SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  66
LOGO



   บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก :
      นโยบายด้านการศึกษา




           ดร.สมบัติ สุวรรณพิทักษ์
         รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เนื้อหาการบรรยาย
              1
                        ความรูเกี่ยวกับอาเซียน
                              ้
                           -


              2
                        ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

              3
                       การศึกษา : รากฐานประชาคมอาเซียน

             4
                       แผนยุทธศาสตร์การศึกษาของไทย
                           .




www.themegallery.com
ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
                          -




                          .




www.themegallery.com
คำาถาม?
 ทำาไมจึงต้องเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคม
  อาเซียน ปี 2558
 ไทยได้รบประโยชน์อย่างไรในการก้าวสู่การเป็น
          ั
  ประชาคมอาเซียน


                         คำาถามแรก

 ท่านรู้จักอาเซียนดีเพียงใด?
  www.themegallery.com
จุดกำาเนิดอาเซียน
 บ้านพักที่แหลมแท่น บางแสน พลังจิตวิญญาณ
  แห่งบางแสน
 เดิมใช้ชื่อสมาคมความร่วมมือในภูมภาคเอเชีย
                                  ิ
  ตะวันออกเฉียงใต้
 วัตถุประสงค์เน้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
  มากกว่าการเมือง
 วันอังคารที่ 8 สิงหาคม 2510
 ลงนาม ณ วังสราญรมย์
 ชือว่า ASEAN อ่านว่าอาเซียน
    ่
 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 เสริมรากฐานการเป็นประชาคมในภูมภาคเอเชีย
www.themegallery.com                ิ
จุดเริ่มต้นอาเซียน
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตังโดย
                                              ้
    ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมือ 8  ่
                       สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
                                            2510




  www.themegallery.com
วัตถุประสงค์การก่อตั้ง
     เร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ยน
                            อาเซี ความก้าวหน้าทาง
สังคม และวัฒนธรรม
 ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมภาค
                                    ิ
 ส่งเสริมความร่วมมือในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์
   และการบริหาร
 อำานวยความสะดวกในด้านการฝึกอบรม และวิจัย ด้าน
การศึกษาวิชาชีพ วิชาการ
   และการบริหาร
 ร่วมมือด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
 ส่งเสริมการศึกษา
 ร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศส่วนภูมภาค
                                      ิ
  www.themegallery.com
สมาชิกอาเซียน
     อาเซียนเริ่มต้นด้วยสมาชิกห้าประเทศ
      คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
                สิงคโปร์ และไทย
      ต่อมามีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีกห้า
                           •




                    ประเทศ
                                     •




     ได้แก่ บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม
         สปป ลาว พม่า และกัมพูชา




www.themegallery.com
ความหมายของตราสัญลักษณ์
                   อาเซียน



         ต่อมามีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีกห้า
                                •




สีนำ้าเงิน สันติภาพและ
                    ประเทศ
                                              •



          •
ความมั่นคง บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม
สีแดงได้แก่
         ความกล้าหาญและ
ก้เหลือง ความเจริญ า และกัมพูชา
สี าวหน้•า สปป ลาว พม่
รุ่งเรือง
สีขาว ความบริสุทธิ์
รวงข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็น
               วงกลม นำ้าหนึ่งใจเดียว นเอกภาพ
                       แสดงถึงความเป็
  www.themegallery.com
หลักการพื้นฐานของอาเซียน


                         การตัดสินใจ
                          โดยหลัก
                          ฉันทามติ

                             การไม่       ความเป็น
                           แทรกแซง       อยู่ที่ดีของ
                         กิจการภายใน     ประชาชน
                          ของกันและ
                              กัน
                          ความร่วมมือ
                         เพื่อ พัฒนา
                          อาเซียน
www.themegallery.com
ก้าวสูประชาคมอาเซียน
                             ่




                          .




www.themegallery.com
ประชาคมอาเซียน
 คำาว่า ประชาคมอาเซียน ปรากฏครั้งแรกอย่างเป็น
  ทางการ ในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน ฉบับที่ 1 ที่เกาะ
  บาหลี อินโดนีเซีย
 อาเซียนคอมมิวนิตปรากฏเป็นทางการ ในวันที่ 24
                    ี้
  กุมภาพันธ์ 2519 โดย มรว. คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ นายก
  รัฐมนตรีรวมลงนาม มีรฐสมาชิก 5 ประเทศ
            ่          ั


   “รัฐสมาชิกต้องพัฒนาการรับรู้อย่างแข็งขันในเรื่องอัต
  ลักษณ์ภูมภาค และต้องใช้ความพยายามทุกอย่างในอัน
            ิ
  ที่จะสร้างประชาคมอาเซียนทีเข้มแข็งเป็นที่เคารพของ
                            ่
   ทุกชาติ และให้ความเคารพต่อทุกประเทศ บนพื้นฐาน
  ของความสัมพันธ์ระหว่างกันที่มผลประโยชน์รวมกัน
  www.themegallery.com
                               ี             ่
“วิสัยทัศน์อาเซียน ๒๐๒๐”

 ปี ๒๕๔๐ ผู้นำาอาเซียนให้การรับรอง “วิสัยทัศน์อาเซียน
           ๒๐๒๐” (ASEAN Vision 2020)
  เป็น ประชาคมอาเซียนภายในปี 2020 ที่มีสำานึกใน
   ความเชื่อมโยงในประวัตศาสตร์ของตน รับรู้อยู่ตลอด
                           ิ
  เวลาในมรดกทางวัฒนธรรมของตน และผูกพันด้วยอัต
      ลักษณ์ร่วมกันในภูมภาค (Common Regional
                         ิ
  Identity) เป็นสังคมอาเซียนที่เปิดกว้างแต่คงไว้ซึ่งอัต
  ลักษณ์ประจำาตัว (national identity) ผู้คนทุกหมูเหล่า
                                                 ่
    มีความเท่าเทียมกันมีโอกาสในการพัฒนาความเป็น
  มนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน (human development) ไม่
 ว่าจะเป็นเรืองเพศ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม
             ่
  เป็นสังคมที่ผนึกแน่น สามัคคีและเอืออาทรต่อกัน ใส่ใจ
  www.themegallery.com              ้
ปฏิญญาบาหลี ฉบับที่ ๒ (Bali
                                    Concord II)
    มีเป้าหมายไปสูการรวมตัวของ
                       ่
   อาเซียนในลักษณะการเป็นชุมชนหรือ
    ประชาคมเดียวกันให้สำาเร็จภายในปี
                   ๒๕๖๓
   ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน
  ครั้งที่ ๑๒ เมือเดือนมกราคม ๒๕๕๐ ที่
      เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ ผู้นำาประเทศ
   อาเซียนตกลงที่จะเร่งรัดกระบวนการ
    สร้างประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จ
              ภายในปี ๒๕๕๘
www.themegallery.com
การดำาเนินงานความร่วมมือในอาเซียน

2510 - 2520      ปรับเปลี่ยนทัศนคติลด
        ปัญหาความขัดแย้ง เป็น
                การพัฒนาสังคม
        วัฒนธรรมและสนเทศ
2520 - 2530      ขยายความร่วมมือทาง
        เศรษฐกิจในอาเซียน ก่อตั้ง
                เขตเสรีการค้าอาเซียน
2530 - 2540      เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
        กำาหนดวิสัยทัศน์อาเซียน
2540 - ปัจจุบัน ปรับปรุงองค์กรให้เข้ากับ
www.themegallery.com
ประโยชน์ทไทยได้รับจากอาเซียน
             ี่

    การเมือง             เศรษฐกิจ          สังคม

- มีความมั่นคง         - เพิ่มการค้า   - แก้ไขปัญหา
ทางด้าน                - ลดต้นทุน      ที่มผลกระทบ
                                           ี
การเมือง               การผลิต         ต่อสังคม เช่น
                                       โรคระบาด
                       - ขยายตลาด
                                       ต่างๆ ยาเสพ
                       การค้า
                                       ติด
                                       - ร่วมมือกันใน
                                       การลดผลกระ
www.themegallery.com
                                       ทบที่เกิดจาก
โครงสร้างของประชาคมอาเซียน

                         ASEAN Community
                             by 2015




  ASEAN Political        ASEAN Economic    ASEAN Socio-cultural
Security Community         Community           Community




  www.themegallery.com
แผนงานการจัดตั้งประชาคม
                                   อาเซียน
 ที่ประชุมสุดยอดครั้งที่ 14 ที่ชะอำา เมือวันที่
                                         ่
 1 มีนาคม 2552 ได้
   รับรองปฏิญญาชะอำา - หัวหินว่าด้วยแผน
 งานสำาหรับการจัดตั้ง
   ประชาคมอาเซียน 2552-2558 ซึ่งผนวก
 แผนงานสำาหรับการจัดตั้ง
   ประชาคมอาเซียนทัง 3 เสาหลัก ได้แก่
                      ้
 ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน
 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
www.themegallery.com
ประชาคมอาเซียน
๑) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
      ประเทศในภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างมีสันติ มีระบบ
                        ่
   แก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มี
   เสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพือ   ่
   รับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและ
   รูปแบบใหม่ๆ เพือให้ประชาชนมีความปลอดภัยและ
                   ่
   มั่นคง มีพลวัตรและปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอก
   อาเซียน
๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัว
   กันทางเศรษฐกิจ เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
   มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
  www.themegallery.com
ประชาคมอาเซียน
๓. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
 เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มี
 สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปันมีสภาพความ
 เป็นอยู่ที่ดี มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยก
 ระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริม
 การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ส่งเสริมอัต
 ลักษณ์อาเซียน



www.themegallery.com
เนื้อหาการบรรยาย

                 การศึกษา : รากฐานประชาคมอาเซีย
                       -




                        .




www.themegallery.com
การศึกษา: รากฐานการสร้าง
                                        ประชาคม
 เป็นส่วนหนึงของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน
               ่
  เริมตังแต่ทศวรรษแรกของการก่อตังอาเซียน เมือมี
     ่ ้                            ้         ่
  การจัดการประชุมด้านการศึกษา ASEAN
  Permanent Committee on Socio-Cultural
  Activities ครังแรก เดือนตุลาคม ๒๕๑๘
                  ้
 การผลักดันให้ความร่วมมือด้านการศึกษาของ
  อาเซียนมีลักษณะทางการและมีผลในเชิงนโยบาย
  และในเชิงปฏิบัตมากขึ้น ด้วยการยกระดับความร่วม
                      ิ
  มือนีสู่ระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการศึกษา โดยการ
       ้
  ประชุมระดับรัฐมนตรีศกษาอาเซียนด้านการศึกษา
                          ึ
  หรือที่เรียกว่า Meeting of ASEAN Ministers of
  Education จัดขึนครังแรก เดือนธันวาคม ๒๕๒๐
                    ้
 www.themegallery.com
                        ้
การปรับโครงสร้างอาเซียน การศึกษา


 ในปี ๒๕๔๙ ประเทศสิงคโปร์ได้
  จัดการประชุมรัฐมนตรีศกษาอาเซียนครั้งที่ ๑
                           ึ
  ขึนในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๙ ลักษณะคูขนาน
    ้                                       ่
  กับการประชุมสภารัฐมนตรีศกษาแห่งเอเชียตะวัน
                              ึ
  ออกเฉียงใต้ ครั้งที่ ๔๑ และจากนันมา การประชุม
                                  ้
  ในลักษณะคูขนานเช่นนี้ ได้ดำาเนินการต่อเนื่องมา
                ่
  จนถึงปัจจุบนั




www.themegallery.com
การประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ ๖

  การรายงานการยกร่างแผน ๕ ปี ด้านการศึกษา
                    ของอาเซียน
   เห็นชอบร่างขอบเขตการดำาเนินงานของการ
               ประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโส
                                ่
          ด้าน การศึกษาของอาเซียน + ๓
  รับทราบการจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้าน
                   การศึกษาของ
                    อาเซียน + ๓
  การจัดการประชุมเชิงปฏิบัตการเรือง ความร่วม
                              ิ      ่
                มือด้านการศึกษาเพื่อ
     เสริมสร้างศักยภาพชุมชนและการแข่งขันใน
www.themegallery.com
ประเทศคู่เจรจาของอาเซียน
 สหรั ฐ อเมริ ก า                 จีน
                                    เกาหลีใต้
        แคนาดา
                                          ญีปุ่น
                                            ่
        ออสเตรเลี ย
                                        รัสเซีย
        นิ ว ซี แ ลนด์
       อิ น เดี ย                 สหภาพยุโรป
                                โครงการเพื่อการพัฒนาแห่ง
    ปากี ส ถาน (คู ่ เ จรจา
                                              สหประชาชาติ
  เฉพาะด้ า น )
 www.themegallery.com
ASEAN + 3

                                 Japan
                                 (ญี่ปน)
                                      ุ่

                                   ROK
                              (เกาหลีใต้)

                                China
                                 (จีน)




www.themegallery.com
www.themegallery.com
การประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 ครั้ง
                             ที่ 12
 วันที่ 24 ตุลาคม 2552 ณ ชะอำา-หัวหิน ผู้นำาอาเซียน
  ได้รับทราบแผนปฏิบติการด้านการศึกษาอาเซียน + 3
                          ั
   (ระหว่างปี 2553-2560) ที่ประเทศไทยนำาเสนอ และ
  รับทราบความพร้อมของไทยที่จะเป็นผู้ผลักดันให้เกิด
  ความร่วมมือด้านการศึกษาในกรอบอาเซียน +3
 ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษาของอาเซียน
  ครังที่ 4 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบให้มี
     ้
  การริเริมเวทีการประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโสด้านการศึกษา
           ่                        ่
  ของอาเซียน +3 โดยเสนอให้จัดตังคณะทำางานเฉพาะ
                                      ้
  กิจด้านการศึกษาของประเทศอาเซียน + 3 เพื่อศึกษา
  รายละเอียดและรูปแบบในการจัดตังกลไกความร่วมมือ
                                        ้
  กับประเทศอาเซียน และจีน เกาหลี และญี่ปุ่น
 www.themegallery.com
การประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโสด้านการศึกษา
                         ่
                              ของอาเซียน+3
    มีภารกิจในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง
    กลุ่มประเทศอาเซียน + 3 เพื่อส่งเสริมความร่วม
   มือด้านการศึกษาในภูมภาคเอเชียตะวันออก ตาม
                             ิ
      วิสัยทัศน์ของผู้นำาอาเซียน + 3 ที่ปรากฏใน
   แถลงการณ์รวมของความร่วมมือเอเชียตะวันออก
                  ่
                       ที่กล่าวว่า
    “เพื่อการเสริมสร้างและขยายความร่วมมือเอเชียตะวัน
   ออกเพื่อให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาคุณภาพ
   ชีวตที่ดขึ้นของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก”
       ิ    ี
         การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษา
    อาเซียน+3 ยังเป็นเวทีในการอภิปรายและเสนอ
    ข้อคิดเห็นต่อการประชุมรัฐมนตรีดานการศึกษา
www.themegallery.com
                                       ้
ร่างแผนปฏิบัติการ
                         ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี
                                              2553-2560

       ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอาเซียน + 3
  (2553-2560) 6 ประการ
1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและ
  การฝึกอบรมแก่เด็กและเยาวชนทุกระดับ การ
  พัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา
2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย
  การวิจัยและพัฒนาระหว่างสถาบันและหน่วยงาน
  ต่างๆ ด้านการศึกษา
3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับ
  อุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าง
  www.themegallery.com
ร่างแผนปฏิบัติการ
         ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553 –
                                       2560 (ต่อ)
  4. การสนับสนุนกิจกรรมด้านการวิจัยและการ
    แลกเปลี่ยนทุนและนักวิชาการในประเทศ
 อาเซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง
       ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว
   5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการ
   ออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและนักวิชาการของ
ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดัง
        กล่าวเพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ
  6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วย
 การส่งเสริมเกี่ยวกับการศึกษาอาเซียนและการ
       ศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมภาค
www.themegallery.com
                                  ิ
การประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโสด้านการศึกษา
                         ่
                             อาเซียนบวกสาม




www.themegallery.com
การประชุมความร่วมมือเอเชียตะวันออก
                               ด้านการศึกษา




www.themegallery.com
การประชุมด้านการศึกษาระหว่างอาเซียน
                          กับรัฐอ่าวอาหรับ




www.themegallery.com
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน


 ประเทศไทยมีบทบาทสำาคัญในการผลักดันให้เกิด
  ความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคม
  อาเซียน โดยได้เสนอปฏิญญา               ชะอำา-
  หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการ
  ศึกษาเพื่อสร้างประชาคมอาเซียนทีเอื้ออาทรและ
                                    ่
  แบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผูนำาอาเซียน เพื่อ
                              ้
  ให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอด
  อาเซียน ครั้งที่ ๑๕ ณ ชะอำา-หัวหิน ประเทศไทย



www.themegallery.com
ปฏิญญาชะอำา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้าง
      ความร่วมมือด้านการศึกษาที่เอื้ออาทรที่
                                     แบ่งปัน
ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การ
 รับรอง เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๒
เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการ
 ศึกษาของทีประชุมวิชาการระดับภูมิภาคเพื่อ
              ่
 เสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อ
 ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ระหว่างวันที่
 ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี
 วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด
 ชลบุรี
www.themegallery.com
บทบาทของภาคการศึกษาใน
   เสาการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน

ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและ
 ความตระหนักรับรู้เรื่องกฎบัตรอาเซียนโดย
 ผ่านหลักสูตรอาเซียนในโรงเรียน การเน้น
 ในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพ
 ในสิทธิมนุษยชน และค่านิยมในเรื่อง
 แนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน
 การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนัก
 รับรู้ในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 ประเพณีและความเชื่อในภูมิภาค
www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสา
                                  เศรษฐกิจ

 ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายใน
  ประเทศของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วย
  สนับสนุนการมุงไปสู่การจัดทำาการยอมรับทักษะ
                   ่
  ในอาเซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน
  นักศึกษาให้มากขึ้น การพัฒนามาตรฐานด้าน
  อาชีพบนพื้นฐานของความสามารถในภูมิภาค
  อาเซียนโดยมุงการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร
                 ่
  มนุษย์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับ
  ภูมภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ
     ิ
  ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับ
  กระบวนการกรอบการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน
www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและ
                                         วัฒนธรรม

 การพัฒนาเนื้อหาสาระร่วมในเรืองอาเซียนสำาหรับ
                                  ่
  โรงเรียนเพื่อใช้อางอิงสำาหรับการฝึกอบรมและ
                   ้
  การสอนของครูอาจารย์
 การเสนอให้มหลักสูตรปริญญาด้านศิลป
                ี
  วัฒนธรรมอาเซียนในมหาวิทยาลัย
 การกำาหนดให้ภาษาประจำาชาติอาเซียนเป็นภาษา
  ต่างประเทศวิชาเลือกในโรงเรียน
 การสนับสนุนโครงการระดับภูมภาคที่มงเน้นที่การ
                                ิ      ุ่
  ส่งเสริมการตระหนักรับรูเกี่ยวกับอาเซียนให้แก่
                           ้
  เยาวชน
www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและ
                                    วัฒนธรรม (ต่อ)


การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอาเซียน
 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางการวิจัยและ
 พัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสำาหรับนักวิจัย
 จากประเทศสมาชิก
การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้
 ในเรื่องสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียนโดย
 การบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรในโรงเรียน

การเฉลิมฉลอง วันอาเซียน (วันที่ ๘
www.themegallery.com
แผนยุทธศาสตร์การศึกษาของไทย




                       .




www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ
                           อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘
  ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกียว
                                             ่
                     กับอาเซียน

  ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วม
  การเป็นประชาชนอาเซียนในสังคมทุกระดับ รวม
  ทั้งในสาขาการศึกษา
 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและ
  สนับสนุนให้มการจัดทำารูปแบบโครงการอาเซียน
               ี
  ศึกษาในภูมภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่อง
             ิ
  อาเซียนในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษา
  และมัธยมศึกษา การจัดทำาโครงการฝึกอบรมครู
  และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมภาค
www.themegallery.com                  ิ
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ
                            อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)
   ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับ
                      การศึกษา
             ในระดับประถมและมัธยมศึกษา
    เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
     จากการประชุมโลกว่าการศึกษาเพื่อปวงชน เมือ    ่
      ปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนได้ให้การ
    รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มี
    การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาทั่วโลกและ
          ให้มการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา
              ี
     ประชาคมโลกได้กำาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลก
       บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
                    ภายในปี ๒๕๕๘
www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ
                              อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัด
   มาตรฐานการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตและการ
                       พัฒนาอาชีพ
 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถม
 ศึกษาและมัธยมศึกษา
 ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและ
 นอกระบบโรงเรียน
 ส่งเสริมโอกาสให้มการเรียนรูตลอดชีวตเพื่อให้
                     ี        ้     ิ
 ประชาชนทุกคนสามารถ
   ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
 การส่งเสริมให้มการประกันคุณภาพและการเพิ่ม
                 ี
  www.themegallery.com
ข้อเสนอแนะ


 การแบ่งปันแนวปฏิบติทดีเกี่ยวกับการประเมิน
                        ั ี่
  นักเรียน
 การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสำาหรับเสริมสร้าง
  ศักยภาพครู
 การสนับสนุนให้มการจัดทำากรอบการประกัน
                      ี
  คุณภาพครูในภูมภาค ิ
 การส่งเสริมให้มการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหาร
                  ี
  โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
 การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัตที่ดในการสร้างแรง
                             ิ ี
  จูงใจครู
www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ
                            อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)
 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและ
                  การจัดการศึกษา
               ให้มความเป็นสากล
                   ี
1. การจัดการศึกษาแก่ผู้เรียนเป็นไปเพื่อตอบสนอง
  ความต้องการของตลาดแรงงานและสภาพ
  เศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย
                          ั
  แรงงานที่มทักษะและความชำานาญการสูง และ
            ี
  สามารถเคลื่อนย้าย
2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจำาเป็นต้อง
  ได้รับการพัฒนาในด้านคุณภาพ
3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทำาให้ประเทศต่างๆ มีความ
  ต้องการแรงงานที่มีทักษะสูง ที่จำาเป็นจะต้องได้รบ
www.themegallery.com
                                                 ั
ข้อเสนอแนะ

 การแบ่งปันความรู้เกียวกับทรัพยากรในภูมภาคและการ
                      ่                   ิ
  เชือมโยงของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น การจัด
     ่
  ประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ
  มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐาน
  ข้อมูลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและการจัดทำา
  ศูนย์การเรียนรู้
 การส่งเสริมการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ชวยสนับสนุนให้
                                        ่
  เกิดการแลกเปลี่ยนนักเรียน และทุนการศึกษาในทุก
  ระดับ
 การจัดทำาแผนปฏิบตการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการ
                    ั ิ
  อุดมศึกษามีความเป็นสากลโดยมุงเน้นที่ยุทธศาสตร์ใน
  www.themegallery.com
                                ่
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ
                            อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดำาเนินงานของ
                 องค์กรรายสาขาอื่นๆ
                เพื่อพัฒนาการศึกษา
 การดำาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอาเซียนมีส่วน
  เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานด้านการศึกษา เช่น
  การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้าน
  ความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิ
  มนุษยชน การจัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/
  AIDS

www.themegallery.com
การดำาเนินงานด้านการศึกษาเพื่อขับเคลื่อน
              สู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย

 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อ
  รองรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
 แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้ง
  ให้ความสำาคัญต่อคุณภาพการศึกษาของประเทศ
  โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน
  วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ
  วิทยาศาสตร์
 แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙)
  เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล สร้างสังคม
  ไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมปัญญา และการเรียนรู้
                             ิ
  และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานใน
www.themegallery.com
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง

 เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วย
  การผลักดันนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้าง
  โอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รบการ  ั
  ศึกษาอย่างมีคณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ
                 ุ
  สร้างเด็กให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีความ
  สามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่รวม   ่
  ในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความ
  เป็นไทย ส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็น
  พลเมือง



www.themegallery.com
ÖđĊ ü
         Öøêø ö Ù ćö ó šö éšî ć ýċþćđ ę š ÿŠ ą ćÙ Ă à÷ îõ ć÷ Ĕ ðŘ
          ć ÷         ø ć Öø Ö ó Öü Ď
                       Ă              Ă
                                      Č ć ðøß ö ćđĊǰ î ǰ
                             ÁžÈ ¦° ’ · ˜·µŠÃ Š­¦oŠ
                               œ„ ž ´ª ‡¦ µ
                                                          ÿøÜü ćö đ ćĔ đĊ Ö Ö
                                                            š ٠ך Ý Ö ü ï ã
                                                            ć            ÷ ę Ć                                       „ ° º Š° ¸
                                                                                                                      µ¦­ œÁ¦° µÁ ¥œÄœÃ ¸
                                                                                                                              É        ¦ŠÁ¦¥œ
        Ö ĆĂ à÷ î
         ãï ćđĊ
           êø                „¦ µ µ ° µ ¸
                              µ šÎœ… Š Á ¥œ
                                 Š     °                                                Ý šÎ „ ¦¡´œµ „ ¦³
                                                                                         Ć µ ¦° µ • š´¬³ 
                                                                                         ถ „
                             ´ Ä 15 ›‡ 51
                              Š o
                               ‡´                         ï ćđĊ ǰ Üÿø
                                                           êø à÷ îÿŠ öĉ
                                                           ĆĂ         đ                                              „Î
                                                                                                                      µ œœ
                                                                                                                       ®
                                                                                        ™µ ° „Á¦¥œÁ‡¨œ¥o¥
                                                                                         n¥Ã œœ´ ¸    É
                                                                                                      º µ
                                                                                                       °
                                                          ðøßćí ĉĕ ǰÿì íöĉî ÷ ßî
                                                            ą ð ê÷ ĉ č ǰ    þ            œ¡´œµ ˜¦“ µ µ ¡ ˜n
                                                                                         ¦ŠŠµ • ¤µ œ°¸ °
                                                                                                                     ­ oŠ‡ª¤˜¦³ œ´Á„ ª°Át ¸œ
                                                                                                                      ¦µ µ ® „ ¸ „´ µ ¥
                                                                                                                                     ¥
                                                                                                                                     É
                                                                                                                     ­ Á­· „ ¦ª¥­ o ‡ª µ ‹Â ³
                                                                                                                      n ¦¤ µ · ´ ¦µ µ o ¨
                                                                                                                      Š        ‹ Š ¤Á…Ä
                                   ¦ µ µ Á¤ºŠ
                                    ³ ‡¤„ ¦ °             Ù î ö ì ćÜçî ø ǰÝé
                                                           Š ÷ĉ ü Ć íø ö Ć
                                                           ć                            ‡ª °„¦ ‡°­®¦ ¤
                                                                                          µ Š µ £µ » µ „ ¦
                                                                                           ¤˜o     ˜                 ˜¦®¦¼ °
                                                                                                                      ³´´oÄ ŠÂ
                                                                                                                       œ œ ­
                                                                                                                        „ ¦ Á ·o
                                                                                                                            ¦É
                                                                                                                            ɪ
                                                                                                                            ºŠ
                                    ‡ªµ œ
                                       ¤¤´‡Š
                                         É                Üî úĂ ü î ćđĊ ǰ
                                                           ć Þ ÜĆ à÷ î
                                                                    Ă

      ðøßćÙ Ă à÷ î
       ą ö ćđĊ
                                    ðøßćÙ
                                      ą ö                 ǰÖø Ö ó ÿø Üć đČ
                                                            ć ýċþćđ Č š Öøö Ă
                                                                    Ă ć
                                                                    ę        Ü               ć ýċþćđ ę š
                                                                                                     Ă
                                                                                                     Č ć
                                                                                           ǰÖø Ö ó ÿø Ü               ǰÖø Ö ó ÿøÜ Ćö Ēú
                                                                                                                        ć ýċþćđ Č š ÿÜ ą
                                                                                                                                Ă ć Ù
                                                                                                                                ę
                                    đ ø åÖ
                                     ýþ Ý ĉ                     Ēúą ü ćö ö ę Ü
                                                                   Ù î ǰ   ĆÙ                 đ ø åÖ
                                                                                              ý þ ĉǰÝ                         ü çî ø ǰǰ
                                                                                                                                Ć íø ö


                                  ¦ µ Š ¨³
                                   ³ ‡¤-´‡¤Â           œ µ‹ ˜ Š¦ µ¤
                                                        Šœ ´ ´ ³ ‡
                                                             —Š
                                 ª´ œ ¦ µ ¥
                                  • ›¦ ¤°ÁŽ¸œ         -´‡ ª´ œ ¦¤° ¥
                                                       Š¤ • ›¦ µ œÁŽ¸
                                                                             „ ¦ ¹¬
                                                                              µ« µ
                                                                                 „       ðäââ ćßą ĞĀ Ā šî
                                                                                           ĉ     Ă - Ć îéć
                                                                                                  ć ü ĉǰ
                                                                                          Öø Ö ÜćđĊ
                                                                                           ć ýċþć×ĂĂ à÷ î
ǰ   î÷ ï÷ ǰ ǰךǰǰđ ę ïÙ Č Öø Ö Ĕ Ă à÷ î Üø đýĕ ÷
     ē ć Ă ó ×Ć úę ć ýċþć î ćđĊ ×Ăð ąì ì
                   Ă
                   Č đ Ă î                               ÷ čí ýćÿêø1ÿøÜ ü ćö êø Ā Ć
                                                             ì
                                                          đĊ Ö Ă à÷ î
                                                                     ǰ ć
                                                                     Ť šÙ
                                                             Ö ü Ć ćđĊ
                                                                               ąî  Ö
œÃ ¥š¸ ÁŸ ¡¦‡ª ¼¤¼ ªµ ¨Á‹˜‡˜· ¸ ¸¥ª° ¥œ
   ¥µ É ¥Â n µ o°¨µ ­¦Â ³ šÉÁ„ „´ µ
         Ò       ¤¦… …
                    o n            É
                                   ¸ ÁÁ¸
                                                              ÷ ę ï                       œ55„ ¦ ¹¬ °
                                                                                          Â ¸ « µ Š
                                                                                               µ „
                                                          ÷ čí ýćÿêø2.1 -¦Š° -Ä„¦
                                                             ì       ǰ
                                                                     Ť 1 o Ä œ µ
                                                                          µ µ
œÃ ¥š¸ ¡´œµ „ ¡… Š „ ¸ „ „  ³ ³ œÄ ¤¸´¬³
   ¥µ É • «´¥£µ ° Á¦¥œœ´«¹¬µ ¨ž¦ µ ®š„
         ”             œ´               o
                                                           Åo „¦ ¹¬Ä¦ —´´¦ ™ ¨³
                                                             —¦ µ« µœ ³´ ³¤Â
                                                                 ´ „
                                                                                             °ÁŽ¸
                                                                                              µ ¥œ
š¸¤µ ­ É ¸ µ o¤Ä µ „o­ ¦³ ‡¤° ¸ œ‡ª ¼
 É ³ ¤Á¡ºÁ˜¦¥¤‡ª ° œ„¦ µ ¼ µ µ ¥œÁn µ o
 Á®        °     ¤¡¦        ªn
                             ž    Á      ¤¦
£µ ° §¬£µ Á¡ºœo
  ¬µ Š
     ´„ ¬µ É µ
             ° œÁš‡Ã ¨­¦­
                       œÃ¥¸ œÁš«
                           µ                               ¤´¥ ¹¬
                                                             › ¤« µ„
à ¥š¸ ¡´œµ ˜¦“ µ µ „ Á¡º­Á­· „¦®œÁªœ… Š „ „
 ¥µ É • ¤µ œ„¦«¹¬µ Én ¦¤ µ ¤» ¸ ° «¹¬µ
       Ô                  °Š        ¥ œ´                   ÷ čí ýćÿêø2.2„¦ ɇª £ ¡
                                                             ì       ǰ
                                                                     Ť µÁ¡· – µ
                                                                           ¤
 ³ ¼ ¦¥rœ° ¥œ
 ¨‡¦° Ä µ
      µ ‹µ   Á¬¸                                            „¦ ¹¬¤ ˜¦ œ µ« ¬
                                                             µ« µ µ “µ „¦ ¹ µ
                                                                  „          „           Ēñ ðäï ĉć Ă à÷ î ǰ
                                                                                           î ĉĆ ćđĊ ǰǰǰ
                                                                                                êÖø
œÃ ¥š¸ Á˜¦ ¤‡ª o¤Á¡ºÁžÉ
   ¥µ É ¸ µ ° É ·
         Õ ¥ ¤¡¦ °                                          „¦ ¹¬˜¨° ª· ¨³ • œ ° ¡
                                                             µ« µ —¸Â ¡´ µµ
                                                                  „      ˜         ¸         (2553-2560)
„¦„o­ ¦³ ‡¤Á«¦¬“ „ ° ¸
 µ µ n µ
     ª¼ž           ‹ µ ¥œ
                   · Á„                                     ¥»›«µ ˜¦ ¸ „¦ ºœ¥o µ
                                                             š ­ r É µ Á‡¨ µ o
                                                                     š3     É ¥…¤
                                                                            °
œÃ ¥š¸ ¡´œµ ª É È ´¥µ ¦ Î Ä µ „o­ ¦³ ‡¤
   ¥µ É • Á¥µ œÁ¡ºÁžœš¦ „ ­‡´ œ„¦ µ ¼ µ
         Ö           ° ¡       µ   ªnž                     ¡¦ ‡œÂ ³o
                                                                ¤Â ¨‹´
°
° ¥œ
° Áœ¸
 µ                                                                                                      1) Öø Ö Ēúą ć òÖï ö đ Č đĘ ą÷ ü ßî
                                                                                                            ć ýċþć Öø řĂ ø ó ĒÖéÖ đć ǰ
                                                                                                                                Ă Š Ēú
                                                                                                                                ę
                                                                                                        2 ć ÿøÜÙČ ŠǰÖø ĉĆ ą Ć ć ą ü ćÜ ćï ǰ
                                                                                                         )ǰÖø š đ ø ×ć÷ ć ü Ý÷ Ēú ó
                                                                                                                ć Ă                çîø Ā Šÿë Ć î
                                                                                                        3 ć ÿŠÿø Ù ćö ø ö ö Č šî ć ýċþćøéï č ýċþćǰǰ
                                                                                                         )ǰÖø Ü ĉ ü Š Ă ć Öø Ö ą Ć éö Ö
                                                                                                                đö       ü   é            Ă
                                                                                                        4 Ć čÖø ĉĆ ą ć ĒúÖðúę ì čĒúą ĆĉćÖø
                                                                                                         )ǰÿî ÿî ć ü Ý÷ Ēú Öø đ Ċ î î ü ß ć ǰ
                                                                                                             ï î                    ÷î     Ö
                                                                                                        5 Öøø ø Ă Ö Ċ Ĕ š Š đĊǰ ą Ö ß Öø
                                                                                                         ) ć đŠĆć Ă ü àŠĀ î ÷ îĒú î ü ć ǰ
                                                                                                               ÜéÖø        ć ĒÖ Ć
                                                                                                                                Öø       Ćĉć
                                                                                                        6 Öø úÖ đ Ö Ć èŤđĊą Ć Ă ǰǰ
                                                                                                         ) ć ð ĎŦĂ úÖ đ ß÷ ê ü î Ö
                                                                                                                 òÜ þ Ă             Ă
     www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                             ้
                         อาเซียนของประเทศไทย


 นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร
  และเจตคติที่ดเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความ
               ี
  ตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์
  และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา
  และประชาชน เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
  ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

 การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาเพื่อก้าว
                               ้
  สู่ประชาคมอาเซียน
 ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย
 จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ดานประชาคม
                                   ้
  อาเซียน ให้แก่ บุคลากร ข้าราชการและ
  ประชาชนทั่วไป เช่น โครงการอบรมและประชุม
  ปฏิบัตการหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการ
         ิ
  เพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
 จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรูเกี่ยวกับอาเซียน
                                     ้
  และบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่
  ดำาเนินการอาเซียนด้านการศึกษาอย่างสมำ่าเสมอ
  เพื่อให้เกิดผลปฏิบัตที่เป็นรูปธรรม
www.themegallery.com
                       ิ
โครงการ/กิจกรรม

                            โครงการ/กิจกรรม
 จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความ
  ร่วมมือทางการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน
 สอดแทรกความรู้เกียวกับอาเซียนในหลักสูตรการ
                   ่
  ศึกษาไทยทุกระดับ เพื่อให้ความรูและสร้างเจตคติ
                                 ้
  ที่ดเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อพร้อมก้าว
      ี
  สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                               ้
                           อาเซียนของประเทศไทย

 นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน
  นักศึกษา และประชาชนให้มทักษะที่เหมาะสมเพื่อ
                           ี
  เตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
  เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน
  เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะและความชำานาญ
  การที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลง
  ทางอุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางาน
  ทำาของประชาชน รวมทั้งการพิจารณาแผนผลิต
  กำาลังคน


  www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษา
  อังกฤษ ภาษาของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
 โครงการพัฒนาวิชาอาเซียนศึกษา รายวิชาเลือก
  หรือบูรณาการเนื้อหาดังกล่าวลงในรายวิชาที่
  เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
  พ.ศ.๒๕๕๑
 จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอาเซียน
 จัดหลักสูตร การฝึกอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ



www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                               ้
                           อาเซียนของประเทศไทย

 นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อ
  ส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูอาจารย์
  ในอาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับใน
  คุณสมบัตทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน การส่ง
            ิ
  เสริมความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ
  และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนาระบบการ
  ศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอด
  ชีวิต การส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้าน
  อาชีวศึกษาและการฝึกอบรมทางอาชีพทั้งในขั้น
  ต้นและขั้นต่อเนือง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูน
                  ่
  ความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศ
  สมาชิกของอาเซียน
  www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม


 จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เยาวชนและ
  ประชาชนอย่างมีคณภาพและทั่วถึง
                    ุ
 โครงการความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อพัฒนา
  คุณภาพการศึกษา
 โครงการแลกเปลี่ยนครู/ผู้สอน/นักเรียนใน
  อาเซียน
 การแลกเปลี่ยนผู้ฝึกอบรมและผู้อบรมด้านฝีมอ
                                          ื
  แรงงานในภูมภาค
              ิ
 จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะด้านอาชีวศึกษา
  เทคนิค และวิชาชีพให้แก่เยาวชนไทย
www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                              ้
                          อาเซียนของประเทศไทย

 นโยบายที่ ๔ การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรี
     การศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่
 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัด
   ทำาความตกลงยอมรับร่วมด้านการศึกษา การ
    พัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในสาขา
  วิชาชีพสำาคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิดเสรีการ
  ศึกษา ควบคูกบการเปิดเสรีดานการเคลื่อนย้าย
              ่ ั            ้
                    แรงงาน



 www.themegallery.com
กิจกรรม/โครงการ


 ดำาเนินการวิจัยเพื่อศึกษากฎ ระเบียบ และผลกระทบใน
  การเปิดเสรีดานการศึกษาในอาเซียน
               ้
 ให้ความรู้แก่สถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อเตรียมความ
  พร้อมในการเปิดเสรีการศึกษา
 เวทีวชาการ ดำาเนินการวิจัย และจัดทำากรณีศกษาเพื่อ
       ิ                                     ึ
  เตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเปิดเสรีการ
  ศึกษา
 การประชุมทำาความเข้าใจระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา
  ภายใต้สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพิจารณาท่าที
  ความพร้อมและข้อจำากัดต่างๆ ในการเปิดเสรี
  www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                               ้
                           อาเซียนของประเทศไทย


นโยบายที่ ๕ การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็น
 ทรัพยากรสำาคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน




  www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม


การจัดค่ายนักเรียน นักศึกษา โครงการค่าย
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การจัดกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน มหกรรม
 ดนตรีอาเซียน
การจัดสัมมนาวิชาการเพื่อเสริมสร้างบทบาท
 เยาวชน
การจัดเวทีเยาวชนเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชน
 ได้แสดงความคิดเห็นในการก้าวสู่ประชาคม
 อาเซียน
การจัดเวทีเยาวชนเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชน
www.themegallery.com
สิ่งทีควรดำาเนินการต่อไป
                      ่

 เตรียมความพร้อมของเยาวชนและประชาชนไทยใน
  การก้าวสู่ประชาคม
    อาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘
 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาได้อย่างทัดเทียมกับ
  ประเทศต่างๆ ในภูมภาคและนอกภูมภาค ครู และ
                    ิ               ิ
  บุคลากรการศึกษาขอไทยจะได้รบการพัฒนาทักษะที่
                                ั
  เหมาะสม พรั่งพร้อมด้วยภาวะผู้นำา มีความเชี่ยวชาญ
  ในการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาเพื่อนบ้าน
 การมีความพร้อมที่จะรองรับการเปิดเสรีการศึกษา
  ตามข้อตกลงเปิดเสรีการศึกษาอาเซียน ภายในปี
  2558
www.themegallery.com
การใช้นโยบายด้านการศึกษาเชิงรุกและเชิงรับ
                      เพื่อ
 สนับสนุนระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
                    สภาพปัจจุบัน
 กระแสโลกาภิวัตน์ และการพัฒนาที่รวดเร็วของระบบ
  เทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทั้ง
  ทางสังคมและเศรษฐกิจ
 การจัดการและการให้บริการการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อ
  เนื่องและทั่วถึงจะส่งผลให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความเข้ม
  แข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
 ยุทธศาสตร์เชิงรุกควรเน้นเพื่อนำาไปสู่
   ก. การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาใน
      กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน
   ข. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
   ค. การสนับสนุนการเป็นหุ้นส่วนและการสร้างเครือข่าย
      ทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
www.themegallery.com
การใช้นโยบายด้านการศึกษาเชิงรุกและเชิงรับ
   เพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจและสังคมของ
                   ประเทศ
ปัญหาการดำาเนินความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการ
                        ศึกษา
 1. นโยบายความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการศึกษาของ
   ประเทศไทยยังขาดความเป็นเอกภาพ หน่วยงานต่างๆ ดำาเนิน
   กิจกรรม/โครงการในลักษณะเชิงรับมากกว่าเชิงรุก การ
   ดำาเนินงานตามนโยบายดังกล่าวยังไม่มีความต่อเนื่อง และ
   ขาดการติดตามประเมินผลที่เป็นระบบ
 2. การปฏิบัติงานด้านต่างประเทศของหลายๆ หน่วยงานยัง
   ขาดการประสานงานในลักษณะเครือข่ายที่เข้มแข็ง การ
   ทำางานส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะต่างคนต่างทำา ส่งผลให้เกิด
   การทำางานที่ซำ้าซ้อน ซึ่งจำาเป็นจะต้องได้รับการพัฒนาโดย
   เฉพาะอย่างยิงเรื่องการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน
                     ่
 3. ผู้ปฏิบัติงานด้านต่างประเทศยังไม่ได้รับการพัฒนา
   ศักยภาพอย่างเต็มที่ ทั้งในเรื่องการใช้ภาษาต่างประเทศ โดย
www.themegallery.com
การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ
                               ้
                           อาเซียนของประเทศไทย

                      ยุทธศาสตร์
 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง
  ทางการศึกษาในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน
 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
  ของประเทศ โดยเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วน
  ร่วมในการจัดการศึกษาในลักษณะหุนส่วนให้มากขึน
                                   ้           ้
  เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยให้มี
  ศักยภาพทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยสร้าง
  มาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับ
 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสนับสนุนการเป็นหุนส่วนและการ
                                      ้
  สร้างเครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในและต่างประเทศ
  www.themegallery.com

Contenu connexe

Tendances

Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14Kaizaa
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAkarimA SoommarT
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 

Tendances (11)

Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
58210401121
5821040112158210401121
58210401121
 

Similaire à Asean

Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]Chatuporn Chanruang
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยYaowaluk Chaobanpho
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะbarbieeven
 

Similaire à Asean (20)

อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
vip
vipvip
vip
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 

Asean

  • 1. LOGO บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก : นโยบายด้านการศึกษา ดร.สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. เนื้อหาการบรรยาย 1 ความรูเกี่ยวกับอาเซียน ้ - 2 ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 3 การศึกษา : รากฐานประชาคมอาเซียน 4 แผนยุทธศาสตร์การศึกษาของไทย . www.themegallery.com
  • 4. คำาถาม?  ทำาไมจึงต้องเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558  ไทยได้รบประโยชน์อย่างไรในการก้าวสู่การเป็น ั ประชาคมอาเซียน คำาถามแรก ท่านรู้จักอาเซียนดีเพียงใด? www.themegallery.com
  • 5. จุดกำาเนิดอาเซียน  บ้านพักที่แหลมแท่น บางแสน พลังจิตวิญญาณ แห่งบางแสน  เดิมใช้ชื่อสมาคมความร่วมมือในภูมภาคเอเชีย ิ ตะวันออกเฉียงใต้  วัตถุประสงค์เน้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจ มากกว่าการเมือง  วันอังคารที่ 8 สิงหาคม 2510  ลงนาม ณ วังสราญรมย์  ชือว่า ASEAN อ่านว่าอาเซียน ่  สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  เสริมรากฐานการเป็นประชาคมในภูมภาคเอเชีย www.themegallery.com ิ
  • 6. จุดเริ่มต้นอาเซียน สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตังโดย ้ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมือ 8 ่ สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) 2510 www.themegallery.com
  • 7. วัตถุประสงค์การก่อตั้ง  เร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ยน อาเซี ความก้าวหน้าทาง สังคม และวัฒนธรรม  ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมภาค ิ  ส่งเสริมความร่วมมือในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร  อำานวยความสะดวกในด้านการฝึกอบรม และวิจัย ด้าน การศึกษาวิชาชีพ วิชาการ และการบริหาร  ร่วมมือด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม  ส่งเสริมการศึกษา  ร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศส่วนภูมภาค ิ www.themegallery.com
  • 8. สมาชิกอาเซียน อาเซียนเริ่มต้นด้วยสมาชิกห้าประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมามีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีกห้า • ประเทศ • ได้แก่ บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม สปป ลาว พม่า และกัมพูชา www.themegallery.com
  • 9. ความหมายของตราสัญลักษณ์ อาเซียน ต่อมามีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีกห้า • สีนำ้าเงิน สันติภาพและ ประเทศ • • ความมั่นคง บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม สีแดงได้แก่ ความกล้าหาญและ ก้เหลือง ความเจริญ า และกัมพูชา สี าวหน้•า สปป ลาว พม่ รุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์ รวงข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็น วงกลม นำ้าหนึ่งใจเดียว นเอกภาพ แสดงถึงความเป็ www.themegallery.com
  • 10. หลักการพื้นฐานของอาเซียน การตัดสินใจ โดยหลัก ฉันทามติ การไม่ ความเป็น แทรกแซง อยู่ที่ดีของ กิจการภายใน ประชาชน ของกันและ กัน ความร่วมมือ เพื่อ พัฒนา อาเซียน www.themegallery.com
  • 12. ประชาคมอาเซียน  คำาว่า ประชาคมอาเซียน ปรากฏครั้งแรกอย่างเป็น ทางการ ในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน ฉบับที่ 1 ที่เกาะ บาหลี อินโดนีเซีย  อาเซียนคอมมิวนิตปรากฏเป็นทางการ ในวันที่ 24 ี้ กุมภาพันธ์ 2519 โดย มรว. คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ นายก รัฐมนตรีรวมลงนาม มีรฐสมาชิก 5 ประเทศ ่ ั “รัฐสมาชิกต้องพัฒนาการรับรู้อย่างแข็งขันในเรื่องอัต ลักษณ์ภูมภาค และต้องใช้ความพยายามทุกอย่างในอัน ิ ที่จะสร้างประชาคมอาเซียนทีเข้มแข็งเป็นที่เคารพของ ่ ทุกชาติ และให้ความเคารพต่อทุกประเทศ บนพื้นฐาน ของความสัมพันธ์ระหว่างกันที่มผลประโยชน์รวมกัน www.themegallery.com ี ่
  • 13. “วิสัยทัศน์อาเซียน ๒๐๒๐”  ปี ๒๕๔๐ ผู้นำาอาเซียนให้การรับรอง “วิสัยทัศน์อาเซียน ๒๐๒๐” (ASEAN Vision 2020)  เป็น ประชาคมอาเซียนภายในปี 2020 ที่มีสำานึกใน ความเชื่อมโยงในประวัตศาสตร์ของตน รับรู้อยู่ตลอด ิ เวลาในมรดกทางวัฒนธรรมของตน และผูกพันด้วยอัต ลักษณ์ร่วมกันในภูมภาค (Common Regional ิ Identity) เป็นสังคมอาเซียนที่เปิดกว้างแต่คงไว้ซึ่งอัต ลักษณ์ประจำาตัว (national identity) ผู้คนทุกหมูเหล่า ่ มีความเท่าเทียมกันมีโอกาสในการพัฒนาความเป็น มนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน (human development) ไม่ ว่าจะเป็นเรืองเพศ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม ่ เป็นสังคมที่ผนึกแน่น สามัคคีและเอืออาทรต่อกัน ใส่ใจ www.themegallery.com ้
  • 14. ปฏิญญาบาหลี ฉบับที่ ๒ (Bali Concord II) มีเป้าหมายไปสูการรวมตัวของ ่ อาเซียนในลักษณะการเป็นชุมชนหรือ ประชาคมเดียวกันให้สำาเร็จภายในปี ๒๕๖๓  ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๒ เมือเดือนมกราคม ๒๕๕๐ ที่ เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ ผู้นำาประเทศ อาเซียนตกลงที่จะเร่งรัดกระบวนการ สร้างประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จ ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 15. การดำาเนินงานความร่วมมือในอาเซียน 2510 - 2520 ปรับเปลี่ยนทัศนคติลด ปัญหาความขัดแย้ง เป็น การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมและสนเทศ 2520 - 2530 ขยายความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอาเซียน ก่อตั้ง เขตเสรีการค้าอาเซียน 2530 - 2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ กำาหนดวิสัยทัศน์อาเซียน 2540 - ปัจจุบัน ปรับปรุงองค์กรให้เข้ากับ www.themegallery.com
  • 16. ประโยชน์ทไทยได้รับจากอาเซียน ี่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม - มีความมั่นคง - เพิ่มการค้า - แก้ไขปัญหา ทางด้าน - ลดต้นทุน ที่มผลกระทบ ี การเมือง การผลิต ต่อสังคม เช่น โรคระบาด - ขยายตลาด ต่างๆ ยาเสพ การค้า ติด - ร่วมมือกันใน การลดผลกระ www.themegallery.com ทบที่เกิดจาก
  • 17. โครงสร้างของประชาคมอาเซียน ASEAN Community by 2015 ASEAN Political ASEAN Economic ASEAN Socio-cultural Security Community Community Community www.themegallery.com
  • 18. แผนงานการจัดตั้งประชาคม อาเซียน  ที่ประชุมสุดยอดครั้งที่ 14 ที่ชะอำา เมือวันที่ ่ 1 มีนาคม 2552 ได้ รับรองปฏิญญาชะอำา - หัวหินว่าด้วยแผน งานสำาหรับการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน 2552-2558 ซึ่งผนวก แผนงานสำาหรับการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนทัง 3 เสาหลัก ได้แก่ ้  ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน  ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน www.themegallery.com
  • 19. ประชาคมอาเซียน ๑) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประเทศในภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างมีสันติ มีระบบ ่ แก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มี เสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพือ ่ รับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและ รูปแบบใหม่ๆ เพือให้ประชาชนมีความปลอดภัยและ ่ มั่นคง มีพลวัตรและปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอก อาเซียน ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัว กันทางเศรษฐกิจ เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ www.themegallery.com
  • 20. ประชาคมอาเซียน ๓. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มี สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปันมีสภาพความ เป็นอยู่ที่ดี มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยก ระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริม การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ส่งเสริมอัต ลักษณ์อาเซียน www.themegallery.com
  • 21. เนื้อหาการบรรยาย การศึกษา : รากฐานประชาคมอาเซีย - . www.themegallery.com
  • 22. การศึกษา: รากฐานการสร้าง ประชาคม  เป็นส่วนหนึงของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน ่ เริมตังแต่ทศวรรษแรกของการก่อตังอาเซียน เมือมี ่ ้ ้ ่ การจัดการประชุมด้านการศึกษา ASEAN Permanent Committee on Socio-Cultural Activities ครังแรก เดือนตุลาคม ๒๕๑๘ ้  การผลักดันให้ความร่วมมือด้านการศึกษาของ อาเซียนมีลักษณะทางการและมีผลในเชิงนโยบาย และในเชิงปฏิบัตมากขึ้น ด้วยการยกระดับความร่วม ิ มือนีสู่ระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการศึกษา โดยการ ้ ประชุมระดับรัฐมนตรีศกษาอาเซียนด้านการศึกษา ึ หรือที่เรียกว่า Meeting of ASEAN Ministers of Education จัดขึนครังแรก เดือนธันวาคม ๒๕๒๐ ้ www.themegallery.com ้
  • 23. การปรับโครงสร้างอาเซียน การศึกษา  ในปี ๒๕๔๙ ประเทศสิงคโปร์ได้ จัดการประชุมรัฐมนตรีศกษาอาเซียนครั้งที่ ๑ ึ ขึนในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๙ ลักษณะคูขนาน ้ ่ กับการประชุมสภารัฐมนตรีศกษาแห่งเอเชียตะวัน ึ ออกเฉียงใต้ ครั้งที่ ๔๑ และจากนันมา การประชุม ้ ในลักษณะคูขนานเช่นนี้ ได้ดำาเนินการต่อเนื่องมา ่ จนถึงปัจจุบนั www.themegallery.com
  • 24. การประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ ๖  การรายงานการยกร่างแผน ๕ ปี ด้านการศึกษา ของอาเซียน  เห็นชอบร่างขอบเขตการดำาเนินงานของการ ประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโส ่ ด้าน การศึกษาของอาเซียน + ๓  รับทราบการจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้าน การศึกษาของ อาเซียน + ๓  การจัดการประชุมเชิงปฏิบัตการเรือง ความร่วม ิ ่ มือด้านการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างศักยภาพชุมชนและการแข่งขันใน www.themegallery.com
  • 25. ประเทศคู่เจรจาของอาเซียน  สหรั ฐ อเมริ ก า  จีน เกาหลีใต้ แคนาดา ญีปุ่น ่ ออสเตรเลี ย รัสเซีย นิ ว ซี แ ลนด์ อิ น เดี ย สหภาพยุโรป   โครงการเพื่อการพัฒนาแห่ง ปากี ส ถาน (คู ่ เ จรจา สหประชาชาติ เฉพาะด้ า น ) www.themegallery.com
  • 26. ASEAN + 3 Japan (ญี่ปน) ุ่ ROK (เกาหลีใต้) China (จีน) www.themegallery.com
  • 28. การประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 ครั้ง ที่ 12  วันที่ 24 ตุลาคม 2552 ณ ชะอำา-หัวหิน ผู้นำาอาเซียน ได้รับทราบแผนปฏิบติการด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ั (ระหว่างปี 2553-2560) ที่ประเทศไทยนำาเสนอ และ รับทราบความพร้อมของไทยที่จะเป็นผู้ผลักดันให้เกิด ความร่วมมือด้านการศึกษาในกรอบอาเซียน +3  ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษาของอาเซียน ครังที่ 4 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบให้มี ้ การริเริมเวทีการประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโสด้านการศึกษา ่ ่ ของอาเซียน +3 โดยเสนอให้จัดตังคณะทำางานเฉพาะ ้ กิจด้านการศึกษาของประเทศอาเซียน + 3 เพื่อศึกษา รายละเอียดและรูปแบบในการจัดตังกลไกความร่วมมือ ้ กับประเทศอาเซียน และจีน เกาหลี และญี่ปุ่น www.themegallery.com
  • 29. การประชุมเจ้าหน้าทีอาวุโสด้านการศึกษา ่ ของอาเซียน+3  มีภารกิจในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง กลุ่มประเทศอาเซียน + 3 เพื่อส่งเสริมความร่วม มือด้านการศึกษาในภูมภาคเอเชียตะวันออก ตาม ิ วิสัยทัศน์ของผู้นำาอาเซียน + 3 ที่ปรากฏใน แถลงการณ์รวมของความร่วมมือเอเชียตะวันออก ่ ที่กล่าวว่า “เพื่อการเสริมสร้างและขยายความร่วมมือเอเชียตะวัน ออกเพื่อให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาคุณภาพ ชีวตที่ดขึ้นของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก” ิ ี การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษา อาเซียน+3 ยังเป็นเวทีในการอภิปรายและเสนอ ข้อคิดเห็นต่อการประชุมรัฐมนตรีดานการศึกษา www.themegallery.com ้
  • 30. ร่างแผนปฏิบัติการ ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553-2560 ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอาเซียน + 3 (2553-2560) 6 ประการ 1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและ การฝึกอบรมแก่เด็กและเยาวชนทุกระดับ การ พัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา 2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาระหว่างสถาบันและหน่วยงาน ต่างๆ ด้านการศึกษา 3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับ อุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าง www.themegallery.com
  • 31. ร่างแผนปฏิบัติการ ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553 – 2560 (ต่อ) 4. การสนับสนุนกิจกรรมด้านการวิจัยและการ แลกเปลี่ยนทุนและนักวิชาการในประเทศ อาเซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว 5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการ ออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและนักวิชาการของ ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดัง กล่าวเพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ 6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วย การส่งเสริมเกี่ยวกับการศึกษาอาเซียนและการ ศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมภาค www.themegallery.com ิ
  • 34. การประชุมด้านการศึกษาระหว่างอาเซียน กับรัฐอ่าวอาหรับ www.themegallery.com
  • 35. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน  ประเทศไทยมีบทบาทสำาคัญในการผลักดันให้เกิด ความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคม อาเซียน โดยได้เสนอปฏิญญา ชะอำา- หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการ ศึกษาเพื่อสร้างประชาคมอาเซียนทีเอื้ออาทรและ ่ แบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผูนำาอาเซียน เพื่อ ้ ให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ ๑๕ ณ ชะอำา-หัวหิน ประเทศไทย www.themegallery.com
  • 36. ปฏิญญาชะอำา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาที่เอื้ออาทรที่ แบ่งปัน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การ รับรอง เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๒ เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการ ศึกษาของทีประชุมวิชาการระดับภูมิภาคเพื่อ ่ เสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ระหว่างวันที่ ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด ชลบุรี www.themegallery.com
  • 37. บทบาทของภาคการศึกษาใน เสาการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและ ความตระหนักรับรู้เรื่องกฎบัตรอาเซียนโดย ผ่านหลักสูตรอาเซียนในโรงเรียน การเน้น ในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพ ในสิทธิมนุษยชน และค่านิยมในเรื่อง แนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนัก รับรู้ในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อในภูมิภาค www.themegallery.com
  • 38. บทบาทการศึกษาในเสา เศรษฐกิจ  ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายใน ประเทศของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วย สนับสนุนการมุงไปสู่การจัดทำาการยอมรับทักษะ ่ ในอาเซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึ้น การพัฒนามาตรฐานด้าน อาชีพบนพื้นฐานของความสามารถในภูมิภาค อาเซียนโดยมุงการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร ่ มนุษย์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับ ภูมภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ ิ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับ กระบวนการกรอบการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน www.themegallery.com
  • 39. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและ วัฒนธรรม  การพัฒนาเนื้อหาสาระร่วมในเรืองอาเซียนสำาหรับ ่ โรงเรียนเพื่อใช้อางอิงสำาหรับการฝึกอบรมและ ้ การสอนของครูอาจารย์  การเสนอให้มหลักสูตรปริญญาด้านศิลป ี วัฒนธรรมอาเซียนในมหาวิทยาลัย  การกำาหนดให้ภาษาประจำาชาติอาเซียนเป็นภาษา ต่างประเทศวิชาเลือกในโรงเรียน  การสนับสนุนโครงการระดับภูมภาคที่มงเน้นที่การ ิ ุ่ ส่งเสริมการตระหนักรับรูเกี่ยวกับอาเซียนให้แก่ ้ เยาวชน www.themegallery.com
  • 40. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและ วัฒนธรรม (ต่อ) การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอาเซียน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางการวิจัยและ พัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสำาหรับนักวิจัย จากประเทศสมาชิก การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ ในเรื่องสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียนโดย การบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรในโรงเรียน การเฉลิมฉลอง วันอาเซียน (วันที่ ๘ www.themegallery.com
  • 42. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกียว ่ กับอาเซียน ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วม การเป็นประชาชนอาเซียนในสังคมทุกระดับ รวม ทั้งในสาขาการศึกษา  ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและ สนับสนุนให้มการจัดทำารูปแบบโครงการอาเซียน ี ศึกษาในภูมภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ิ อาเซียนในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา การจัดทำาโครงการฝึกอบรมครู และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมภาค www.themegallery.com ิ
  • 43. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับ การศึกษา ในระดับประถมและมัธยมศึกษา  เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน จากการประชุมโลกว่าการศึกษาเพื่อปวงชน เมือ ่ ปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนได้ให้การ รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มี การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาทั่วโลกและ ให้มการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา ี ประชาคมโลกได้กำาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลก บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 44. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัด มาตรฐานการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตและการ พัฒนาอาชีพ  การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถม ศึกษาและมัธยมศึกษา  ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและ นอกระบบโรงเรียน  ส่งเสริมโอกาสให้มการเรียนรูตลอดชีวตเพื่อให้ ี ้ ิ ประชาชนทุกคนสามารถ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง  การส่งเสริมให้มการประกันคุณภาพและการเพิ่ม ี www.themegallery.com
  • 45. ข้อเสนอแนะ  การแบ่งปันแนวปฏิบติทดีเกี่ยวกับการประเมิน ั ี่ นักเรียน  การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสำาหรับเสริมสร้าง ศักยภาพครู  การสนับสนุนให้มการจัดทำากรอบการประกัน ี คุณภาพครูในภูมภาค ิ  การส่งเสริมให้มการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหาร ี โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง  การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัตที่ดในการสร้างแรง ิ ี จูงใจครู www.themegallery.com
  • 46. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและ การจัดการศึกษา ให้มความเป็นสากล ี 1. การจัดการศึกษาแก่ผู้เรียนเป็นไปเพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาดแรงงานและสภาพ เศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย ั แรงงานที่มทักษะและความชำานาญการสูง และ ี สามารถเคลื่อนย้าย 2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจำาเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาในด้านคุณภาพ 3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทำาให้ประเทศต่างๆ มีความ ต้องการแรงงานที่มีทักษะสูง ที่จำาเป็นจะต้องได้รบ www.themegallery.com ั
  • 47. ข้อเสนอแนะ  การแบ่งปันความรู้เกียวกับทรัพยากรในภูมภาคและการ ่ ิ เชือมโยงของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น การจัด ่ ประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐาน ข้อมูลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและการจัดทำา ศูนย์การเรียนรู้  การส่งเสริมการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ชวยสนับสนุนให้ ่ เกิดการแลกเปลี่ยนนักเรียน และทุนการศึกษาในทุก ระดับ  การจัดทำาแผนปฏิบตการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการ ั ิ อุดมศึกษามีความเป็นสากลโดยมุงเน้นที่ยุทธศาสตร์ใน www.themegallery.com ่
  • 48. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของ อาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดำาเนินงานของ องค์กรรายสาขาอื่นๆ เพื่อพัฒนาการศึกษา  การดำาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอาเซียนมีส่วน เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานด้านการศึกษา เช่น การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้าน ความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิ มนุษยชน การจัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/ AIDS www.themegallery.com
  • 49. การดำาเนินงานด้านการศึกษาเพื่อขับเคลื่อน สู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย  การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อ รองรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน  แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้ง ให้ความสำาคัญต่อคุณภาพการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์  แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล สร้างสังคม ไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมปัญญา และการเรียนรู้ ิ และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานใน www.themegallery.com
  • 50. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง  เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วย การผลักดันนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้าง โอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รบการ ั ศึกษาอย่างมีคณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ุ สร้างเด็กให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีความ สามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่รวม ่ ในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความ เป็นไทย ส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็น พลเมือง www.themegallery.com
  • 51. ÖđĊ ü Öøêø ö Ù ćö ó šö éšî ć ýċþćđ ę š ÿŠ ą ćÙ Ă à÷ îõ ć÷ Ĕ ðŘ ć ÷ ø ć Öø Ö ó Öü Ď Ă Ă Č ć ðøß ö ćđĊǰ î ǰ ÁžÈ ¦° ’ · ˜·µŠÃ Š­¦oŠ œ„ ž ´ª ‡¦ µ ÿøÜü ćö đ ćĔ đĊ Ö Ö š ٠ך Ý Ö ü ï ã ć ÷ ę Ć „ ° º Š° ¸ µ¦­ œÁ¦° µÁ ¥œÄœÃ ¸ É ¦ŠÁ¦¥œ Ö ĆĂ à÷ î ãï ćđĊ êø „¦ µ µ ° µ ¸ µ šÎœ… Š Á ¥œ Š ° Ý šÎ „ ¦¡´œµ „ ¦³ Ć µ ¦° µ • š´¬³  ถ „ ´ Ä 15 ›‡ 51 Š o ‡´ ï ćđĊ ǰ Üÿø êø à÷ îÿŠ öĉ ĆĂ đ „Î µ œœ ® ™µ ° „Á¦¥œÁ‡¨œ¥o¥ n¥Ã œœ´ ¸ É º µ ° ðøßćí ĉĕ ǰÿì íöĉî ÷ ßî ą ð ê÷ ĉ č ǰ þ  œ¡´œµ ˜¦“ µ µ ¡ ˜n ¦ŠŠµ • ¤µ œ°¸ ° ­ oŠ‡ª¤˜¦³ œ´Á„ ª°Át ¸œ ¦µ µ ® „ ¸ „´ µ ¥ ¥ É ­ Á­· „ ¦ª¥­ o ‡ª µ ‹Â ³ n ¦¤ µ · ´ ¦µ µ o ¨ Š ‹ Š ¤Á…Ä ¦ µ µ Á¤ºŠ ³ ‡¤„ ¦ ° Ù î ö ì ćÜçî ø ǰÝé Š ÷ĉ ü Ć íø ö Ć ć ‡ª °„¦ ‡°­®¦ ¤ µ Š µ £µ » µ „ ¦ ¤˜o ˜ ˜¦®¦¼ ° ³´´oÄ ŠÂ œ œ ­ „ ¦ Á ·o ¦É ɪ ºŠ ‡ªµ œ ¤¤´‡Š É Üî úĂ ü î ćđĊ ǰ ć Þ ÜĆ à÷ î Ă ðøßćÙ Ă à÷ î ą ö ćđĊ ðøßćÙ ą ö ǰÖø Ö ó ÿø Üć đČ ć ýċþćđ Č š Öøö Ă Ă ć ę Ü ć ýċþćđ ę š Ă Č ć ǰÖø Ö ó ÿø Ü ǰÖø Ö ó ÿøÜ Ćö Ēú ć ýċþćđ Č š ÿÜ ą Ă ć Ù ę đ ø åÖ ýþ Ý ĉ Ēúą ü ćö ö ę Ü Ù î ǰ ĆÙ đ ø åÖ ý þ ĉǰÝ ü çî ø ǰǰ Ć íø ö ¦ µ Š ¨³ ³ ‡¤-´‡¤Â  œ µ‹ ˜ Š¦ µ¤  Šœ ´ ´ ³ ‡ —Š ª´ œ ¦ µ ¥ • ›¦ ¤°ÁŽ¸œ -´‡ ª´ œ ¦¤° ¥ Š¤ • ›¦ µ œÁŽ¸ „ ¦ ¹¬ µ« µ „ ðäââ ćßą ĞĀ Ā šî ĉ Ă - Ć îéć ć ü ĉǰ Öø Ö ÜćđĊ ć ýċþć×ĂĂ à÷ î ǰ î÷ ï÷ ǰ ǰךǰǰđ ę ïÙ Č Öø Ö Ĕ Ă à÷ î Üø đýĕ ÷ ē ć Ă ó ×Ć úę ć ýċþć î ćđĊ ×Ăð ąì ì Ă Č đ Ă î ÷ čí ýćÿêø1ÿøÜ ü ćö êø Ā Ć ì đĊ Ö Ă à÷ î ǰ ć Ť šÙ Ö ü Ć ćđĊ ąî Ö œÃ ¥š¸ ÁŸ ¡¦‡ª ¼¤¼ ªµ ¨Á‹˜‡˜· ¸ ¸¥ª° ¥œ ¥µ É ¥Â n µ o°¨µ ­¦Â ³ šÉÁ„ „´ µ Ò ¤¦… … o n É ¸ ÁÁ¸ ÷ ę ï  œ55„ ¦ ¹¬ °  ¸ « µ Š µ „ ÷ čí ýćÿêø2.1 -¦Š° -Ä„¦ ì ǰ Ť 1 o Ä œ µ µ µ œÃ ¥š¸ ¡´œµ „ ¡… Š „ ¸ „ „  ³ ³ œÄ ¤¸´¬³ ¥µ É • «´¥£µ ° Á¦¥œœ´«¹¬µ ¨ž¦ µ ®š„ ” œ´ o Åo „¦ ¹¬Ä¦ —´´¦ ™ ¨³ —¦ µ« µœ ³´ ³¤Â ´ „ °ÁŽ¸ µ ¥œ š¸¤µ ­ É ¸ µ o¤Ä µ „o­ ¦³ ‡¤° ¸ œ‡ª ¼ É ³ ¤Á¡ºÁ˜¦¥¤‡ª ° œ„¦ µ ¼ µ µ ¥œÁn µ o Á® ° ¤¡¦ ªn ž Á ¤¦ £µ ° §¬£µ Á¡ºœo ¬µ Š ´„ ¬µ É µ ° œÁš‡Ã ¨­¦­ œÃ¥¸ œÁš« µ ¤´¥ ¹¬ › ¤« µ„ à ¥š¸ ¡´œµ ˜¦“ µ µ „ Á¡º­Á­· „¦®œÁªœ… Š „ „ ¥µ É • ¤µ œ„¦«¹¬µ Én ¦¤ µ ¤» ¸ ° «¹¬µ Ô °Š ¥ œ´ ÷ čí ýćÿêø2.2„¦ ɇª £ ¡ ì ǰ Ť µÁ¡· – µ ¤  ³ ¼ ¦¥rœ° ¥œ ¨‡¦° Ä µ µ ‹µ Á¬¸ „¦ ¹¬¤ ˜¦ œ µ« ¬ µ« µ µ “µ „¦ ¹ µ „ „ Ēñ ðäï ĉć Ă à÷ î ǰ î ĉĆ ćđĊ ǰǰǰ êÖø œÃ ¥š¸ Á˜¦ ¤‡ª o¤Á¡ºÁžÉ ¥µ É ¸ µ ° É · Õ ¥ ¤¡¦ ° „¦ ¹¬˜¨° ª· ¨³ • œ ° ¡ µ« µ —¸Â ¡´ µµ „ ˜ ¸ (2553-2560) „¦„o­ ¦³ ‡¤Á«¦¬“ „ ° ¸ µ µ n µ ª¼ž ‹ µ ¥œ · Á„ ¥»›«µ ˜¦ ¸ „¦ ºœ¥o µ š ­ r É µ Á‡¨ µ o š3 É ¥…¤ ° œÃ ¥š¸ ¡´œµ ª É È ´¥µ ¦ Î Ä µ „o­ ¦³ ‡¤ ¥µ É • Á¥µ œÁ¡ºÁžœš¦ „ ­‡´ œ„¦ µ ¼ µ Ö ° ¡ µ ªnž ¡¦ ‡œÂ ³o ¤Â ¨‹´ ° ° ¥œ ° Áœ¸ µ 1) Öø Ö Ēúą ć òÖï ö đ Č đĘ ą÷ ü ßî ć ýċþć Öø řĂ ø ó ĒÖéÖ đć ǰ Ă Š Ēú ę 2 ć ÿøÜÙČ ŠǰÖø ĉĆ ą Ć ć ą ü ćÜ ćï ǰ )ǰÖø š đ ø ×ć÷ ć ü Ý÷ Ēú ó ć Ă çîø Ā Šÿë Ć î 3 ć ÿŠÿø Ù ćö ø ö ö Č šî ć ýċþćøéï č ýċþćǰǰ )ǰÖø Ü ĉ ü Š Ă ć Öø Ö ą Ć éö Ö đö ü é Ă 4 Ć čÖø ĉĆ ą ć ĒúÖðúę ì čĒúą ĆĉćÖø )ǰÿî ÿî ć ü Ý÷ Ēú Öø đ Ċ î î ü ß ć ǰ ï î ÷î Ö 5 Öøø ø Ă Ö Ċ Ĕ š Š đĊǰ ą Ö ß Öø ) ć đŠĆć Ă ü àŠĀ î ÷ îĒú î ü ć ǰ ÜéÖø ć ĒÖ Ć Öø Ćĉć 6 Öø úÖ đ Ö Ć èŤđĊą Ć Ă ǰǰ ) ć ð ĎŦĂ úÖ đ ß÷ ê ü î Ö òÜ þ Ă Ă www.themegallery.com
  • 52. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย  นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความ ี ตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 53. โครงการ/กิจกรรม  การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาเพื่อก้าว ้ สู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย  จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ดานประชาคม ้ อาเซียน ให้แก่ บุคลากร ข้าราชการและ ประชาชนทั่วไป เช่น โครงการอบรมและประชุม ปฏิบัตการหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการ ิ เพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน  จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรูเกี่ยวกับอาเซียน ้ และบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ ดำาเนินการอาเซียนด้านการศึกษาอย่างสมำ่าเสมอ เพื่อให้เกิดผลปฏิบัตที่เป็นรูปธรรม www.themegallery.com ิ
  • 54. โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม  จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความ ร่วมมือทางการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน  สอดแทรกความรู้เกียวกับอาเซียนในหลักสูตรการ ่ ศึกษาไทยทุกระดับ เพื่อให้ความรูและสร้างเจตคติ ้ ที่ดเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อพร้อมก้าว ี สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 55. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย  นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มทักษะที่เหมาะสมเพื่อ ี เตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะและความชำานาญ การที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลง ทางอุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางาน ทำาของประชาชน รวมทั้งการพิจารณาแผนผลิต กำาลังคน www.themegallery.com
  • 56. โครงการ/กิจกรรม  โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษา อังกฤษ ภาษาของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน  โครงการพัฒนาวิชาอาเซียนศึกษา รายวิชาเลือก หรือบูรณาการเนื้อหาดังกล่าวลงในรายวิชาที่ เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ พ.ศ.๒๕๕๑  จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอาเซียน  จัดหลักสูตร การฝึกอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ www.themegallery.com
  • 57. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย  นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อ ส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูอาจารย์ ในอาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับใน คุณสมบัตทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน การส่ง ิ เสริมความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนาระบบการ ศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอด ชีวิต การส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้าน อาชีวศึกษาและการฝึกอบรมทางอาชีพทั้งในขั้น ต้นและขั้นต่อเนือง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูน ่ ความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศ สมาชิกของอาเซียน www.themegallery.com
  • 58. โครงการ/กิจกรรม  จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เยาวชนและ ประชาชนอย่างมีคณภาพและทั่วถึง ุ  โครงการความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา  โครงการแลกเปลี่ยนครู/ผู้สอน/นักเรียนใน อาเซียน  การแลกเปลี่ยนผู้ฝึกอบรมและผู้อบรมด้านฝีมอ ื แรงงานในภูมภาค ิ  จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะด้านอาชีวศึกษา เทคนิค และวิชาชีพให้แก่เยาวชนไทย www.themegallery.com
  • 59. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย  นโยบายที่ ๔ การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรี การศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัด ทำาความตกลงยอมรับร่วมด้านการศึกษา การ พัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในสาขา วิชาชีพสำาคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิดเสรีการ ศึกษา ควบคูกบการเปิดเสรีดานการเคลื่อนย้าย ่ ั ้ แรงงาน www.themegallery.com
  • 60. กิจกรรม/โครงการ  ดำาเนินการวิจัยเพื่อศึกษากฎ ระเบียบ และผลกระทบใน การเปิดเสรีดานการศึกษาในอาเซียน ้  ให้ความรู้แก่สถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อเตรียมความ พร้อมในการเปิดเสรีการศึกษา  เวทีวชาการ ดำาเนินการวิจัย และจัดทำากรณีศกษาเพื่อ ิ ึ เตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเปิดเสรีการ ศึกษา  การประชุมทำาความเข้าใจระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา ภายใต้สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพิจารณาท่าที ความพร้อมและข้อจำากัดต่างๆ ในการเปิดเสรี www.themegallery.com
  • 61. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๕ การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็น ทรัพยากรสำาคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน www.themegallery.com
  • 62. โครงการ/กิจกรรม การจัดค่ายนักเรียน นักศึกษา โครงการค่าย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน มหกรรม ดนตรีอาเซียน การจัดสัมมนาวิชาการเพื่อเสริมสร้างบทบาท เยาวชน การจัดเวทีเยาวชนเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชน ได้แสดงความคิดเห็นในการก้าวสู่ประชาคม อาเซียน การจัดเวทีเยาวชนเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชน www.themegallery.com
  • 63. สิ่งทีควรดำาเนินการต่อไป ่  เตรียมความพร้อมของเยาวชนและประชาชนไทยใน การก้าวสู่ประชาคม อาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘  การพัฒนามาตรฐานการศึกษาได้อย่างทัดเทียมกับ ประเทศต่างๆ ในภูมภาคและนอกภูมภาค ครู และ ิ ิ บุคลากรการศึกษาขอไทยจะได้รบการพัฒนาทักษะที่ ั เหมาะสม พรั่งพร้อมด้วยภาวะผู้นำา มีความเชี่ยวชาญ ในการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาเพื่อนบ้าน  การมีความพร้อมที่จะรองรับการเปิดเสรีการศึกษา ตามข้อตกลงเปิดเสรีการศึกษาอาเซียน ภายในปี 2558 www.themegallery.com
  • 64. การใช้นโยบายด้านการศึกษาเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อ สนับสนุนระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สภาพปัจจุบัน  กระแสโลกาภิวัตน์ และการพัฒนาที่รวดเร็วของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทั้ง ทางสังคมและเศรษฐกิจ  การจัดการและการให้บริการการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อ เนื่องและทั่วถึงจะส่งผลให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความเข้ม แข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม  ยุทธศาสตร์เชิงรุกควรเน้นเพื่อนำาไปสู่ ก. การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาใน กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ข. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ค. การสนับสนุนการเป็นหุ้นส่วนและการสร้างเครือข่าย ทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ www.themegallery.com
  • 65. การใช้นโยบายด้านการศึกษาเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ปัญหาการดำาเนินความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการ ศึกษา  1. นโยบายความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการศึกษาของ ประเทศไทยยังขาดความเป็นเอกภาพ หน่วยงานต่างๆ ดำาเนิน กิจกรรม/โครงการในลักษณะเชิงรับมากกว่าเชิงรุก การ ดำาเนินงานตามนโยบายดังกล่าวยังไม่มีความต่อเนื่อง และ ขาดการติดตามประเมินผลที่เป็นระบบ  2. การปฏิบัติงานด้านต่างประเทศของหลายๆ หน่วยงานยัง ขาดการประสานงานในลักษณะเครือข่ายที่เข้มแข็ง การ ทำางานส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะต่างคนต่างทำา ส่งผลให้เกิด การทำางานที่ซำ้าซ้อน ซึ่งจำาเป็นจะต้องได้รับการพัฒนาโดย เฉพาะอย่างยิงเรื่องการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ่  3. ผู้ปฏิบัติงานด้านต่างประเทศยังไม่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพอย่างเต็มที่ ทั้งในเรื่องการใช้ภาษาต่างประเทศ โดย www.themegallery.com
  • 66. การจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ดานการศึกษาในกรอบ ้ อาเซียนของประเทศไทย ยุทธศาสตร์  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ทางการศึกษาในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ โดยเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษาในลักษณะหุนส่วนให้มากขึน ้ ้ เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยให้มี ศักยภาพทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยสร้าง มาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับ  ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสนับสนุนการเป็นหุนส่วนและการ ้ สร้างเครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในและต่างประเทศ www.themegallery.com

Notes de l'éditeur

  1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน ESTABLISHED 8 August 1967 in Bangkok by 5 countries. (Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand). Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. Basic data: population 500 million, combined GDP US$720 billion, combined exports US$ 735 billion. Average intra-ASEAN tariffs 4.43% compared to 12.76% in 1993. Abundant natural resource and skilled manpower. Mainly middle class, with high purchasing power, half the size of China’s. Some of its members are the world’s top 20 most competitive economies. Stretches across three time zones. Bridges the Indian and Pacific Oceans. One out of every ten persons is Southeast Asian.