SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
Télécharger pour lire hors ligne
รายวิชา080101 มนุษย์กบการสร้างสรรค์
                     ั
พระพิฆเนศวร (ภาษาสันสกฤต : คเณศ) หรื อ พระพิฆเนศ หรื อ พระพิฆเณศ
หรื อ พระพิฆเณศวร หรื อ พระพิฆเณศ หรื อ พระคเณศ หรื อ คณปติ เป็ นเทพในศาสนา
พราหมณ์ นับถือว่าเป็ นเทพเจ้าแห่งความรู ้ เป็ นผูมีปัญญาเป็ นเลิศ ปราดเปรื่ องใน
                                                 ้
ศิลปวิทยาทุกแขนง เป็ นหัวหน้านาคณะข้ามความขัดข้อง (ผูเ้ ป็ นใหญ่เหนือความ
ขัดข้อง)
พระพิฆเนศวรเป็ นโอรสของพระอิศวรและพระอุมาเทวีมีรูปกายเป็ นมนุษย์ มี
เศียรเป็ นช้าง ทุกคนเคารพนับถือท่านในฐานะที่ท่านเป็ น "วิฆเนศ" นันคือ เจ้า (อิศ)
                                                                   ่
แห่งอุปสรรค (วิฆณ) เพราะเจ้าแห่งอุปสรรค ที่สามารถปลดปล่อยอุปสรรคได้ และ
อีกความหมายถึง ท่านเป็ นเทพเจ้าแห่งความสาเร็ จในทุกศาสตร์สรรพสิ่ งหรื อเทพเจ้า
แห่งการเริ่ มต้นใหม่ท้ งปวง เมื่อพิจารณาความหมายในทางสัญญะ รู ปกายที่อวนพีน้ น
                       ั                                                  ้       ั
มีความหมายว่า ความอุดมสมบูรณ์ เศียรที่เป็ นช้างมีความหมาย หมายถึงผูมีปัญญา
                                                                      ้
มาก ตาที่เล็กคือ สามารถมอง แยกแยะสิ่ งถูกผิด หูและจมูกที่ใหญ่หมายถึง มีสัมผัส
                                                                 ั
พิจารณา ที่ดีเลิศ พระพิฆเนศวรมีพาหนะคือ หนู ซึ่ งอาจเปรี ยบได้กบความคิด ที่พง  ุ่
พล่าน รวดเร็ ว ดังนั้น มนุษย์จึงต้องมีปัญญากากับเป็ นดังเจ้านายในใจตน
                                                       ่
่ ั
    ในคราวที่พระศิวะเทพทรงไปบาเพ็ญสมาธิ เป็ นระยะเวลานานอยูน้ น พระแม่ปารวตีเนื่องจากอยูองค์  ่
เดียวเลยเกิดความเหงา และ ประสงค์ท่ีจะมีผมาคอยดูแลพระองค์และป้ องกันคนภายนอก ที่จะเข้ามาก่อ
                                               ู้
          ่
ความ วุนวายในพระตาหนัก
    ในจึงทรงเสกเด็กขึ้นมาเพื่อเป็ นพระโอรสที่จะเป็ นเพื่อนในยามที่องค์ศิวเทพ เสด็จออกไปตามพระกิจ
            ่
ต่างๆมีอยูคราวหนึ่ง เมื่อพระนางทรงเข้าไปสรงในพระตาหนักด้านในนั้นองค์ศิวเทพได้ กลับมาและเมื่อ
จะเข้าไปด้านในก็ถูกเด็กหนุ่มห้ามไม่ให้เข้า เนื่องจากไม่รู้วาเป็ นใครและในลักษณะเดียวกันศิวเทพก็ไม่
                                                                ่
ทราบว่าเด็กหนุ่ม นั้นเป็ นพระโอรสที่พระแม่ปารวตีได้เสกขึ้นมา
     เมื่อพระองค์ถูกขัดใจก็ทรงพิโรธและตวาดให้เด็กหนุ่มนั้นหลีกทางให้พลาง ถามว่ารู ้ไหมว่ากาลังห้าม
ใครอยู่ ฝ่ ายเด็กนั้นก็ตอบกลับว่าไม่จาเป็ นที่จะต้องรู ้วาเป็ นใครเพราะตนกาลังทาตาม บัญชาของพระแม่
                                                         ่
                                    ้ ั
ปารวตี และทั้งสองก็ได้ทาการต่อสูกนอย่างรุ นแรง จนเทพทัวทั้งสวรรค์เกิดความวิตกในความหายนะที่
                                                                  ่
จะตามมา และในที่สุดเด็กหนุ่มนั้นก็ถกตรี ศูลของมหาเทพจนสิ้นใจ และศีรษะก็ถูกตัดหายไป
                                        ู
     ในขณะนั้นเองพระแม่ปารวตีเมื่อได้ยินเสี ยงดังกึกก้องไปทัวจักรวาลก็ เสด็จออกมาด้านนอกและ
                                                                    ่
                                                                       ็
ถึงกับสิ้นสติเมื่อเห็นร่ างพระโอรสที่ปราศจากศีรษะ และเมื่อได้สติกทรงมีความโศกาอาดูร และตัดพ้อ
พระสวามีที่มีใจโหดเหี้ ยมทา ร้ายเด็กได้ลงคอ โดยเฉพาะเมื่อเด็กนั้นเป็ นพระโอรสของพระนางเอง
     เมื่อได้ยินพระนางตัดพ้อต่อว่าเช่นนั้นองค์มหาเทพก็ทรงตรัสว่าจะทาให้ เด็กนั้นกลับพื้นขึ้นมาใหม่
แต่กเ็ กิดปัญหา เนื่องจากหาศีรษะที่หายไปไม่ได้ และยิงใกล้เวลาเช้าแล้วต่างก็ยิ่ง กระวนกระวายใจ
                                                           ่
เนื่องจากหากดวงอาทิตย์ข้ ึน แล้วก็จะไม่สามารถชุบชีวิตให้เด็กหนุ่มฟื้ นขึ้นมาได้เมื่อเห็น
เช่นนั้นพระศิวะเลยโยนตรี ศูลอาวุธของพระองค์ออกไปหาศีรษะสิ่ งที่มีชีวิตแรก
ที่พบมาและปรากฏว่าเหล่าเทพได้นาเอาศีรษะช้างมาซึ่ งพระศิวะทรงนาศีรษะมาต่อ
ให้และชุบชีวิตให้ใหม่พร้อมยกย่อง ให้เป็ นเทพที่สูงที่สุด และขนานนามว่า พระ
พิฆเนศวร ซึ่ งแปลว่าเทพผูขจัดปั ดเป่ าอุปสรรคและยังทรงให้พรว่าในการประกอบ
                           ้
พิธีการต่างๆทั้งหมดนั้นจะต้องทาพิธีบูชาพระพิฆเนศวรก่อนเพือความสาเร็ จของพิธี
                                                               ่
นั้น
     เนื่องจากพระพิฆเนศวรมีพระวรกายที่ไม่เหมือนเทพอื่นๆนั้น ได้มีการอธิบายถึง
พระวรกายของพระองค์ท่านดังนี้
1. พระเศียรของท่านหมายถึงวิญญาณซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญของการมีชีวต    ิ
                                          ่
2. พระวรกายแสดงถึงการที่เป็ นมนุษย์ที่อยูบนพื้นปฐพี
3. ศีรษะช้างแสดงถึงความเฉลียวฉลาด
4. เสี ยงดังที่เปล่งออกมาจากงวงหมายถึงคาว่า โอม ซึ่งเป็ นเสี ยงแสดงถึงความเป็ น
สัจจะของสุริยจักรวาล
5. พระหัตถ์บนด้านขวาทรงเชือกบ่วงบาศน์ที่ทรงใช้ในการนาพามนุษย์ไปสู่เส้นทางแห่งธรรมะ
และหลุดพ้นพร้อมทรงขจัดอุปสรรคในระหว่างทาง
6. พระหัตถ์บนซ้ายทรงเชือกขอสับที่ใช้ในการป้ องกันและพันฝ่ าความยากลาบาก
7. มือขวาล่างทรงงาที่หกครึ่ งซึ่ งพระองค์ทรงใช้เป็ นปากกาในการเขียนมหากาพย์มหาภารตะให้
                       ั
มหาฤษีเวทวยาสมุนีและเป็ นสัญลักษณ์แห่ งความเสี ยสละ
8. อีกมือทรงลูกประคาที่แสดงว่าการแสวงหาความรู้ จะต้องเป็ นไปอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา
9.ขนมโมณฑกะหรื อขนมหวานลัดดูในงวงเป็ นการชี้ นาว่ามนุษย์จะต้องแสวงหาความ หวานชื่ น
                                                            ั
ในจิตวิญญาณของตนเองเพื่อที่จะได้มีจิตเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ให้กบคน อื่นๆ
10. หูที่กว้างใหญ่เหมือนใบพัดหมายความว่าท่านพร้ อมที่รับฟั งสิ่ งที่เราร้องเรี ยนและเรี ยกหา
          ั ่                                ่
11. งูที่พนอยูรอบท้องท่านแสดงถึงพลังที่มีอยูโดยรอบ
12. หนูที่ทรงใช้เป็ นพาหนะแสดงถึงความไม่ถือองค์และพร้อมที่จะเกี่ยวข้องกับสิ่ งมีชีวิตที่เล็ก
และเป็ นที่รังเกียจของมนุษย์ส่วนมาก
   ปางที่ 1 : พระบาล คณปติ (Bala Ganapati)
    อวตารภาคเด็ก : ปางอันเป็ นทีรักของทุกคนและ
                                   ่
    เด็กๆ
    "โอม ศรี บาลา คณปติ ยะนะมะฮา"
                                       ่ ั
    เป็ นพระพิฆเนศในวัยเด็ก คลานอยูกบพื้น หรื อ
    อิริยาบทอื่นๆ เมื่อโตขึ้นจึงเปลี่ยนลักษณะ มี
    วรรณะสี แดงเข้มมี 4 กร
    บาลคณปติ หมายถึง สี ทองของพระเจ้าทรงถือ
    อ้อย มะม่วง กล้วย ขนุนและทรงกินมะขวิด
    แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ และภาวะการ
    เจริ ญเติบโต
   นิยมบูชาในบ้านเรื อน หรื อโรงเรี ยนที่มีเด็กเล็ก
    เด็กนักเรี ยน เช่น โรงเรี ยนอนุบาลและชั้น
    ประถม สถานรับเลี้ยงเด็ก สนามเด็กเล่น ฯลฯ
   ปางที่ 2 : พระตรุ ณ คณปติ
    (Taruna Ganapati)
    อวตารภาควัยหนุ่ม : ปางทีให้ คุณประโยชน์ ใน
                              ่
    กิจการงาน
    "โอม ศรี ตรุ ณะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดงอมส้มเหมือนอาทิตย์ยามแรกอรุ ณ
    มี 8ทรงข้าว ต้นอ้อย ตะบอง บ่วงบาศ งาหัก
    ผลฝรั่ง ขนมโมทกะ และขนมอื่นๆ ปางนี้เป็ น
    ตัวแทนการเจริ ญเติบโต ความเป็ นหนุ่มสาว
   นิยมตั้งบูชาไว้ตามสถานศึกษา มหาวิทยาลัย
    หรื อสถานที่ทางานที่เต็มไปด้วยคนหนุ่มสาววัย
    กระตือรื อร้น
   ปางที่ 3 : พระภักติ คณปติ
    (Bhakti Ganapati)
    ปางบูชาขอพระเวท เพื่อความสมบูรณ์เติม
    เต็มของชีวิต
    "โอม ศรี ภัคดี คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ขาวบริ สุทธิ์ดงพระจันทร์ เต็มดวง
                           ั่
    ในฤดูเก็บเกี่ยว มี 4ทรงมะม่วง กล้วย ลูก
    มะพร้าว
    และถ้วยข้าวปาส(ปรุ งด้วยนมสด และ
    ข้าวสาร มีรสหวาน) พระภัคติ คณปติ
    หมายถึงผูภกดีอย่างแท้จริ ง
               ้ ั
   บูชาเพือความสุ ขสมหวังในชีวต หรื อเพือ
           ่                      ิ        ่
    หลุดพ้น
   ปางที่ 4 : พระวีระ คณปติ (Veera
    Ganapati)
    อวตารแห่ งนักรบ ปางออกศึก และปราบ
    มาร ให้ อานาจในการบริหารปกครอง และ
    ความเป็ นผู้นา
    "โอม ศรี วีระ คณปติ ยะนะมะฮา
   วรรณะสี แดงโลหิต มี 16 กร ทรงอาวุธ
    และสิ่ งมงคลต่างๆคือ โล่ หอก ค้อน คทา
    ธงชัย จักรตรา พญางู ขวาน คันศร ลูกศร
    ตรี เพชร ขอสับช้าง อสูร กระบี่ ตะบอง
    และบ่วงบาศ พระกรเหล่านั้นกางออก
    ประดุจรัศมีอานาจแห่งดวงอาทิตย์
                  ั
    อานวยผลให้กบองค์กรบริ หารราชการ
    แผ่นดิน ทหาร ตารวจ พลเรื อน ฝ่ าย
    ปกครอง ผูนา ผูบริ หาร หัวหน้าหน่วยงาน
                ้ ้
    ทุกประเภท
   ปางที่ 5 : พระศักติ คณปติ
    (Shakti Ganapati)
    ปางทรงอานาจเหนือการงาน การเงิน
    และความรัก
    "โอม ศรี ศักติ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แป้ งจันทร์ มี 4 กร ประทานพร
    ทรงมาลัย บ่าวบาศ และกรหนึ่งโอบพระ
                       ่
    ชายาที่ประทับอยูหน้าตักด้านซ้าย
    รัศมีสีแดงส้ม สื่ อถึงพลังอานาจที่อยู่
    เหนือสรรพสิ่ ง
   อานวยผลให้ชีวิตครอบครัวมีความสุ ข
    และประสบความสาเร็ จในหน้าที่การ
    งาน
   ปางที่ 6 : พระทวิชา คณปติ
    (Dwija Ganapati)
    ปางของการบุกเบิก เริ่มต้นชีวิตใหม่ เปิ ด
    กิจการใหม่
    "โอม ศรี ทวิชา คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ขาวมี 4 เศียร 4ทรงลูกปะคา ไม้
    ครู (หรื อพลอง) กาน้ า และคัมภีร์
    เป็ นสัญลักษณ์แห่งการเกิดใหม่ ความ
    พากเพียร และแสวงหาวิชาความรู ้
                 ั ้
    อานวยผลให้กบผูประกอบกิจการต่างๆ
    นักธุรกิจ นักลงทุน นักสารวจ นักบุกเบิก
    คนทางานต่างแดน เป็ นต้น
   ปางที่ 7 : พระสิ ทธิ คณปติ
    (Siddhi Ganapati)
    ปางประทานความสมบูรณ์ และทรัพย์
    สมบัติ
    "โอม ศรี สิ ทธิ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ทองคา มี 4ทรงช่อดอกไม้
    มะม่วง ต้นอ้อย และขวาน ส่ วนงวงนั้นชู
    ขนม
    คอยประทานความร่ ารวย และความอุดม
                 ั
    สมบูรณ์ให้กบโลก
   อานวยผลด้านทรัพย์สินเงินทอง และ
    ความอุดมสมบูรณ์
   ปางที่ 8 : พระอุจฉิษฏะ คณปติ
    (Uchhishta Ganapati)
    ปางเสน่ หา และความสาเร็จสม
    ปรารถนา
    "โอม ศรี อุจฉิษฏะ คณปติ ยะนะมะ
    ฮา"
   วรรณะสี ฟ้าเทาดุจเมฆา มี 6 กร
    ประทับนังโดยพระกรหนึ่งโอบอุม
               ่                  ้
                 ่ ั
    ศักติชายาอยูที่ตกด้านซ้าย
    ส่ วนพระกรอื่นถือลูกประคา ลูกทับทิม
    พิณ รวงข้าว และดอกบัว
   อานวยผลให้เกิดเสน่ห์ และ
    ความสาเร็ จในด้านต่างๆตามแต่จะขอ
    พร
   ปางที่ 9 : พระวิฆณา คณปติ
    (Vighna Ganapati)
    ปางขจัดอุปสรรค และแก้ไขปัญหา
    "โอม ศรี วิฆนา คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ทองคา มี 8 กร ทรงมาลัย
    ขวาน
   ดอกไม้ จักรตรา หอยสังข์ ต้นอ้อย(เป็ น
    คันศร) บ่วงบาศ และตะบอง
   อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทัวไป่
    ตามแต่จะอธิษฐาน
   ปางที่ 10 : พระกษิประ คณปติ
    (Kshipra Ganapati)
    ปางประทานพรให้ สาเร็จรวดเร็ว
    "โอม ศรี กษิประ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดงเข้มดุจกุหลาบ มี 4 กร เป็ น
    ผูให้ศีลให้พร ประทานพรให้เกิด
      ้
    ผลสาเร็ จอย่างรวดเร็ ว
    ทรงตะบอง งาหัก บ่วงบาศ และช่อ
    ดอกไม้
   อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทัวไป่
    ตามแต่จะอธิษฐาน
   ปางที่ 11 : พระเหรัมภะ คณปติ
    (Heramba Ganapati)
    ปางปกปองคุ้มครอง
             ้
    "โอม ศรี เหรัมภะ คณปติ ยะนะมะฮา
   วรรณะสี ขาว มี 5 เศียร 10 กร ประทับนังบน
                                         ่
    หลังสิ งโต หมายถึง พลังอานาจในการ
    ปกครองบริ วาร กางพระกรประดุจรัศมีคมกัน ุ้
    สรรพภัย พระหัตถ์ซายประทานพร พระหัตถ์
                        ้
    ขวาอานวยพรทรงมะม่วง ลูกประคา ขนม
    โมทกะ งาหัก บ่วงบาศ ค้อน ขวาน
    และพวงมาลัย บูชาเพือขจัดความอ่อนแอ ไร้
                          ่
    พลัง
   เป็ นปางหนึ่งที่พระราชาในอินเดียนิยมบูชา
    กันมาก อานวยผลด้านการปกป้ องคุมครอง
                                      ้
    บริ วาร การบริ หาร ปกครองของผูนา้
   ปางที่ 12 : พระมหา คณปติ
     (Maha Ganapati)
    ปางประทานความสุ ขอันยิงใหญ่ ให้
                               ่
    ครอบครัว
    "โอม ศรี มหา คณปติ ยะนะมะฮา
   วรรณะสี แดง มี 10 กร 3 เนตร ประดับ
    จันทร์ เสี้ ยวบนมงกุฎปางนี้ทรงอุมชายา คือ
                                    ้
    พระนางพุทธิ และพระนางสิ ทธิไว้บนตัก
    ทั้งสองข้าง
    (บางตาราว่าอุมองค์เดียว)ทรงโถใส่ อญมณี
                    ้                  ั
    รวงข้าว จักรตรา บ่วงบาศ ดอกลิลลี่ ต้น
    อ้อย (เป็ นคันศร) ดอกบัว และลูกทับทิม
    แดง
   อานวยผลให้ครอบครัวเกิดความสมบูรณ์
    พูนสุ ข มีทรัพย์สิน และบริ วารมาก
   ปางที่ 13 : พระวิชัย คณปติ
    (Vijaya Ganapati)
    ปางกาจัดอุปสรรค และความมืดมิด
    "โอม ศรี วิชะยา คณปติ ยะนะมะฮา"
    วรรณะสี แดง มี 4 กร ประทับบนตัวหนู
    หมายถึงการทาลาย ความมืดมิด
    และอุปสรรคทั้งหลายให้หมดไป
    ทรงกระบอง ผลมะม่วง และบ่วงบาศ
                           ั
    อานวยผลทางปั ญญาให้กบครู บาอาจารย์
    ปั ญญาชน ศิลปิ น นักคิด นักเขียน และ
    ช่างฝี มือทุกแขนง
   ปางที่ 14 : พระลักษมี คณปติ
    (Lakshmi Ganapati)
    ปางแห่ งความมั่งมีศรีสุข และปรีชาญาณ
    "โอม ศรี ลักษมี คณปติ ยะนะมะฮา
   วรรณะสี ขาว มี 8 กร เป็ นเทพแห่งการให้ที่
    บริ สุทธิ์ สี ขาวหมายถึงการมีสติปัญญาสูงส่ ง
    พระหัตถ์ท้ งสองข้างโอบอุมพระชายา 1 หรื อ
                   ั           ้
    2 พระองค์ คือพระนางพุทธิ และพระนาง
    สิ ทธิ (บางตาราว่าหนึ่งในนั้นคือพระลักษมี
    จึงเรี ยกว่า ลักษมี คณปติ)
    ทรงผลทับทิมแดง ช่อกัลปพฤกษ์ นกแก้ว
    ตะบอง บ่วงบาศ โถใส่ อญมณี และกระบี่
                             ั
   อานวยผลทางด้านสติปัญญา และความมังมี     ่
    ศรี สุข
   ปางที่ 15 : พระนฤตยะ คณปติ
    (Nritya Gannapati)
    ปางนาฏศิลป์ เจ้ าแห่ งลีลาการร่ ายรา และ
    ศิลปะการแสดง
    "โอม ศรี นฤตยะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี เหลืองทอง มี ๔ กร เป็ นนักเต้น
    ร่ ายราระบาฟ้ อน และเป็ นนักแสดงที่สร้าง
    ความบันเทิง และความสุ ขให้ชาวโลก
    ประทับยืนเข่าขวาเหยียบบนดอกบัวทรงะ
    บอง บ่วงบาศ และขวาน

   ควรตั้งบูชาในวิทยาลัยนาฏศิลป์ โรงเรี ยน
    สอนเต้นรา บัลเล่ต์ โยคะดัดตน โรงเรี ยน
    สอนการแสดง โรงละคร โรงถ่ายทา
    ภาพยนตร์ และสถานบันเทิงต่างๆตามความ
    เหมาะสม
   ปางที่ 16 : พระอุทวะ คณปติ
    (Urdhva Ganapati)
    ปางช่ วยให้ สมปรารถนาในทุกสิ่ ง
    "โอม ศรี อุทวะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ทอง มี 6 กร พระกรข้างหนึ่ง
    โอบพระชายาไว้บนตัก ด้านซ้ายทรงถือ
    ดอกบัว
    คบเพลิง ช่อดอกไม้ งาหัก ลูกศร คันศร
    ทาจากต้นอ้อย และรวงข้าว
   ในนิกายตันตระ นิยมบูชาปางนี้เพือ่
    ประโยชน์ในการทาพิธีดานเสน่ห์
                           ้
    อานวยผลให้สมปรารถนาทุกประการ
   ปางที่ 17 : พระเอกอักษรา คณปติ
     (Ekaakshara Ganapati)
    ปางทรงอานาจด้ านพระเวท
    "โอม ศรี เอกา อักษรา คณปติ ยะนะมะ
    ฮา"
   วรรณะสี แดง มี 4 กร มีดวงตาที่สาม
    ประดับจันทร์เสี้ ยวอยูเ่ หนือเศียร
    กรหนึ่งประทานพรทรงะบอง บ่วงบาศ
    และผลทับทิม ประทับเหนือพาหนะคือ
    หนู
   อานวยผลด้านป้ องกันอาถรรพณ์ และ
    คุณไสยสาหรับบุคคลทัวไป และผูร่ า
                              ่        ้
    เรี ยนด้านพระเวท หรื อสรรพศาสตร์ดาน  ้
    ต่างๆ
   ปางที่ 18 : พระวระ คณปติ (Vara
    Ganapati)
    ปางแห่ งความรักที่สุขสมหวัง
    "โอม ศรี วะระ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดง มี 4 กร 3 เนตร มีดวงตาที่
    สาม อันเป็ นดวงตาแห่งสติปัญญา และมี
    จันทร์เสี้ ยวประดับเหนือเศียร กรหนึ่ง
    โอบกอดชายาบนตักทรงชามขนม
    ตะบอง และบ่วงบาศ ที่งวงชูโถใส่น้ าผึ้ง
   อานวยผลให้สมหวังในความรัก ควรตั้ง
    บูชาไว้ในร้านเสื้ อผ้า ร้านค้าที่เกี่ยวกับ
    การสมรส การแต่งงาน และความรัก
    ฯลฯ
   ปางที่ 19 : พระตรีอกษรา คณปติ
                       ั
    (Tryakshara Ganapati)
    ปางกาเนิดอักขระโอม
    "โอม ศรี ตรีอกษรา คณปติ ยะนะมะฮา"
                  ั
   วรรณะสี ทอง มี 4ทรงะบอง บ่วงบาศ
                              ่
    มะม่วง และมีขนมโมทกะอยูที่งวง
   อานวยผลด้านการเรี ยนพระเวท และ
    อักษรศาสตร์
   ปางที่ 20 : พระกศิปะ ปรสั ท คณปติ
    (Kshipra-Prasada Ganapati)
    ปางประทานทรัพย์ และความรอบรู้
    "โอม ศรี กศิปะ ปรสั ท คณปติ ยะนะมะ
    ฮา"
   วรรณะสี แดง มี 6 กร ท้องที่ใหญ่น้ นเป็ น
                                      ั
    สัญลักษณ์ของจักรวาล หมายถึงความอุดม
    สมบูรณ์แห่งโภคทรัพย์ และความรอบรู ้อน    ั
    กว้างไกลทรง้นทับทิม ตะบอง บ่วงบาศ
    ดอกบัว และผลทับทิม
   เหมาะสาหรับตั้งบูชาในสถานศึกษา
    มหาวิทยาลัย สถานอบรมวิชาชีพต่างๆ
    หรื อบริ ษทห้างร้านทัวไป
              ั          ่
   ปางที่ 21 : พระหริทรา คณปติ
     (Haridra Ganapati)
    ปางรวยเสน่ ห์ และรวยทรัพย์
    "โอม ศรี หริทรา คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี เนื้อ หรื อสี เหลืองอ่อน มี 3 เนตร
    4ทรงกระบอง บ่วงบาศ และขนมโมทกะ
    ใช้อานาจของบ่วงเพือร้อยรัดศรัทธาของ
                           ่
                                        ้
    ผูเ้ ลื่อมใส และตะบองผลักดันให้กาวเดิน
    ไปข้างหน้า
   อานวยผลให้ทุกคนที่อยากมีเสน่ห์ และ
    ร่ ารวย เช่น ดารานักแสดง นักดนตรี
    นักร้อง ดีเจ พิธีกร หรื อผูให้ความบันเทิง
                               ้
    แก่ผชม ซึ่งต้องใช้พรสวรรค์ และเสน่ห์
             ู้
    ส่ วนตัว
   ปางที่ 22 : พระเอกทันตะ คณปติ
    (Ekadanta Ganapati)
    ปางสาเร็จทุกสิ่ ง
    "โอม ศรี เอกทันตะ ปะระสั ท คณปติ ยะนะ
    มะฮา"
    วรรณะสี ฟ้า มี 4ทรงขวาน (เพือใช้กาจัดอ
                                ่
    วิชา)
   ทรงลูกประคา (เพืออธิษฐาน) ผลไม้
                      ่
   และงาข้างที่หกั
    เอกทันตะหมายถึงเทพเจ้าผูมีงาข้างเดียว
                             ้
   อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทุกสิ่ ง
    ตามแต่จะอธิษฐาน
   ปางที่ 23 : พระสะริสติ คณปติ
    (Shrishti Ganapati)
    ปางออกเดินทาง และสร้ างสรรค์ สิ่งใหม่
    "โอม ศรี สะริสติ ปะระสั ท คณปติ ยะนะ
    มะฮา"
   วรรณะสี แดงส้ม มี 4 กร ขี่หนูเป็ น
    พาหนะทรงะบอง มะม่วง และบ่วงบาศ
                  ั ้
    อานวยผลให้กบผูประกอบอาชีพด้านการ
    เดินทางที่ไม่หยุดนิ่ง เช่น นักบิน สจ๊วต
    แอร์โฮสเตส กัปตันเรื อ มัคคุเทศก์ ผู ้
    ทางานด้านสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆไม่หยุดนิ่ง
    เช่น นักคิด นักเขียน นักโฆษณา นัก
    ออกแบบ เป็ นต้น
   ปางที่ 24 : พระอุททันตะ คณปติ
    (Uddanda Ganapati)
    ปางกาจัดภูตผี และคุณไสย
    "โอม ศรี อุททันตะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดง มี 10ทรงโถใส่ขนม หรื อ
    น้ าผึ้ง ดอกบัว ดอกลิลลี่สีฟ้า คทา ต้นอ้อย
    กิ่งไม้ บ่วงบาศ พวงมาลัย และผลทับทิม
    โดยใช้กรซ้ายโอบพระชายาอยูที่ตก  ่ ั
    ด้านซ้าย
   อานวยผลด้านขจัดทุกข์ภย และอาถรรพณ์
                               ั
    ต่างๆ บันดาลให้ครอบครัวมีความสุ ข
   ปางที่ 25 : พระรีนาโมจัน คณปติ
    (Runamochana Ganapati)
    ปางแก้กรรม และขจัดหนีสิน้
    "โอม ศรีโอมจัน คณปติ ยะนะมะฮา"

    วรรณะสี ขาว มี 4 กร มีหน้าที่ปลดปล่อย
    มนุษย์ออกจากพันธนาการ คาสาป
    และความผิดพลาดทั้งหลายทรงะบอง
    บ่วงบาศ และขนมโมทกะ
   เหมาะบูชาสาหรับผูตองการเปลี่ยนแปลง
                          ้้
    ชีวิตใหม่ให้ดีข้ ึน (พลิกดวงชะตา) แก้ไข
    กรรมเก่า ปลดหนี้สิน ล้างมลทินทั้งปวง
   ปางที่ 26 : พระตันติ คณปติ
    (Dhundhi Ganapati)
    ปางขุมทรัพย์ ทางปัญญา
    "โอม ศรี ตันติ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดง มี ๔ทรงูกประคา ขวาน
    โถใส่อญมณี ที่แสดงขุมทรัพย์ของผูมี
            ั                       ้
    พุทธิปัญญา
                 ั ้
    อานวยผลให้กบผูทางานด้านใช้
    ความคิด ใช้ปัญญาสร้างสรรค์ทุกแขนง
   ปางที่ 27 : พระทวิมุข คณปติ
    (Dwimukha Ganapati)
    ปาง 2 เศียร
    "โอม ศรี ทวิมุข คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี เนื้อ มี 2 เศียร 4ทรงะบอง
    บ่วงบาศ และโถอัญมณี เป็ นปางที่เป็ นคน
                  ั
    ที่ปรับตัวได้กบทุกคนให้ทรัพย์มาก และ
    ขจัดอวิชา
                   ั ้
    อานวยผลให้กบผูทางานด้าน
    ประชาสัมพันธ์ ด้านติดต่อเจรจา
    ประสานงาน เป็ นสื่ อกลางต่างๆ นักการ
    ทูต นักจิตวิทยาที่ตองใช้มนุษย์สัมพันธ์
                        ้
    สู ง
   ปางที่ 28 : พระตรีมุข คณปติ
    (Trimukha Ganapati)
    ปาง 3 เศียร
    "โอม ศรี ตรีมุข คณปติ ยะนะมะฮา"

    วรรณะสี แดง หรื อสี ชมพูสด มี 3 เศียร 6 กร
    สามเศียรหมายถึง ภพทั้งสาม (สวรรค์,โอ
    มนุษย์, บาดาล)
    ปางหนึ่งประทับนังบนดอกบัว ทรงประทาน
                     ่
    พร พระหัตถ์ขวาประทานอภัย
    พระหัตถ์ซายอานวยพร กรอื่นๆทรงถือ
              ้
    ตะบอง ลูกปะคา บ่วงบาศ และโถใส่น้ าผึ้ง
   อานวยผลทางด้านโภคทรัพย์ มีอานาจ และ
    แคล้วคลาดปลอดภัย
   ปางที่ 29 : พระสิ งหะ คณปติ
    (Sinha Ganapati)
    ปางประทับราชสี ห์
    "โอม ศรี สิ งหะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ขาว มี 8 กร พระหัตถ์ขวาประทาน
    อภัย พระหัตถ์ซายอานวยพรทรงช่อดอกไม้
                    ้
    ราชสี ห์ พิณ ดอกบัว โถอัญมณี ประทับบน
    สิ งโต (คล้ายพระเหรัมภะคณปติ) หมายถึง
    พลังอานาจในการปกครองบริ วาร ผิววรกาย
    ขาวเป็ นสัญลักษณ์ของพลังบริ สุทธิ์ หรื อการ
    หลุดพ้น
   การอานวยผลและสถานที่สาหรับตั้งบูชา เป็ น
    ดุจเดียวกับ พระเหรัมภะคณปติ และพระ
                              ั
    วีรคณปติ คืออานวยผลให้กบองค์กรบริ หาร
    ราชการแผ่นดิน ทหาร ตารวจ พลเรื อน ฝ่ าย
    ปกครอง ผูนา ผูบริ หาร หัวหน้าหน่วยงานทุก
                ้ ้
    ประเภท
   ปางที่ 30 : พระโยคะ คณปติ
    (Yoga Ganapati)
    ปางแห่ งพระเวท หรือปางสมาธิกรรมฐาน
    "โอม ศรี โยคะ คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ทองคา มี 4ทรงูกประคา ต้นอ้อย
    บ่วงบาศ และขอสับช้าง เป็ นปางแห่งพระ
    เวท และการรักษาโรคภัยต่างๆ
                 ั
    อานวยผลให้กบผูเ้ ป็ นอาจารย์ และ
    นักศึกษาโยคะสมาธิแบบต่างๆ เหมาะ
    สาหรับตั้งบูชาไว้ในสถานศึกษา
    หรื อบูชาไว้ใน เทวสถาน เทวาลัย โรงเรี ยน
    สอนศาสนาฮินดู ห้องพระ ห้องปฏิบติ ั
    ธรรมภายในบ้าน เป็ นต้น
   ปางที่ 31 : พระทุรคา คณปติ
     (Durga Ganapati)
    ปางมหาอานาจ
    "โอม ศรี ทุรคา คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี ทอง มี 8ทรงกระบอง คันศร ลูกศร
    บ่วงบาศ ธงชัย ลูกประคา และขนมโมทกะ
   เป็ นปางที่พระราชาในชมพูทวีปนิยม
    สักการบูชามากปางหนึ่ง
                 ่ ้
    อานวยผลดีตอผูมีหน้าที่ราชการ ทหาร
    ตารวจ ข้าราชการ ฝ่ ายปกครอง ผูบริ หาร
                                  ้
    หัวหน้าหน่วยงานทุกระดับ
   ปางที่ 32 : พระสั งกตะหะรา คณปติ
    (Sankatahara Ganapati)
    ปางทาลายอุปสรรค และความเศร้ าหมอง
    "โอม ศรี สั งกตะ หะรา คณปติ ยะนะมะฮา"
   วรรณะสี แดงส้ม มี 4 กร ประทับนังบน
                                   ่
    ดอกบัวสี แดง พระหัตถ์ขวาอานวยพร
    พระหัตถ์ซายโอบชายาบนตักซ้าย ส่ วนกร
                ้
    อื่นทรงถือชามขนม ตะบอง และบ่วงบาศ
   อานวยผลให้ครอบครัวมีความสุ ข หรื อ
    ประสบความสาเร็ จ ตามแต่จะอธิษฐานขอ
    พระพิฆเณศ
มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็ นสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัด
ทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรี ยนประณี ตศิลปกรรมสังกัดกรมศิลปากร เปิ ดสอน
วิชาจิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ขาราชการและนักเรี ยนในสมัยนั้นโดยไม่เก็บ
                                            ้
ค่าเล่าเรี ยน ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (เดิมชื่อ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ่ ง
เดินทางมารับราชการในประเทศ ไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๖ เป็ นผูก่อตั้งโรงเรี ยน แห่งนี้ข้ ึน และได้เจริ ญเติบโตเป็ นลาดับ
        ่ ั                  ้
เรื่ อยมา จนกระทังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็ น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ ๑๒
                   ่
ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็ นคณะ
วิชาแรก (ปั จจุบนคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘
                 ั
จัดตั้งคณะสถาปั ตยกรรมไทย (ซึ่ งต่อมาได้ปรับหลักสู ตรและเปลี่ยน ชื่อเป็ นคณะ
สถาปั ตยกรรมศาสตร์ ) และคณะโบราณคดี หลังจากนั้นได้จดตั้งคณะมัณฑนศิลป์ ขึ้น
                                                                  ั
ในปี ต่อมา
   ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิ ดคณะวิชาและสาขาวิชาที่
    หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริ เวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยาย
    พื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด
    นครปฐม โดยจัดตั้งคณะ
   อักษรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ และคณะวิทยาศาสตร์
    พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามลาดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะ
    เทคโนโลยี อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๓๕ และจัดตั้งคณะดุริยางคศาสตร์ข้ ึน เมื่อ พ.ศ.
    ๒๕๔๒ เพือให้เป็ น มหาวิทยาลัยที่มีความสมบูรณ์ ทางด้านศิลปะมากยิงขึ้น
               ่                                                     ่
พ.ศ. ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้ง วิทยาเขตแห่ง
ใหม่ ที่จงหวัดเพชรบุรี เพื่อกระจายการศึกษาไปสู่ภูมิภาค ใช้ชื่อว่า "วิทยาเขต
         ั
สารสนเทศเพชรบุรี" จัดตั้งคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ในปี พ.ศ.
๒๕๔๔ คณะวิทยาการจัดการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสาร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และวิทยาลัยนานาชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖

        มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายงานในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยการ
จัดตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยขึ้น เพือรับผิดชอบในการดาเนินการ
                              ่
พระพิฆเนศรเทพเจ้าแห่งศิลป
วิทยาการและการประพันธ์ประทับบนเมฆ
พระหัตถ์ขวาบนถือตรี ศล พระหัตถ์ขวาล่าง
                         ู
ถืองาช้าง พระหัตถ์ซายบนถือปาศะ (เชือก)
                     ้
พระหัตถ์ซายล่างถือครอบน้ า ประทับบน
           ้
ลวดลายกนก ภายใต้มีอกษรว่า
                       ั
"มหาวิทยาลัยศิลปากร" ประกาศใช้เมื่อ 21
สิ งหาคม พ.ศ.2494ซึ่ งคล้ายคลึงกับกรม
ศิลปากร
คนไทยถือว่าองค์พระพิฆเนศวรเป็ นที่เคารพสักการะในฐานะองค์บรมครู แห่ง
ศิลปะวิทยาการ 18 ประการ โดยคนไทยยอมรับในองค์พระพิฆเนศวรให้เป็ นเทพแห่ง
ศิลปะทั้งมวล และเป็ นเทพองค์สาคัญในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่ งทางศาสนา
พราหมณ์ได้สถาปนาพระพิฆเนศวร เป็ นเทพพระองค์แรกที่ตองบูชาก่อนเริ่ มพิธีใดๆ
                                                        ้
เป็ นการคารวะในฐานะบรมครู ผประสาทปั ญญาและความสาเร็ จ สามารถขจัด
                             ู้
                                                      ่
อุปสรรคทั้งปวงให้หมดสิ้นไป กิจการทุกอย่างจึงสาเร็ จลุลวงได้ดวยดี หน่วยงาน
                                                            ้
ราชการกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงได้ถือเอาพระพิฆเนศวรเป็ น
สัญลักษณ์
จากข้อมูลที่รวบรวมได้ท้ งหมดแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของพระพิฆเนศวรที่มี
                                     ั
    ความสาคัญต่อประชาชนทัวไป โดยมีความเชื่อที่เกี่ยวกับพระพิฆเนศวรว่า ท่านคือเทพเจ้า
                                 ่
    แห่งศิลปะวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความสาเร็ จ ขจัดความขัดข้องทั้งปวง และยังมีความสาคัญ
    อย่างยิงต่อมหาวิทยาลัยศิลปากรเนื่องจากเป็ นตราสัญลักษณ์ประจามหาวิทยาลัยจึงเป็ นที่เคารพ
           ่
    นับถือของนักศึกษาในรั้วศิลปากรทุกคน
ข้ อค้นพบทีได้ ่
    ◦ เนื่องจากมหาวิทยาลัยศิลปากรอยูในความดูแลของกรมศิลปากรซึ่งใช้ตราสัญลักษณ์พระ
                                        ่
       พิฆเนศวรดังนั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงใช้ตราสัญลักษณ์พระพิฆเนศวรด้วย พระ
       พิฆเนศวรคือเทพเจ้าแห่งศิลปะวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความสาเร็ จ ขจัดความขัดข้องทั้งปวง
ข้ อคิดทีได้
         ่
    ◦ คนส่ วนใหญ่มกจะชอบขอพรจากพระพิฆเนศวรเพือที่จะประสบความสาเร็ จในเรื่ องต่างๆ
                       ั                               ่
       แต่จริ งๆ แล้วการขอพรจากพระพิฆเนศวรเป็ นได้แค่ที่พ่งทางใจเท่านั้น การที่เราจะ
                                                           ึ
                                    ่ ั
       ประสบความสาเร็ จได้ข้ ึนอยูกบการกระทาของเราเท่านั้นการทางานครั้งนี้ยงได้ทราบอีกว่า
                                                                           ั
                               ่
       องค์พระพิฆเนศวรมีอยูทุกที่ในมหาวิยาลัยศิลปากร รวมทั้งในหัวใจของเด็กศิลปากรด้วย
 www.thepjamlang.com/articles/233904/พระพิฆเนศ_32
  ปาง.html
 th.wikipedia.org/wiki/พระพิฆเนศวร
 www.su.ac.th
   นาย ถิรวุฒิ กลิ่นลออ            รหัส 07530418 คณะวิทยาศาสตร์
   นาย ธีรไนย ศรี ธรรมรงค์         รหัส 07530423 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว ปรางค์วลัย เพ็งมาก       รหัส 07530432 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว วิไลรัตน์ บุษบาบาล        รหัส 07530447 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว ศศิมาพร ขันทองดี          รหัส 07530452 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว อรทัย บุญฤทธิ์            รหัส 07530469 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว สุ มินตรา พามา            รหัส 07530603 คณะวิทยาศาสตร์
   นางสาว นลินทิพย์ สุรโชติเวศย์   รหัส 09530669 คณะวิศวกรรมศาสตร์
   นางสาว นันทนัช นันทอารี         รหัส 09530671 คณะวิศวกรรมศาสตร์
   นางสาว ปาลวจี บุณยบุตร          รหัส 09530701 คณะวิศวกรรมศาสตร์

Contenu connexe

Tendances

Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Nantawat Wangsan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tongsamut vorasan
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tongsamut vorasan
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
AY'z Felon
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
Chirayu Boonchaisri
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Dnnaree Ny
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
Kiat Chaloemkiat
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 

Tendances (19)

1กับ2
1กับ21กับ2
1กับ2
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 

Similaire à มนุษย์กับการสร้างสรรค์

พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
Panda Jing
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
Panda Jing
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
kutoyseta
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
spk-2551
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 

Similaire à มนุษย์กับการสร้างสรรค์ (20)

Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 

มนุษย์กับการสร้างสรรค์

  • 2.
  • 3. พระพิฆเนศวร (ภาษาสันสกฤต : คเณศ) หรื อ พระพิฆเนศ หรื อ พระพิฆเณศ หรื อ พระพิฆเณศวร หรื อ พระพิฆเณศ หรื อ พระคเณศ หรื อ คณปติ เป็ นเทพในศาสนา พราหมณ์ นับถือว่าเป็ นเทพเจ้าแห่งความรู ้ เป็ นผูมีปัญญาเป็ นเลิศ ปราดเปรื่ องใน ้ ศิลปวิทยาทุกแขนง เป็ นหัวหน้านาคณะข้ามความขัดข้อง (ผูเ้ ป็ นใหญ่เหนือความ ขัดข้อง)
  • 4. พระพิฆเนศวรเป็ นโอรสของพระอิศวรและพระอุมาเทวีมีรูปกายเป็ นมนุษย์ มี เศียรเป็ นช้าง ทุกคนเคารพนับถือท่านในฐานะที่ท่านเป็ น "วิฆเนศ" นันคือ เจ้า (อิศ) ่ แห่งอุปสรรค (วิฆณ) เพราะเจ้าแห่งอุปสรรค ที่สามารถปลดปล่อยอุปสรรคได้ และ อีกความหมายถึง ท่านเป็ นเทพเจ้าแห่งความสาเร็ จในทุกศาสตร์สรรพสิ่ งหรื อเทพเจ้า แห่งการเริ่ มต้นใหม่ท้ งปวง เมื่อพิจารณาความหมายในทางสัญญะ รู ปกายที่อวนพีน้ น ั ้ ั มีความหมายว่า ความอุดมสมบูรณ์ เศียรที่เป็ นช้างมีความหมาย หมายถึงผูมีปัญญา ้ มาก ตาที่เล็กคือ สามารถมอง แยกแยะสิ่ งถูกผิด หูและจมูกที่ใหญ่หมายถึง มีสัมผัส ั พิจารณา ที่ดีเลิศ พระพิฆเนศวรมีพาหนะคือ หนู ซึ่ งอาจเปรี ยบได้กบความคิด ที่พง ุ่ พล่าน รวดเร็ ว ดังนั้น มนุษย์จึงต้องมีปัญญากากับเป็ นดังเจ้านายในใจตน ่
  • 5. ่ ั ในคราวที่พระศิวะเทพทรงไปบาเพ็ญสมาธิ เป็ นระยะเวลานานอยูน้ น พระแม่ปารวตีเนื่องจากอยูองค์ ่ เดียวเลยเกิดความเหงา และ ประสงค์ท่ีจะมีผมาคอยดูแลพระองค์และป้ องกันคนภายนอก ที่จะเข้ามาก่อ ู้ ่ ความ วุนวายในพระตาหนัก ในจึงทรงเสกเด็กขึ้นมาเพื่อเป็ นพระโอรสที่จะเป็ นเพื่อนในยามที่องค์ศิวเทพ เสด็จออกไปตามพระกิจ ่ ต่างๆมีอยูคราวหนึ่ง เมื่อพระนางทรงเข้าไปสรงในพระตาหนักด้านในนั้นองค์ศิวเทพได้ กลับมาและเมื่อ จะเข้าไปด้านในก็ถูกเด็กหนุ่มห้ามไม่ให้เข้า เนื่องจากไม่รู้วาเป็ นใครและในลักษณะเดียวกันศิวเทพก็ไม่ ่ ทราบว่าเด็กหนุ่ม นั้นเป็ นพระโอรสที่พระแม่ปารวตีได้เสกขึ้นมา เมื่อพระองค์ถูกขัดใจก็ทรงพิโรธและตวาดให้เด็กหนุ่มนั้นหลีกทางให้พลาง ถามว่ารู ้ไหมว่ากาลังห้าม ใครอยู่ ฝ่ ายเด็กนั้นก็ตอบกลับว่าไม่จาเป็ นที่จะต้องรู ้วาเป็ นใครเพราะตนกาลังทาตาม บัญชาของพระแม่ ่ ้ ั ปารวตี และทั้งสองก็ได้ทาการต่อสูกนอย่างรุ นแรง จนเทพทัวทั้งสวรรค์เกิดความวิตกในความหายนะที่ ่ จะตามมา และในที่สุดเด็กหนุ่มนั้นก็ถกตรี ศูลของมหาเทพจนสิ้นใจ และศีรษะก็ถูกตัดหายไป ู ในขณะนั้นเองพระแม่ปารวตีเมื่อได้ยินเสี ยงดังกึกก้องไปทัวจักรวาลก็ เสด็จออกมาด้านนอกและ ่ ็ ถึงกับสิ้นสติเมื่อเห็นร่ างพระโอรสที่ปราศจากศีรษะ และเมื่อได้สติกทรงมีความโศกาอาดูร และตัดพ้อ พระสวามีที่มีใจโหดเหี้ ยมทา ร้ายเด็กได้ลงคอ โดยเฉพาะเมื่อเด็กนั้นเป็ นพระโอรสของพระนางเอง เมื่อได้ยินพระนางตัดพ้อต่อว่าเช่นนั้นองค์มหาเทพก็ทรงตรัสว่าจะทาให้ เด็กนั้นกลับพื้นขึ้นมาใหม่ แต่กเ็ กิดปัญหา เนื่องจากหาศีรษะที่หายไปไม่ได้ และยิงใกล้เวลาเช้าแล้วต่างก็ยิ่ง กระวนกระวายใจ ่ เนื่องจากหากดวงอาทิตย์ข้ ึน แล้วก็จะไม่สามารถชุบชีวิตให้เด็กหนุ่มฟื้ นขึ้นมาได้เมื่อเห็น
  • 6. เช่นนั้นพระศิวะเลยโยนตรี ศูลอาวุธของพระองค์ออกไปหาศีรษะสิ่ งที่มีชีวิตแรก ที่พบมาและปรากฏว่าเหล่าเทพได้นาเอาศีรษะช้างมาซึ่ งพระศิวะทรงนาศีรษะมาต่อ ให้และชุบชีวิตให้ใหม่พร้อมยกย่อง ให้เป็ นเทพที่สูงที่สุด และขนานนามว่า พระ พิฆเนศวร ซึ่ งแปลว่าเทพผูขจัดปั ดเป่ าอุปสรรคและยังทรงให้พรว่าในการประกอบ ้ พิธีการต่างๆทั้งหมดนั้นจะต้องทาพิธีบูชาพระพิฆเนศวรก่อนเพือความสาเร็ จของพิธี ่ นั้น เนื่องจากพระพิฆเนศวรมีพระวรกายที่ไม่เหมือนเทพอื่นๆนั้น ได้มีการอธิบายถึง พระวรกายของพระองค์ท่านดังนี้ 1. พระเศียรของท่านหมายถึงวิญญาณซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญของการมีชีวต ิ ่ 2. พระวรกายแสดงถึงการที่เป็ นมนุษย์ที่อยูบนพื้นปฐพี 3. ศีรษะช้างแสดงถึงความเฉลียวฉลาด 4. เสี ยงดังที่เปล่งออกมาจากงวงหมายถึงคาว่า โอม ซึ่งเป็ นเสี ยงแสดงถึงความเป็ น สัจจะของสุริยจักรวาล
  • 7. 5. พระหัตถ์บนด้านขวาทรงเชือกบ่วงบาศน์ที่ทรงใช้ในการนาพามนุษย์ไปสู่เส้นทางแห่งธรรมะ และหลุดพ้นพร้อมทรงขจัดอุปสรรคในระหว่างทาง 6. พระหัตถ์บนซ้ายทรงเชือกขอสับที่ใช้ในการป้ องกันและพันฝ่ าความยากลาบาก 7. มือขวาล่างทรงงาที่หกครึ่ งซึ่ งพระองค์ทรงใช้เป็ นปากกาในการเขียนมหากาพย์มหาภารตะให้ ั มหาฤษีเวทวยาสมุนีและเป็ นสัญลักษณ์แห่ งความเสี ยสละ 8. อีกมือทรงลูกประคาที่แสดงว่าการแสวงหาความรู้ จะต้องเป็ นไปอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา 9.ขนมโมณฑกะหรื อขนมหวานลัดดูในงวงเป็ นการชี้ นาว่ามนุษย์จะต้องแสวงหาความ หวานชื่ น ั ในจิตวิญญาณของตนเองเพื่อที่จะได้มีจิตเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ให้กบคน อื่นๆ 10. หูที่กว้างใหญ่เหมือนใบพัดหมายความว่าท่านพร้ อมที่รับฟั งสิ่ งที่เราร้องเรี ยนและเรี ยกหา ั ่ ่ 11. งูที่พนอยูรอบท้องท่านแสดงถึงพลังที่มีอยูโดยรอบ 12. หนูที่ทรงใช้เป็ นพาหนะแสดงถึงความไม่ถือองค์และพร้อมที่จะเกี่ยวข้องกับสิ่ งมีชีวิตที่เล็ก และเป็ นที่รังเกียจของมนุษย์ส่วนมาก
  • 8.
  • 9. ปางที่ 1 : พระบาล คณปติ (Bala Ganapati) อวตารภาคเด็ก : ปางอันเป็ นทีรักของทุกคนและ ่ เด็กๆ "โอม ศรี บาลา คณปติ ยะนะมะฮา"  ่ ั เป็ นพระพิฆเนศในวัยเด็ก คลานอยูกบพื้น หรื อ อิริยาบทอื่นๆ เมื่อโตขึ้นจึงเปลี่ยนลักษณะ มี วรรณะสี แดงเข้มมี 4 กร บาลคณปติ หมายถึง สี ทองของพระเจ้าทรงถือ อ้อย มะม่วง กล้วย ขนุนและทรงกินมะขวิด แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ และภาวะการ เจริ ญเติบโต  นิยมบูชาในบ้านเรื อน หรื อโรงเรี ยนที่มีเด็กเล็ก เด็กนักเรี ยน เช่น โรงเรี ยนอนุบาลและชั้น ประถม สถานรับเลี้ยงเด็ก สนามเด็กเล่น ฯลฯ
  • 10. ปางที่ 2 : พระตรุ ณ คณปติ (Taruna Ganapati) อวตารภาควัยหนุ่ม : ปางทีให้ คุณประโยชน์ ใน ่ กิจการงาน "โอม ศรี ตรุ ณะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดงอมส้มเหมือนอาทิตย์ยามแรกอรุ ณ มี 8ทรงข้าว ต้นอ้อย ตะบอง บ่วงบาศ งาหัก ผลฝรั่ง ขนมโมทกะ และขนมอื่นๆ ปางนี้เป็ น ตัวแทนการเจริ ญเติบโต ความเป็ นหนุ่มสาว  นิยมตั้งบูชาไว้ตามสถานศึกษา มหาวิทยาลัย หรื อสถานที่ทางานที่เต็มไปด้วยคนหนุ่มสาววัย กระตือรื อร้น
  • 11. ปางที่ 3 : พระภักติ คณปติ (Bhakti Ganapati) ปางบูชาขอพระเวท เพื่อความสมบูรณ์เติม เต็มของชีวิต "โอม ศรี ภัคดี คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ขาวบริ สุทธิ์ดงพระจันทร์ เต็มดวง ั่ ในฤดูเก็บเกี่ยว มี 4ทรงมะม่วง กล้วย ลูก มะพร้าว และถ้วยข้าวปาส(ปรุ งด้วยนมสด และ ข้าวสาร มีรสหวาน) พระภัคติ คณปติ หมายถึงผูภกดีอย่างแท้จริ ง ้ ั  บูชาเพือความสุ ขสมหวังในชีวต หรื อเพือ ่ ิ ่ หลุดพ้น
  • 12. ปางที่ 4 : พระวีระ คณปติ (Veera Ganapati) อวตารแห่ งนักรบ ปางออกศึก และปราบ มาร ให้ อานาจในการบริหารปกครอง และ ความเป็ นผู้นา "โอม ศรี วีระ คณปติ ยะนะมะฮา  วรรณะสี แดงโลหิต มี 16 กร ทรงอาวุธ และสิ่ งมงคลต่างๆคือ โล่ หอก ค้อน คทา ธงชัย จักรตรา พญางู ขวาน คันศร ลูกศร ตรี เพชร ขอสับช้าง อสูร กระบี่ ตะบอง และบ่วงบาศ พระกรเหล่านั้นกางออก ประดุจรัศมีอานาจแห่งดวงอาทิตย์  ั อานวยผลให้กบองค์กรบริ หารราชการ แผ่นดิน ทหาร ตารวจ พลเรื อน ฝ่ าย ปกครอง ผูนา ผูบริ หาร หัวหน้าหน่วยงาน ้ ้ ทุกประเภท
  • 13. ปางที่ 5 : พระศักติ คณปติ (Shakti Ganapati) ปางทรงอานาจเหนือการงาน การเงิน และความรัก "โอม ศรี ศักติ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แป้ งจันทร์ มี 4 กร ประทานพร ทรงมาลัย บ่าวบาศ และกรหนึ่งโอบพระ ่ ชายาที่ประทับอยูหน้าตักด้านซ้าย รัศมีสีแดงส้ม สื่ อถึงพลังอานาจที่อยู่ เหนือสรรพสิ่ ง  อานวยผลให้ชีวิตครอบครัวมีความสุ ข และประสบความสาเร็ จในหน้าที่การ งาน
  • 14. ปางที่ 6 : พระทวิชา คณปติ (Dwija Ganapati) ปางของการบุกเบิก เริ่มต้นชีวิตใหม่ เปิ ด กิจการใหม่ "โอม ศรี ทวิชา คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ขาวมี 4 เศียร 4ทรงลูกปะคา ไม้ ครู (หรื อพลอง) กาน้ า และคัมภีร์ เป็ นสัญลักษณ์แห่งการเกิดใหม่ ความ พากเพียร และแสวงหาวิชาความรู ้  ั ้ อานวยผลให้กบผูประกอบกิจการต่างๆ นักธุรกิจ นักลงทุน นักสารวจ นักบุกเบิก คนทางานต่างแดน เป็ นต้น
  • 15. ปางที่ 7 : พระสิ ทธิ คณปติ (Siddhi Ganapati) ปางประทานความสมบูรณ์ และทรัพย์ สมบัติ "โอม ศรี สิ ทธิ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ทองคา มี 4ทรงช่อดอกไม้ มะม่วง ต้นอ้อย และขวาน ส่ วนงวงนั้นชู ขนม คอยประทานความร่ ารวย และความอุดม ั สมบูรณ์ให้กบโลก  อานวยผลด้านทรัพย์สินเงินทอง และ ความอุดมสมบูรณ์
  • 16. ปางที่ 8 : พระอุจฉิษฏะ คณปติ (Uchhishta Ganapati) ปางเสน่ หา และความสาเร็จสม ปรารถนา "โอม ศรี อุจฉิษฏะ คณปติ ยะนะมะ ฮา"  วรรณะสี ฟ้าเทาดุจเมฆา มี 6 กร ประทับนังโดยพระกรหนึ่งโอบอุม ่ ้ ่ ั ศักติชายาอยูที่ตกด้านซ้าย ส่ วนพระกรอื่นถือลูกประคา ลูกทับทิม พิณ รวงข้าว และดอกบัว  อานวยผลให้เกิดเสน่ห์ และ ความสาเร็ จในด้านต่างๆตามแต่จะขอ พร
  • 17. ปางที่ 9 : พระวิฆณา คณปติ (Vighna Ganapati) ปางขจัดอุปสรรค และแก้ไขปัญหา "โอม ศรี วิฆนา คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ทองคา มี 8 กร ทรงมาลัย ขวาน  ดอกไม้ จักรตรา หอยสังข์ ต้นอ้อย(เป็ น คันศร) บ่วงบาศ และตะบอง  อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทัวไป่ ตามแต่จะอธิษฐาน
  • 18. ปางที่ 10 : พระกษิประ คณปติ (Kshipra Ganapati) ปางประทานพรให้ สาเร็จรวดเร็ว "โอม ศรี กษิประ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดงเข้มดุจกุหลาบ มี 4 กร เป็ น ผูให้ศีลให้พร ประทานพรให้เกิด ้ ผลสาเร็ จอย่างรวดเร็ ว ทรงตะบอง งาหัก บ่วงบาศ และช่อ ดอกไม้  อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทัวไป่ ตามแต่จะอธิษฐาน
  • 19. ปางที่ 11 : พระเหรัมภะ คณปติ (Heramba Ganapati) ปางปกปองคุ้มครอง ้ "โอม ศรี เหรัมภะ คณปติ ยะนะมะฮา  วรรณะสี ขาว มี 5 เศียร 10 กร ประทับนังบน ่ หลังสิ งโต หมายถึง พลังอานาจในการ ปกครองบริ วาร กางพระกรประดุจรัศมีคมกัน ุ้ สรรพภัย พระหัตถ์ซายประทานพร พระหัตถ์ ้ ขวาอานวยพรทรงมะม่วง ลูกประคา ขนม โมทกะ งาหัก บ่วงบาศ ค้อน ขวาน และพวงมาลัย บูชาเพือขจัดความอ่อนแอ ไร้ ่ พลัง  เป็ นปางหนึ่งที่พระราชาในอินเดียนิยมบูชา กันมาก อานวยผลด้านการปกป้ องคุมครอง ้ บริ วาร การบริ หาร ปกครองของผูนา้
  • 20. ปางที่ 12 : พระมหา คณปติ (Maha Ganapati) ปางประทานความสุ ขอันยิงใหญ่ ให้ ่ ครอบครัว "โอม ศรี มหา คณปติ ยะนะมะฮา  วรรณะสี แดง มี 10 กร 3 เนตร ประดับ จันทร์ เสี้ ยวบนมงกุฎปางนี้ทรงอุมชายา คือ ้ พระนางพุทธิ และพระนางสิ ทธิไว้บนตัก ทั้งสองข้าง (บางตาราว่าอุมองค์เดียว)ทรงโถใส่ อญมณี ้ ั รวงข้าว จักรตรา บ่วงบาศ ดอกลิลลี่ ต้น อ้อย (เป็ นคันศร) ดอกบัว และลูกทับทิม แดง  อานวยผลให้ครอบครัวเกิดความสมบูรณ์ พูนสุ ข มีทรัพย์สิน และบริ วารมาก
  • 21. ปางที่ 13 : พระวิชัย คณปติ (Vijaya Ganapati) ปางกาจัดอุปสรรค และความมืดมิด "โอม ศรี วิชะยา คณปติ ยะนะมะฮา" วรรณะสี แดง มี 4 กร ประทับบนตัวหนู หมายถึงการทาลาย ความมืดมิด และอุปสรรคทั้งหลายให้หมดไป ทรงกระบอง ผลมะม่วง และบ่วงบาศ  ั อานวยผลทางปั ญญาให้กบครู บาอาจารย์ ปั ญญาชน ศิลปิ น นักคิด นักเขียน และ ช่างฝี มือทุกแขนง
  • 22. ปางที่ 14 : พระลักษมี คณปติ (Lakshmi Ganapati) ปางแห่ งความมั่งมีศรีสุข และปรีชาญาณ "โอม ศรี ลักษมี คณปติ ยะนะมะฮา  วรรณะสี ขาว มี 8 กร เป็ นเทพแห่งการให้ที่ บริ สุทธิ์ สี ขาวหมายถึงการมีสติปัญญาสูงส่ ง พระหัตถ์ท้ งสองข้างโอบอุมพระชายา 1 หรื อ ั ้ 2 พระองค์ คือพระนางพุทธิ และพระนาง สิ ทธิ (บางตาราว่าหนึ่งในนั้นคือพระลักษมี จึงเรี ยกว่า ลักษมี คณปติ) ทรงผลทับทิมแดง ช่อกัลปพฤกษ์ นกแก้ว ตะบอง บ่วงบาศ โถใส่ อญมณี และกระบี่ ั  อานวยผลทางด้านสติปัญญา และความมังมี ่ ศรี สุข
  • 23. ปางที่ 15 : พระนฤตยะ คณปติ (Nritya Gannapati) ปางนาฏศิลป์ เจ้ าแห่ งลีลาการร่ ายรา และ ศิลปะการแสดง "โอม ศรี นฤตยะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี เหลืองทอง มี ๔ กร เป็ นนักเต้น ร่ ายราระบาฟ้ อน และเป็ นนักแสดงที่สร้าง ความบันเทิง และความสุ ขให้ชาวโลก ประทับยืนเข่าขวาเหยียบบนดอกบัวทรงะ บอง บ่วงบาศ และขวาน  ควรตั้งบูชาในวิทยาลัยนาฏศิลป์ โรงเรี ยน สอนเต้นรา บัลเล่ต์ โยคะดัดตน โรงเรี ยน สอนการแสดง โรงละคร โรงถ่ายทา ภาพยนตร์ และสถานบันเทิงต่างๆตามความ เหมาะสม
  • 24. ปางที่ 16 : พระอุทวะ คณปติ (Urdhva Ganapati) ปางช่ วยให้ สมปรารถนาในทุกสิ่ ง "โอม ศรี อุทวะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ทอง มี 6 กร พระกรข้างหนึ่ง โอบพระชายาไว้บนตัก ด้านซ้ายทรงถือ ดอกบัว คบเพลิง ช่อดอกไม้ งาหัก ลูกศร คันศร ทาจากต้นอ้อย และรวงข้าว  ในนิกายตันตระ นิยมบูชาปางนี้เพือ่ ประโยชน์ในการทาพิธีดานเสน่ห์ ้ อานวยผลให้สมปรารถนาทุกประการ
  • 25. ปางที่ 17 : พระเอกอักษรา คณปติ (Ekaakshara Ganapati) ปางทรงอานาจด้ านพระเวท "โอม ศรี เอกา อักษรา คณปติ ยะนะมะ ฮา"  วรรณะสี แดง มี 4 กร มีดวงตาที่สาม ประดับจันทร์เสี้ ยวอยูเ่ หนือเศียร กรหนึ่งประทานพรทรงะบอง บ่วงบาศ และผลทับทิม ประทับเหนือพาหนะคือ หนู  อานวยผลด้านป้ องกันอาถรรพณ์ และ คุณไสยสาหรับบุคคลทัวไป และผูร่ า ่ ้ เรี ยนด้านพระเวท หรื อสรรพศาสตร์ดาน ้ ต่างๆ
  • 26. ปางที่ 18 : พระวระ คณปติ (Vara Ganapati) ปางแห่ งความรักที่สุขสมหวัง "โอม ศรี วะระ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดง มี 4 กร 3 เนตร มีดวงตาที่ สาม อันเป็ นดวงตาแห่งสติปัญญา และมี จันทร์เสี้ ยวประดับเหนือเศียร กรหนึ่ง โอบกอดชายาบนตักทรงชามขนม ตะบอง และบ่วงบาศ ที่งวงชูโถใส่น้ าผึ้ง  อานวยผลให้สมหวังในความรัก ควรตั้ง บูชาไว้ในร้านเสื้ อผ้า ร้านค้าที่เกี่ยวกับ การสมรส การแต่งงาน และความรัก ฯลฯ
  • 27. ปางที่ 19 : พระตรีอกษรา คณปติ ั (Tryakshara Ganapati) ปางกาเนิดอักขระโอม "โอม ศรี ตรีอกษรา คณปติ ยะนะมะฮา" ั  วรรณะสี ทอง มี 4ทรงะบอง บ่วงบาศ ่ มะม่วง และมีขนมโมทกะอยูที่งวง  อานวยผลด้านการเรี ยนพระเวท และ อักษรศาสตร์
  • 28. ปางที่ 20 : พระกศิปะ ปรสั ท คณปติ (Kshipra-Prasada Ganapati) ปางประทานทรัพย์ และความรอบรู้ "โอม ศรี กศิปะ ปรสั ท คณปติ ยะนะมะ ฮา"  วรรณะสี แดง มี 6 กร ท้องที่ใหญ่น้ นเป็ น ั สัญลักษณ์ของจักรวาล หมายถึงความอุดม สมบูรณ์แห่งโภคทรัพย์ และความรอบรู ้อน ั กว้างไกลทรง้นทับทิม ตะบอง บ่วงบาศ ดอกบัว และผลทับทิม  เหมาะสาหรับตั้งบูชาในสถานศึกษา มหาวิทยาลัย สถานอบรมวิชาชีพต่างๆ หรื อบริ ษทห้างร้านทัวไป ั ่
  • 29. ปางที่ 21 : พระหริทรา คณปติ (Haridra Ganapati) ปางรวยเสน่ ห์ และรวยทรัพย์ "โอม ศรี หริทรา คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี เนื้อ หรื อสี เหลืองอ่อน มี 3 เนตร 4ทรงกระบอง บ่วงบาศ และขนมโมทกะ ใช้อานาจของบ่วงเพือร้อยรัดศรัทธาของ ่ ้ ผูเ้ ลื่อมใส และตะบองผลักดันให้กาวเดิน ไปข้างหน้า  อานวยผลให้ทุกคนที่อยากมีเสน่ห์ และ ร่ ารวย เช่น ดารานักแสดง นักดนตรี นักร้อง ดีเจ พิธีกร หรื อผูให้ความบันเทิง ้ แก่ผชม ซึ่งต้องใช้พรสวรรค์ และเสน่ห์ ู้ ส่ วนตัว
  • 30. ปางที่ 22 : พระเอกทันตะ คณปติ (Ekadanta Ganapati) ปางสาเร็จทุกสิ่ ง "โอม ศรี เอกทันตะ ปะระสั ท คณปติ ยะนะ มะฮา" วรรณะสี ฟ้า มี 4ทรงขวาน (เพือใช้กาจัดอ ่ วิชา)  ทรงลูกประคา (เพืออธิษฐาน) ผลไม้ ่  และงาข้างที่หกั เอกทันตะหมายถึงเทพเจ้าผูมีงาข้างเดียว ้  อานวยผลให้ประสบความสาเร็ จทุกสิ่ ง ตามแต่จะอธิษฐาน
  • 31. ปางที่ 23 : พระสะริสติ คณปติ (Shrishti Ganapati) ปางออกเดินทาง และสร้ างสรรค์ สิ่งใหม่ "โอม ศรี สะริสติ ปะระสั ท คณปติ ยะนะ มะฮา"  วรรณะสี แดงส้ม มี 4 กร ขี่หนูเป็ น พาหนะทรงะบอง มะม่วง และบ่วงบาศ  ั ้ อานวยผลให้กบผูประกอบอาชีพด้านการ เดินทางที่ไม่หยุดนิ่ง เช่น นักบิน สจ๊วต แอร์โฮสเตส กัปตันเรื อ มัคคุเทศก์ ผู ้ ทางานด้านสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆไม่หยุดนิ่ง เช่น นักคิด นักเขียน นักโฆษณา นัก ออกแบบ เป็ นต้น
  • 32. ปางที่ 24 : พระอุททันตะ คณปติ (Uddanda Ganapati) ปางกาจัดภูตผี และคุณไสย "โอม ศรี อุททันตะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดง มี 10ทรงโถใส่ขนม หรื อ น้ าผึ้ง ดอกบัว ดอกลิลลี่สีฟ้า คทา ต้นอ้อย กิ่งไม้ บ่วงบาศ พวงมาลัย และผลทับทิม โดยใช้กรซ้ายโอบพระชายาอยูที่ตก ่ ั ด้านซ้าย  อานวยผลด้านขจัดทุกข์ภย และอาถรรพณ์ ั ต่างๆ บันดาลให้ครอบครัวมีความสุ ข
  • 33. ปางที่ 25 : พระรีนาโมจัน คณปติ (Runamochana Ganapati) ปางแก้กรรม และขจัดหนีสิน้ "โอม ศรีโอมจัน คณปติ ยะนะมะฮา" วรรณะสี ขาว มี 4 กร มีหน้าที่ปลดปล่อย มนุษย์ออกจากพันธนาการ คาสาป และความผิดพลาดทั้งหลายทรงะบอง บ่วงบาศ และขนมโมทกะ  เหมาะบูชาสาหรับผูตองการเปลี่ยนแปลง ้้ ชีวิตใหม่ให้ดีข้ ึน (พลิกดวงชะตา) แก้ไข กรรมเก่า ปลดหนี้สิน ล้างมลทินทั้งปวง
  • 34. ปางที่ 26 : พระตันติ คณปติ (Dhundhi Ganapati) ปางขุมทรัพย์ ทางปัญญา "โอม ศรี ตันติ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดง มี ๔ทรงูกประคา ขวาน โถใส่อญมณี ที่แสดงขุมทรัพย์ของผูมี ั ้ พุทธิปัญญา  ั ้ อานวยผลให้กบผูทางานด้านใช้ ความคิด ใช้ปัญญาสร้างสรรค์ทุกแขนง
  • 35. ปางที่ 27 : พระทวิมุข คณปติ (Dwimukha Ganapati) ปาง 2 เศียร "โอม ศรี ทวิมุข คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี เนื้อ มี 2 เศียร 4ทรงะบอง บ่วงบาศ และโถอัญมณี เป็ นปางที่เป็ นคน ั ที่ปรับตัวได้กบทุกคนให้ทรัพย์มาก และ ขจัดอวิชา  ั ้ อานวยผลให้กบผูทางานด้าน ประชาสัมพันธ์ ด้านติดต่อเจรจา ประสานงาน เป็ นสื่ อกลางต่างๆ นักการ ทูต นักจิตวิทยาที่ตองใช้มนุษย์สัมพันธ์ ้ สู ง
  • 36. ปางที่ 28 : พระตรีมุข คณปติ (Trimukha Ganapati) ปาง 3 เศียร "โอม ศรี ตรีมุข คณปติ ยะนะมะฮา" วรรณะสี แดง หรื อสี ชมพูสด มี 3 เศียร 6 กร สามเศียรหมายถึง ภพทั้งสาม (สวรรค์,โอ มนุษย์, บาดาล) ปางหนึ่งประทับนังบนดอกบัว ทรงประทาน ่ พร พระหัตถ์ขวาประทานอภัย พระหัตถ์ซายอานวยพร กรอื่นๆทรงถือ ้ ตะบอง ลูกปะคา บ่วงบาศ และโถใส่น้ าผึ้ง  อานวยผลทางด้านโภคทรัพย์ มีอานาจ และ แคล้วคลาดปลอดภัย
  • 37. ปางที่ 29 : พระสิ งหะ คณปติ (Sinha Ganapati) ปางประทับราชสี ห์ "โอม ศรี สิ งหะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ขาว มี 8 กร พระหัตถ์ขวาประทาน อภัย พระหัตถ์ซายอานวยพรทรงช่อดอกไม้ ้ ราชสี ห์ พิณ ดอกบัว โถอัญมณี ประทับบน สิ งโต (คล้ายพระเหรัมภะคณปติ) หมายถึง พลังอานาจในการปกครองบริ วาร ผิววรกาย ขาวเป็ นสัญลักษณ์ของพลังบริ สุทธิ์ หรื อการ หลุดพ้น  การอานวยผลและสถานที่สาหรับตั้งบูชา เป็ น ดุจเดียวกับ พระเหรัมภะคณปติ และพระ ั วีรคณปติ คืออานวยผลให้กบองค์กรบริ หาร ราชการแผ่นดิน ทหาร ตารวจ พลเรื อน ฝ่ าย ปกครอง ผูนา ผูบริ หาร หัวหน้าหน่วยงานทุก ้ ้ ประเภท
  • 38. ปางที่ 30 : พระโยคะ คณปติ (Yoga Ganapati) ปางแห่ งพระเวท หรือปางสมาธิกรรมฐาน "โอม ศรี โยคะ คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ทองคา มี 4ทรงูกประคา ต้นอ้อย บ่วงบาศ และขอสับช้าง เป็ นปางแห่งพระ เวท และการรักษาโรคภัยต่างๆ  ั อานวยผลให้กบผูเ้ ป็ นอาจารย์ และ นักศึกษาโยคะสมาธิแบบต่างๆ เหมาะ สาหรับตั้งบูชาไว้ในสถานศึกษา หรื อบูชาไว้ใน เทวสถาน เทวาลัย โรงเรี ยน สอนศาสนาฮินดู ห้องพระ ห้องปฏิบติ ั ธรรมภายในบ้าน เป็ นต้น
  • 39. ปางที่ 31 : พระทุรคา คณปติ (Durga Ganapati) ปางมหาอานาจ "โอม ศรี ทุรคา คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี ทอง มี 8ทรงกระบอง คันศร ลูกศร บ่วงบาศ ธงชัย ลูกประคา และขนมโมทกะ  เป็ นปางที่พระราชาในชมพูทวีปนิยม สักการบูชามากปางหนึ่ง ่ ้ อานวยผลดีตอผูมีหน้าที่ราชการ ทหาร ตารวจ ข้าราชการ ฝ่ ายปกครอง ผูบริ หาร ้ หัวหน้าหน่วยงานทุกระดับ
  • 40. ปางที่ 32 : พระสั งกตะหะรา คณปติ (Sankatahara Ganapati) ปางทาลายอุปสรรค และความเศร้ าหมอง "โอม ศรี สั งกตะ หะรา คณปติ ยะนะมะฮา"  วรรณะสี แดงส้ม มี 4 กร ประทับนังบน ่ ดอกบัวสี แดง พระหัตถ์ขวาอานวยพร พระหัตถ์ซายโอบชายาบนตักซ้าย ส่ วนกร ้ อื่นทรงถือชามขนม ตะบอง และบ่วงบาศ  อานวยผลให้ครอบครัวมีความสุ ข หรื อ ประสบความสาเร็ จ ตามแต่จะอธิษฐานขอ พระพิฆเณศ
  • 41. มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็ นสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรี ยนประณี ตศิลปกรรมสังกัดกรมศิลปากร เปิ ดสอน วิชาจิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ขาราชการและนักเรี ยนในสมัยนั้นโดยไม่เก็บ ้ ค่าเล่าเรี ยน ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (เดิมชื่อ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ่ ง เดินทางมารับราชการในประเทศ ไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๖ เป็ นผูก่อตั้งโรงเรี ยน แห่งนี้ข้ ึน และได้เจริ ญเติบโตเป็ นลาดับ ่ ั ้ เรื่ อยมา จนกระทังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็ น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ ๑๒ ่ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็ นคณะ วิชาแรก (ปั จจุบนคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ั จัดตั้งคณะสถาปั ตยกรรมไทย (ซึ่ งต่อมาได้ปรับหลักสู ตรและเปลี่ยน ชื่อเป็ นคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ ) และคณะโบราณคดี หลังจากนั้นได้จดตั้งคณะมัณฑนศิลป์ ขึ้น ั ในปี ต่อมา
  • 42. ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิ ดคณะวิชาและสาขาวิชาที่ หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริ เวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยาย พื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด นครปฐม โดยจัดตั้งคณะ  อักษรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามลาดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๓๕ และจัดตั้งคณะดุริยางคศาสตร์ข้ ึน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพือให้เป็ น มหาวิทยาลัยที่มีความสมบูรณ์ ทางด้านศิลปะมากยิงขึ้น ่ ่
  • 43. พ.ศ. ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้ง วิทยาเขตแห่ง ใหม่ ที่จงหวัดเพชรบุรี เพื่อกระจายการศึกษาไปสู่ภูมิภาค ใช้ชื่อว่า "วิทยาเขต ั สารสนเทศเพชรบุรี" จัดตั้งคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ คณะวิทยาการจัดการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสาร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และวิทยาลัยนานาชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายงานในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยการ จัดตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยขึ้น เพือรับผิดชอบในการดาเนินการ ่
  • 44. พระพิฆเนศรเทพเจ้าแห่งศิลป วิทยาการและการประพันธ์ประทับบนเมฆ พระหัตถ์ขวาบนถือตรี ศล พระหัตถ์ขวาล่าง ู ถืองาช้าง พระหัตถ์ซายบนถือปาศะ (เชือก) ้ พระหัตถ์ซายล่างถือครอบน้ า ประทับบน ้ ลวดลายกนก ภายใต้มีอกษรว่า ั "มหาวิทยาลัยศิลปากร" ประกาศใช้เมื่อ 21 สิ งหาคม พ.ศ.2494ซึ่ งคล้ายคลึงกับกรม ศิลปากร
  • 45. คนไทยถือว่าองค์พระพิฆเนศวรเป็ นที่เคารพสักการะในฐานะองค์บรมครู แห่ง ศิลปะวิทยาการ 18 ประการ โดยคนไทยยอมรับในองค์พระพิฆเนศวรให้เป็ นเทพแห่ง ศิลปะทั้งมวล และเป็ นเทพองค์สาคัญในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่ งทางศาสนา พราหมณ์ได้สถาปนาพระพิฆเนศวร เป็ นเทพพระองค์แรกที่ตองบูชาก่อนเริ่ มพิธีใดๆ ้ เป็ นการคารวะในฐานะบรมครู ผประสาทปั ญญาและความสาเร็ จ สามารถขจัด ู้ ่ อุปสรรคทั้งปวงให้หมดสิ้นไป กิจการทุกอย่างจึงสาเร็ จลุลวงได้ดวยดี หน่วยงาน ้ ราชการกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงได้ถือเอาพระพิฆเนศวรเป็ น สัญลักษณ์
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51. จากข้อมูลที่รวบรวมได้ท้ งหมดแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของพระพิฆเนศวรที่มี ั ความสาคัญต่อประชาชนทัวไป โดยมีความเชื่อที่เกี่ยวกับพระพิฆเนศวรว่า ท่านคือเทพเจ้า ่ แห่งศิลปะวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความสาเร็ จ ขจัดความขัดข้องทั้งปวง และยังมีความสาคัญ อย่างยิงต่อมหาวิทยาลัยศิลปากรเนื่องจากเป็ นตราสัญลักษณ์ประจามหาวิทยาลัยจึงเป็ นที่เคารพ ่ นับถือของนักศึกษาในรั้วศิลปากรทุกคน ข้ อค้นพบทีได้ ่ ◦ เนื่องจากมหาวิทยาลัยศิลปากรอยูในความดูแลของกรมศิลปากรซึ่งใช้ตราสัญลักษณ์พระ ่ พิฆเนศวรดังนั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงใช้ตราสัญลักษณ์พระพิฆเนศวรด้วย พระ พิฆเนศวรคือเทพเจ้าแห่งศิลปะวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความสาเร็ จ ขจัดความขัดข้องทั้งปวง ข้ อคิดทีได้ ่ ◦ คนส่ วนใหญ่มกจะชอบขอพรจากพระพิฆเนศวรเพือที่จะประสบความสาเร็ จในเรื่ องต่างๆ ั ่ แต่จริ งๆ แล้วการขอพรจากพระพิฆเนศวรเป็ นได้แค่ที่พ่งทางใจเท่านั้น การที่เราจะ ึ ่ ั ประสบความสาเร็ จได้ข้ ึนอยูกบการกระทาของเราเท่านั้นการทางานครั้งนี้ยงได้ทราบอีกว่า ั ่ องค์พระพิฆเนศวรมีอยูทุกที่ในมหาวิยาลัยศิลปากร รวมทั้งในหัวใจของเด็กศิลปากรด้วย
  • 52.  www.thepjamlang.com/articles/233904/พระพิฆเนศ_32 ปาง.html  th.wikipedia.org/wiki/พระพิฆเนศวร  www.su.ac.th
  • 53. นาย ถิรวุฒิ กลิ่นลออ รหัส 07530418 คณะวิทยาศาสตร์  นาย ธีรไนย ศรี ธรรมรงค์ รหัส 07530423 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว ปรางค์วลัย เพ็งมาก รหัส 07530432 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว วิไลรัตน์ บุษบาบาล รหัส 07530447 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว ศศิมาพร ขันทองดี รหัส 07530452 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว อรทัย บุญฤทธิ์ รหัส 07530469 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว สุ มินตรา พามา รหัส 07530603 คณะวิทยาศาสตร์  นางสาว นลินทิพย์ สุรโชติเวศย์ รหัส 09530669 คณะวิศวกรรมศาสตร์  นางสาว นันทนัช นันทอารี รหัส 09530671 คณะวิศวกรรมศาสตร์  นางสาว ปาลวจี บุณยบุตร รหัส 09530701 คณะวิศวกรรมศาสตร์