรยศ รองอธิการบดีฝ่ายวิจย ั ้ ั และบริ การวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการขับเคลือนศูนย์ ภาคีเครือข่ ายวิจยล้ านนาของสานักงาน ่ ั คณะกรรมการวิจยแห่ งชาติ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นธการกิจกุล ผูอานวยการแผนงานวิจย ั ้ ั รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นธการกิจกุล ผูอานวยการแผนงานวิจยและรองศาสตราจารย์ ดร.ธนพร สุปริ ยศิลป์ ้ ั ผูอานวยการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นาศาสตราจารย์ นพ.สุทธิ พร จิ ตต์ มิตรภาพ เลขาธิการ ้ ั คณะกรรมการวิจยแห่งชาติ และตัวแทนเครื อข่ายภาคีวจย เยียมชนบูธและนิทรรศการ ั ิั ่ 5