SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  61
Télécharger pour lire hors ligne
สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ
                                                        แสงธรรม
                                                   ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
                                                 วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา
       ปีที่ 37 ฉบับที่ 443 ประจ�ำเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 Vol.37 No.443 March, 2012

  Objectives :
 �To promote Buddhist activities.                                                   สารบัญ
 �To foster Thai culture and tradition.
 �To inform the public of the temple’s activities.
                                                                                   Contents
 �To provide a public relations center for             	 The Buddha’s Words............................................. 1
  	 Buddhists living in the United States.                Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 2
  เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.                  Opening the Dhamma Eye By Ven. Ajanh Chah.. 6
	 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี                         A No-Problem Person by Du Wayne .................... 10
	 กองบรรณาธิการ :                                        บทความพิเศษ : “บุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ” ........................ 12
	 ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี                               	 อนุโมทนาพิเศษเจ้าภาพกัณฑ์เทศน์มหาชาติ.......................... 17
	 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร                                 ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์........................... 22
	 พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
	 พระสุริยา เตชวโร                                     	 เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23
	 พระมหาสราวุธ สราวุโธ                                 	 ประมวลภาพกิจกรรมเดือนกุมภาพันธ์.................... 29
	 พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม                            	 เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
	 พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป                             	 ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39
	 พระมหาค�ำตัล พุทฺธงฺกุโร                               สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43
	 พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต
                                                         อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44
	 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.           Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45
	 SAENG DHAMMA Magazine                                  รายนามผูบริจาคเดือนกุมภาพันธ์ Ven.Pradoochai 50
                                                                   ้
	 is published monthly by                              	 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53
	 Wat Thai Washington, D.C. Temple                     	 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch............................ 54
	 At 13440 Layhill Rd.,
	 Silver Spring, MD 20906                              	 ก�ำหนดการวันสงกรานต์ ..................................................... 62
	 Tel. (301) 871-8660, 871-8661
	 Fax : 301-871-5007
	 E-mail : watthaidc@hotmail.com                                               Photos taken by
	 Homepage : www.watthaidc.org                                          Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
	 Radio Network : www.watthai.iirt.net                                        Mr. Kevin & Mr. Sam
	 2,500 Copies                                                                  Bank & Ms. Golf
ถ้อยแถลง
	       แสงธรรมฉบับนี้ เป็นฉบับ “เทศน์มหาชาติ” ประเพณีการเทศน์มหาชาติ หรือมหาเวสสันดรชาดกมี
มาแต่โบราณกาล เหตุที่นับถือกันว่าเรื่องมหาเวสสันดรชาดกส�ำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่นๆ ก็เพราะบารมีทั้งสิบ
อย่างของพระโพธิสัตว์จะปรากฏบริบูรณ์ในชาตินี้ จึงเรียกกันว่า “มหาชาติ” และถือกันว่าหากผู้ใดฟังเทศน์
มหาชาติครบ ๑๓ กัณฑ์ หนึ่งพันพระคาถาจบภายในหนึ่งวันแล้ว จะได้ผลานิสงส์มาก และนิยมกันว่าเป็นสิริ
มงคล แม้น�้ำที่ตั้งไว้ในมณฑลพิธีก็ถือกันว่าเป็นน�้ำมนต์ อาจจะบ�ำบัดเสนียดจัญไรได้ จึงเกิดประเพณีประชุมฟัง
เทศน์มหาชาติทุกๆ ปีเทศน์มหาชาติมีประโยชน์นานัปการ ได้แก่ ท�ำให้เป็นผู้รู้จักสามัคคี มีความเป็นน�้ำหนึ่งใจ
เดียวกันอันที่จะประกอบกุศลกิจร่วมกัน ท�ำให้เป็นผู้รู้จักเสียสละ คือเสียสละทั้งก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลัง
ทรัพย์ ลดความตระหนี่ถี่เหนียวแน่นในอุปนิสัยอันเป็นธรรมชาติของบุคคลเสียได้ ท�ำให้เป็นผู้มีสติปัญญาซึ่งจะ
เกิดจากการฟังสิ่งที่ประเสริฐและดีงาม เป็นการปฏิบัติธรรมตามมงคลอันส�ำคัญในพระไตรปิฎก คือเป็นผู้ฟัง
ธรรมตามกาล เหล่านี้เป็นต้น
	       ดังนัน วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. จึงได้กำหนดจัดงาน “ท�ำบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก” ใน
             ้                                   �
วันเสาร์-อาทิตย์ที่ ๑๐-๑๑ มีนาคม ๒๕๕๕ เพือสมทบทุนสร้างอาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี โดยในวันเสาร์ที่ ๑๐
                                                   ่
มีนาคม เชิญร่วมพิธอญเชิญพระอุปคุตแห่พระเวสสันดรเข้าเมือง และชมการแสดงประกอบโดยคณะครู นักเรียน
                       ีั
และคณะศิษย์วดไทยฯ ดี.ซี. เริมเวลา ๑๕.๐๐ น. เป็นต้นไป ส่วนวันอาทิตย์ที่ ๑๑ มีนาคม เชิญพุทธศาสนิกชนทุก
                ั                   ่
ท่านร่วมฟังเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ์ โดยพระมหาวชิระ ญาณปฺปทีโป วัดพุทธนานาชาติ ออสติน
เท็กซัส และ พระมหาอภินนท์ นิพทฺธสนฺโต วัดพุทธาวาส ฮิวส์ตน เท็กซัส ซึงเป็นพระนักเทศน์เสียงดี
                                  ั                                     ั            ่
มีสำนวนโวหาร ช�ำนาญกลอน และสอนธรรมอันล�ำค่า เริมเวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป ติดต่อสอบถามราย
    �                                                   ้    ่
ละเอียดเพิมเติมได้ทวดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. โทร. 301-871-8660-1
           ่           ี่ ั
	       ต้นเดือนหน้า อย่าลืม! ขอเชิญชวนมวลญาติมตรทุกท่านร่วมงาน “วันสงกรานต์ หรือ ปีใหม่ไทย” ในวัน
                                                      ิ
อาทิตย์ที่ ๑๕ เมษายน ศกนี้ ร่วมสร้างกุศลโดยการปิดทองหลวงพ่อด�ำ สรงน�้ำพระ ท�ำบุญตักบาตร ฟังพระธรรม
เทศนา ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทย ดนตรีไทย และจับจ่ายซืออาหารไทย สินค้าไทย ทีวดไทยฯ ดี.ซี. เหมือนเช่นเคย
                                                          ้                       ่ั
	       ขอฝากบทกลอนสอนธรรม “คนมีศีลสิ้นวุ่นวาย” ที่พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)
ประพันธ์ไว้ว่า	
			                         รักษากายวาจาอย่าประมาท		            พุทโธวาทสอนไว้ในหมวดศีล				
			                         ให้ช�ำระกายวาจาที่ราคิน		           ด้วยองค์ศีลให้สะอาดปราชญ์นิยม			
			                         คนมีศีลสิ้นวุ่นวายหายเดือดร้อน	 จะหลับนอนก็เป็นสุขทุกข์ห่างเหิน		
			                         ท�ำอะไรจิตใจใฝ่เพลิดเพลิน		         สุขเจริญเป็นนิรันดร์ไม่ผันแปร
                                              คณะผู้จัดทำ�
แสงธรรม 1   Saeng Dhamma




                The Buddha’s Words
                         พุทธสุภาษิต
	         อนฺธภูโต อยํ โลโก	           ตนุเกตฺถ วิปสฺสติ
	         สกุนฺโต ชาลมุตฺโต ว	         อปฺโป สคฺคาย คจฺฉติ. (๑๗๔)
	   โลกนี้ มืดมน น้อยคนจักเห็นแจ้ง น้อยคน จะไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย
	   นายพราน น้อยตัวจะหลุดรอดไปได้

	   Blind is this world, few are they who clearly see; as the birds
	   escaping from a net few are they who go to Heaven.
แสงธรรม 2       Saeng Dhamma




      Translated by Santikaro Bhikkhu                      by Buddhadasa Bhikkhu
     ...Continued from last issue...                      http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm


	N          ow that you’ve ordained, to get what
            the Buddha got, you must live close to
how the Buddha lived. He lived and maintained life
                                                         know, and you want to know that, too. This is why
                                                         we make this effort. We shouldn’t be tricked into
                                                         believing that the Buddha taught only “householder
in such a way that we turn back to the “forest wat       virtue” (gharavasa-dhamma) for the lay folk.
wild monks” life-style. If we don’t live this way, we    	 If he only taught ordinary household matters,
couldn’t get, experience, or sample the Buddha’s life.   he would have served no purpose, since anybody
	 The monks in the Buddha’s time, the Bud-               could and was teaching those things well enough
dha himself, and whichever founder of whatever           already. Although the Buddha sometimes taught
religion, all got started in a life intimate with Na-    about householder subjects, it was solely the sort
ture. All of them awakened in forests surrounded         of Dhamma fit for lay folk who were looking for
by Nature. Whether the Buddha, Jesus Christ, or the      Nibbana. The lay folk already were being taught
prophet of any religion, they lived close to nature.     well enough. For the Buddha to help teach these
To awaken as a Perfectly Self-Awakened Buddha;           matters, he would teach the type of lay person
or to become One with God, to communicate with           who is ready to discover Dhamma, to reach Nib-
God, according to the religions that have a God;         bana. This brings us back to our subject.
that moment is living as a comrade of nature. So         	 There’s merely a small amount which the
try to remember the words: how good it is to be          Buddha taught lay folk for the sake of being lay
nature’s comrade.”                                       folk. But what he taught with the fullest satisfaction
	 This means that you have accepted, have be-            of his heart was the matter of suññata (voidness).
lieved, and have seen that the Lord Buddha is a real     Some householders asked him for the Dhamma
Buddha (Awakened Being), the highest sort of per-        most beneficial for the household life and he came
son, who knows the best thing that humans ought to       back with voidness. He told them to have voidness,
แสงธรรม 3      Saeng Dhamma
namely, a heart void of “I” and “mine.” Then they          or “flukishly” -- cool. That lay folk can have cool
could do anything in the form of a householder,            hearts naturally in line with Dhamma principles is,
thus becoming householders who are ready to be             of course, possible. It isn’t beyond or against their
Arahant, or more than half ready to proceed along          nature, but it seldom happens. It can happen with
the Arahant’s line.                                        good surroundings, with good genes, or with a nerv-
	 Thus, that we live like “forest wat wild monks”          ous system that nature coincidentally built to be like
to understand voidness well is in the same line. It        that. But don’t cross your fingers and wait, because
follows the trail of householders who should study         it’s rare. Let’s just say most of us are born ordinary.
voidness. You can read in all the books about void-        	 What can we do to become special individu-
ness that they’ve printed how the Buddha taught            als, that is, unable to suffer? No matter what hap-
voidness to lay folk.                                      pens, we can’t suffer and can’t get hot. Whether
	 Now, I’m afraid that those who will return to            rich or poor, we are unable to get hot or anxious.
lay life, or already are householders, have not yet        Who can insure that the wealthy will always be
found voidness at all. Because the customs and tra-        wealthy or that the poor will always be poor?
ditions have changed, there’s no Buddha to teach           Things change constantly. Especially this modern
voidness to lay folk. Nor are any of the monks in the      world, it changes so easily, so fast, so suddenly. Re-
cities likely to teach voidness to householders. Then,     garding the progress of humanity which is quickly,
how are lay folk going to understand voidness?             violently destroying the world with War and what
	 I insist that by trying to live like “forest wat wild    have you, both changing up and changing down,
monks” for a little while, you’ll understand voidness.     don’t be the least hot or anxious about it.
Although you don’t call it voidness, although you          	 Should war erupt and wipe out life on earth,
don’t feel you’re practicing voidness, you still will      such people don’t give it any meaning. They can still
get the results of practicing voidness: a heart which is   laugh because they’ve reached Dhamma. They’ve
void and cool, which is clean, clear, and calm.            attained the sort of Dhamma that makes further
	 Do your work with a heart that doesn’t suffer.           suffering impossible. They have no more problems
Receive the fruits of labor without making it a prob-      here. Impoverished for necessary reasons, they don’t
lem, not dancing with joy or going crazy over the          suffer. Not anxious or miserable, they get out of pov-
benefits received. You can work more, until how-           erty before you know it. If one has Dhamma, there’s
ever wealthy you want, but with a different heart,         no suffering. If one lacks sufficient Dhamma, there’s
that is, a cool and peaceful one. It’s a heart that        nothing but suffering and anguish. Rich and misera-
always wins, nothing can make it anxious. Nowa-            ble, poor and miserable: they’re hot no matter what.
days, people can work, earn money, find status,            So take the side which is neither hot nor miserable
and gain fame, but they’re always losing. They’re          while you’ve got the chance.
always hot, always made and kept hot. What’s               	 This is why I ask you to hurry up and study-
good about that? Before long, they’ll have some            practice, hurry to try it out, hurry to find the point
nervous breakdown or drop dead.                            where suffering can’t exist, the point which can’t
	 Very few people are naturally -- “accidentally”          get hot. Discover as much as you can, so that your
แสงธรรม 4       Saeng Dhamma
life in the future can’t get hot, or is hot as little as   tend that you don’t, you’re shameless, lacking in
possible, or once hot can be dropped quickly.              hiri (emotional rtepugnance regarding evil) and ot-
	 They call this “The Noble One” (ariya), but              tappa (intelligent apprehension regarding the con-
I don’t want to talk about that. Before you know           sequences of evil). To get hotter with age, to get
it, all kinds of distracting thoughts will come up.        more angry, to get worse in any way, is to lack hiri-
To be incapable of hotness is to be a Noble One,           ottappa. You must know spiritual shame and fear.
according to the particular level or state: Stream-        The most frightening thing is to be a human who is
Enterer (Sotapanna), Once-Returner (Sakadagami),           hot, just a fool, a lost person who is full of defilement
Non-Returner (Anagami), or Worthy One (Arahant).           and selfishness. You can’t call that a human being.
Ultimately, the mind can’t get hot at all. It gets hot     Better call it a “fool.”
less and less until it’s unheatable and nowhere hot.       	 So for the time that remains, test yourself
The Noble One’s feelings are thoroughly cooled.            as if taking exams. Is it hot or not? Even a small
That’s the meaning of the highest level of “Ara-           slip into hotness should make you quite sorry and
hant,” the level of anupadisesa-nibbana-dhatu (the         ashamed. You ought to penalize yourself appro-
Nibbana element with no fuel and heat remaining):          priately. You can do it without anybody knowing.
thoroughly cool. The rest are progressively cool;          But please penalize yourselves whenever careless,
even when hot, they aren’t hot like a thickster            when going wrong on this point and becoming hot.
(putthujana, worldly person) is hot. The hotness of        Eventually the mind changes, becomes more care-
thicksters is like being singed by fire or scalded with    ful, and can make progress along the Dhamma way.
boiling water. The first stages of Noble Ones might        	 Hot due to lust or greed is one form. Hot due
feel a bit hot sometimes, but never like the thick-        to anger or hatred is another form. Hot due to de-
sters burn. Nevertheless, I don’t want to use these        lusion or ignorance is a third form. You’ve learned
words very much, or get you stuck on or attached           these names before, I shouldn’t have to explain
to using them. So let’s just say “human beings.”           anymore. As soon as mindfulness is missing, igno-
Just people, just us, all the same. Yet, we can be         rance takes over. It lusts and covets, it gets hot with
less hot and more cool, until we can’t get hot in or-      the emotions of avarice and lust. In “negative” situ-
dinary situations, and until we can’t get hot in even      ations, it gets angry and hateful. It becomes hot
the worst situations.                                      with anger, with aversion, with malice. Then, in
	 There are loads of the Buddha’s words record-            some cases we don’t know anything: don’t know
ed in the Pali which encourage us to think and train       the original cause, don’t know what’s up, don’t
so that we need not get hot. I don’t have to quote         know even what we want. We’re full of doubts
the Pali any more, you can believe me that they are        about what we ought to want. There’s no certainty
there. If the scriptures aren’t like that, what good       about how our life is, what should come of it, how
would they be? They teach us to be cool.                   it should be lived. This not knowing is delusion. It
	 If you get hot through carelessness, be very             too is hot.
sorry. If you haven’t felt these things, you’re heed-      	 So if you want to test yourselves, it won’t be
less, the same as dead. If you feel them but pre-          difficult. The time remaining is enough to do some
แสงธรรม 5       Saeng Dhamma
self-examination. Speak little, keep to yourself, and       in many places. That they must memorize and re-
constantly observe the heart. Call it “constantly           cite the Buddha’s words, afraid of getting just one
guarding the heart.” It’s automatic mental devel-           word wrong, that’s merely a custom, a tradition of
opment, or meditation. When always watching                 people who don’t really know, or still don’t really
over the heart, that’s vipassana, that’s meditation.        know, still don’t understand Dhamma.
If you find it’s hot, then know it’s hot, that it’s still   	 So we hurry to know Dhamma. That itself will
low, wrong, and must be cured. And you better               be in line with what the Buddha realized. We can
have some regret. At the same time, know how it is          speak out according to what we know; it will be
hot and what caused the hotness.                            identical with what the Buddha said. It might look
	 In the end, you will find the truth exactly as            like one’s a Buddha oneself, so they forbid anyone
the Buddha taught. Before, we didn’t know it, we            to do such a thing, afraid that one is raising oneself
just heard about it. Now we know that thing truly.          up equal to the Buddha or is disparaging the Bud-
We understand Dhamma from ourselves, without                dha. This here is an obstacle preventing us from
needing to know the Buddha. And if they force us            progressing along the Buddha’s path.
to speak, we automatically will speak the same as           	 OK, so we study Dhamma from within, by liv-
the Buddha regarding the nature of greed, hatred,           ing in the midst of Nature which reveals and dem-
and delusion.                                               onstrates the Dhamma all the time. Uphold a form
	 This very thing is the Buddha’s supreme aim,              of life which doesn’t sound very good at all: live
yet the big monks never talk about it. They usu-            like a forest wat wild monk. It doesn’t sound right,
ally threaten us not to raise ourselves up as equals        but it is most meaningful, most real, and most nec-
to the Buddha, not to insult the Buddha. In this            essary to live in this way up until you must disrobe.
matter, if you want to understand something, I can          You may change back to the householder’s way
tell you straight that the Buddha wanted people             of life, but this should stick with you: knowledge,
to reach the Dhamma without needing to believe              understanding, and certainty about the Dhamma
their teacher, and then are able to explain that            which makes us incapable of hotness. Take it with
Dhamma without needing to repeat their teacher’s            you. By bathing yourself in coolness until under-
words. Did you listen right? Listen again: know the         standing coolness, you can’t do wrong or get hot.
Dhamma without believing the Buddha. Because                You’ll probably get cooler and cooler because
we know personally, then we know the same thing             it’s something naturally attractive: the absence of
as the Buddha. Then, if we must speak for the               dukkha (suffering). Please don’t forget this short
sake of others, we needn’t repeat after the Bud-            phrase: “forest wat wild monks” is the way of liv-
dha, needn’t quote Pali, needn’t recite the texts.          ing for the person who wants to reach the Buddha
Just speak according to experience. Then it will be         quickly.
identical to what the Buddha said. Then, people
needn’t repeat after the Buddha, they can speak                                   THE END
their own hearts. This state of affairs is what the
Buddha himself wanted. You can find it in the Pali,
แสงธรรม 6      Saeng Dhamma



                                         Opening the Dhamma Eye
                                           A Taste of Freedom
                                        A Dhammatalk By Ajahn Chah
                                      http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html

     ...Continued from last issue...                   the nature of the fruit. And this Dhamma, the
Opening the Dhamma Eye                                 teaching of the fruit. Following on, the leaves

	S         ome of us start to practice, and even
           after a year or two, still don’t know
what’s what. We are still unsure of the practice.
                                                       grow old. They wither, die and then fall from the
                                                       tree. All we see is that the leaves have fallen
                                                       down. We step on them, we sweep them up,
When we’re still unsure, we don’t see that eve-        that’s all. We don’t investigate thoroughly, so we
rything around us is purely Dhamma, and so we          don’t know that nature is teaching us. Later on
turn to teachings from the Ajahns. But actually,       the new leaves sprout, and we merely see that,
when we know our own mind, when there is sati          without taking it further. We don’t bring these
to look closely at the mind, there is wisdom. All      things into our minds to contemplate.
times and all places become occasions for us to        	 If we can bring all this inwards and investi-
hear the Dhamma.                                       gate it, we will see that the birth of a tree and
	 We can learn Dhamma from nature, from                our own birth are no different. This body of ours
trees for example. A tree is born due to causes        is born and exists dependent on conditions, on
and it grows following the course of nature. Right     the elements of earth, water, wind and fire. It
here the tree is teaching us Dhamma, but we            has its food, it grows and grows. Every part of the
don’t understand this. In due course, it grows         body changes and flows according to its nature.
until it buds, flowers and fruit appear. All we see    It’s no different from the tree; hair, nails, teeth
is the appearance of the flowers and fruit; we’re      and skin — all change. If we know the things of
unable to bring this within and contemplate it.        nature, then we will know ourselves.
Thus we don’t know that the tree is teaching us        	 People are born. In the end they die. Hav-
Dhamma. The fruit appears and we merely eat            ing died they are born again. Nails, teeth and skin
it without investigating: sweet, sour or salty, it’s   are constantly dying and re-growing. If we under-
แสงธรรม 7     Saeng Dhamma
stand the practice then we can see that a tree is    established. It knows the external. It knows the
no different from ourselves. If we understand the    internal. It understands all things which arise. Un-
teaching of the Ajahns, then we realize that the     derstanding like this, then sitting at the foot of a
outside and the inside are comparable. Things        tree we hear the Buddha’s teaching. Standing,
which have consciousness and those without           walking, sitting or lying, we hear the Buddha’s
consciousness do not differ. They are the same.      teaching. Seeing, hearing, smelling, tasting, touch-
And if we understand this sameness, then when        ing and thinking, we hear the Buddha’s teaching.
we see the nature of a tree, for example, we         The Buddha is just this ‘One who knows’ within
will know that it’s no different from our own five   this very mind. It knows the Dhamma, it inves-
khandhas [12] — body, feeling, memory, thinking      tigates the Dhamma. It’s not that the Buddha-
and consciousness. If we have this understanding     nature, the ‘one who knows’, arises. The mind
then we understand Dhamma. If we understand          becomes illumined.
Dhamma we understand the five khandhas, how          	 If we establish the Buddha within our mind
they constantly shift and change, never stopping.    then we see everything, we contemplate eve-
	 So whether standing, walking, sitting or ly-       rything, as no different from ourselves. We see
ing we should have sati to watch over and look       various animals, trees, mountains and vines as
after the mind. When we see external things it’s     no different from ourselves. We see poor people
like seeing internals. When we see internals it’s    and rich people — they’re no different! They all
the same as seeing externals. If we understand       have the same characteristics. One who under-
this then we can hear the teaching of the Bud-       stands like this is content wherever he is. He lis-
dha. If we understand this, then we can say that     tens to the Buddha’s teaching at all times. If we
Buddha-nature, the ‘One who knows’, has been         don’t understand this, then even if we spend all




 สุขสันต์วันเกิด...คุณแสงทอง ท�ำบุญถวายเพลพร้อมคณะ   คุณยายสุจิตร-คุณย่าฉวีวรรณ ท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้สามี
แสงธรรม 8       Saeng Dhamma
our time listening to teachings from the various         and death as a natural result.
Ajahns, we still won’t understand their meaning.         	 This feeling was different from anything
The Buddha said that enlightenment of the                he’d ever known before. He truly realized his
Dhamma is just knowing Nature, [13] the reality          mind, and so “Buddha” arose within him. At that
which is all around us, the Nature which is right        time the Buddha declared that Añña Kondañña
here! If we don’t understand this Nature we ex-          had received the Eye of Dhamma.
perience disappointment and joy, we get lost in          	 What is it that this Eye of Dhamma sees?
moods, giving rise to sorrow and regret. Getting         This Eye sees that whatever is born has aging
lost in mental objects is getting lost in Nature.        and death as a natural result. “Whatever is
When we get lost in Nature then we don’t know            born” means everything! Whether material or
Dhamma. The Enlightened One merely pointed               immaterial, it all comes under this “whatever is
out this Nature.                                         born.” It refers to all of Nature. Like this body
	 Having arisen, all things change and die.              for instance — it’s born and then proceeds to
Things we make, such as plates, bowls and dishes,        extinction. When it’s small it “dies” from small-
all have the same characteristic. A bowl is molded       ness to youth. After a while it “dies” from youth
into being due to a cause, man’s impulse to cre-         and becomes middle-aged. Then it goes on to
ate, and as we use it, it gets old, breaks up and dis-   “die” from middle-age and reach old-age, finally
appears. Trees, mountains and vines are the same,        reaching the end. Trees, mountains and vines all
right up to animals and people.                          have this characteristic.
	 When Añña Kondañña, the first disciple,                	 So the vision or understanding of the ‘One
heard the Buddha’s teaching for the first time,          who knows’ clearly entered the mind of Añña
the realization he had was nothing very compli-          Kondañña as he sat there. This knowledge of
cated. He simply saw that whatever thing is born,        “whatever is born” became deeply embedded
that thing must change and grow old as a natu-           in his mind, enabling him to uproot attachment
ral condition and eventually it must die. Añña           to the body. This attachment was sakkayaditthi.
Kondañña had never thought of this before, or if         This means that he didn’t take the body to be a
he had it wasn’t thoroughly clear, so he hadn’t          self or a being, or in terms of “he” or “me.” He
yet let go, he still clung to the khandhas. As           didn’t cling to it. He saw it clearly, thus uprooting
he sat mindfully listening to the Buddha’s dis-          sakkayaditthi.
course, Buddha-nature arose in him. He received          	 And the vicikiccha (doubt) was destroyed.
a sort of Dhamma “transmission,” which was the           Having uprooted attachment to the body he
knowledge that all conditioned things are imper-         didn’t doubt his realization. Silabbata paramasa
manent. Any thing which is born must have aging          [14] was also uprooted. His practice became firm
แสงธรรม 9     Saeng Dhamma
and straight. Even if his body was in pain or fever    er to make this body. It’s an aspect of Nature, a
he didn’t grasp it, he didn’t doubt. He didn’t         material object we can see with the eye. It exists
doubt, because he had uprooted clinging. This          depending on food, growing and changing until
grasping of the body is called silabbata parama-       finally it reaches extinction.
sa. When one uproots the view of the body be-          	 Coming inwards, that which watches over
ing the self, grasping and doubt are finished with.    the body is consciousness — just this ‘One
If just this view of the body as the self arises       who knows’, this single awareness. If it receives
within the mind then grasping and doubt begin          through the ear it’s called hearing; through the
right there.                                           nose it’s called smelling; through the tongue,
	 So as the Buddha expounded the Dhamma,               tasting; through the body, touching; and through
Añña Kondañña opened the Eye of Dhamma. This           the mind, thinking. This consciousness is just
Eye is just the “One who knows clearly.” It sees       one but when it functions at different places
things differently. It sees this very nature. Seeing   we call it different things. Through the eye we
Nature clearly, clinging is uprooted and the ‘One      call it one thing, through the ear we call it an-
who knows’ is born. Previously he knew but he          other. But whether it functions at the eye, ear,
still had clinging. You could say that he knew the     nose, tongue, body or mind it’s just one aware-
Dhamma but he still hadn’t seen it, or he had          ness. Following the scriptures we call it the six
seen the Dhamma but still wasn’t one with it.          consciousness, but in reality there is only one
	 At this time the Buddha said, “Kondañña              consciousness arising at these six different bases.
knows.” What did he know? He just knew Nature!         There are six “doors” but a single awareness,
Usually we get lost in Nature, as with this body       which is this very mind.
of ours. Earth, water, fire and wind come togeth-                      To be continued




  ร้าน THAI FARM ท�ำบุญร้านประจ�ำปี ๑๒ ก.พ. ๒๕๕๕       ขออนุโมทนาสาธุ...ชมรมรวมน�้ำใจ ท�ำบุญถวายเพลทุกเดือน
แสงธรรม 10    Saeng Dhamma



                                A No-Problem Person
                                             By Du Wayne Engelhart




  	T     he venerable Anuruddha said, “...
         I maintain bodily acts of loving-
kindness towards these venerable ones
                                                   themselves for the well-being of others with-
                                                   out taking too seriously whatever it is that we
                                                   happen to be doing for ourselves. It means
both openly and privately; I maintain ver-         showing loving-kindness toward all human
bal acts of loving-kindness... ; I maintain        beings without preferring some over others.
mental acts of loving kindness... I consid-        	 There are very few real problems in
er: ‘Why should I not set aside what I wish        life. (Actually, there are no problems at all
to do and do what these venerable ones             if we live as disciples of the Buddha beyond
wish to do?’ ... We are different in body ...      all preferences with loving acceptance of
but one in mind.”                                  the world.) Most of the problems we make
	 –Majjhima Nikāya iii 156, Bhikkhus Ñānamoli      for ourselves and most of the arguments we
and Bodhi translation (also in Bhikkhu Ñānamoli,   find ourselves involved in are concerned with
The Life of the Buddha, p.114-15).                 small things that do not matter very much.
	 “No self, no problem”—saying of a Sri            Does it make any sense, for example, to ar-
Lankan monk, in Insight Meditation, Sharon Salz-   gue with a husband or wife about who takes
berg and Joseph Goldstein, p. 112.                 out the trash? Will it matter much next year
                                                   who actually did take it out?
     Being a no-problem person means not           	 Being a no-problem person does not
making problems in life where there really         mean letting people take advantage of us,
are none. It means saying, “No problem,”           letting people walk all over us. If a wife, for
when someone asks us, within reason, to            instance, asks her husband to go to the gro-
help with something or to do something. It         cery store, he should probably go for her. He
means taking care of whatever tasks present        should not think that whatever he is doing
แสงธรรม 11   Saeng Dhamma
at the time is more important than what she          alize what he did and, most likely, he had no
needs: really, all tasks, those for ourselves and    intention of causing any harm. Maybe he was
those for others, are of equal importance in         just trying to take care of some task as well
Buddhism insofar as nothing is clung to. They        as he could. Why would she want to make a
are all just little jobs to be done. However,        problem for him and for herself by criticizing
if the wife asks her husband three times the         him when he is innocent?
same morning to go to the store and he have                A good way to keep ourselves focused
already gone twice, it is probably time to dis-      on being no-problem persons is to meditate
cuss with her in a loving way the wisdom of          on our deaths. This does not have to mean
cutting down on trips to the store (gasoline         thinking about a dead, rotting body. It could
is expensive, for one thing). Here, as always,       mean thinking about our own funeral cere-
wisdom—together with concentration and               mony. On the day of our funeral, if we could
mindfulness—ought to rule our lives.                 look on, what would be our attitude toward
     If the point of our practice is to get rid of   our loved ones? Would we be likely to make
suffering, and problems bring suffering, why         problems about things that do not really mat-
would we want to create them needlessly?             ter? Would we not, rather, see the important
The aim of our lives should be to live with          things in life for what they are and set aside
loving acceptance of the world. Living with          all the little differences? Would not loving-
loving acceptance, however, does not mean            kindness toward loved ones and toward all
just sitting back and doing nothing. It does         human beings prevail and all the differences
mean not taking ourselves and our efforts            disappear?
too seriously. It means putting forth our best       	 It is most interesting to note that both
effort, accepting defeat if that happens, and        Anuruddha, the monk who before all others
then trying again. It means understanding            was master of the divine eye, and Sāriputta,
that we cannot solve the problems of the             the chief monk of the Buddha always ap-
world by ourselves.                                  pearing on the Blessed One’s right, were ac-
	 We should always keep in mind, too,                customed to taking out the trash! Such
that people we meet in life are usually in-          actions were never problems for these two
nocent. This means that people, doing what-          monks. Why are things like this so often
ever they are doing, generally have good in-         problems for us?
tentions and are not purposely trying to harm
                                                                       THE END
us. So, for example, if a husband gets his wife
upset about something, he may not even re-
แสงธรรม 12       Saeng Dhamma
บทความพิเศษ : เรียบเรียงโดย.. อตฺตทีปภิกฺขุ
            บุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ
                                                            ภิ ก ษุ ส งฆ์ ขี ณ าสพสองหมื่ น รู ป และพระประยู ร ญาติ ที่
                                                            นิโครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์ ในคราวเสด็จ
                                                            โปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา              และพระญาติวงศ์
                                                            ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทำ�ความ
                                                            เคารพพระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า
                                                            	 พระองค์ ท รงทราบความคิ ด นี้ จึ ง ทรงแสดงยมก
                                                            ปาฏิหาริย์ โดยเสด็จขึ้นเบื้องนภาอากาศแล้วปล่อยให้
                                                            ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของ พระประยูรญาติ
                                                            ทั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทิ้งทิฐิแล้วถวายบังคม
                                                            พระพุทธเจ้า ขณะนั้นได้เกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุ
                                                            ทั้งหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึง
                                                            ตรัสว่าฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดง
                                                            ธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติให้แก่
                                                            พระภิกษุและพระประยูรญาติ
                                                            	 มหาเวสสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสำ�คัญ
                                                            มากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระบารมีของพระโพธิสัตว์ได้
	 มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้          บำ�เพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้ มหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐
เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้าย             บารมี คือ
ก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและ         	 ๑. ทานบารมี ทรงบริจาคทรัพย์สิน ช้าง ม้า
คุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏใน         ราชรถ พระกุมารทั้งสองและพระมเหสี
หลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการ              	 ๒. ศีลบารมี ทรงรักษาศีลอย่างเคร่งครัดระหว่าง
แต่งและสวดมหาชาติคำ�หลวงในวันธรรมสวนะ ส่วนการ               ทรงผนวชอยู่ ณ เขาวงกต
เทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สำ�คัญในทุกท้องถิ่นและมี          	 ๓. เนกขัมมบารมี ทรงครองเพศบรรพชิตตลอด
ความเชื่อกันว่า การฟังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียว           เวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต
จะได้รับอานิสงส์มาก                                         	 ๔. ปัญญาบารมี ทรงบำ�เพ็ญภาวนามัยปัญญา
มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ                               ตลอดเวลาที่ทรงผนวช
	 คัมภีร์ธรรมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดร            	 ๕. วิริยบารมี ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน
ชาดกเป็ น พุ ท ธดำ�รั ส ที่ ส มเด็ จ พระบรมศาสดาตรั ส แก่   	 ๖. สัจจบารมี ทรงลั่นพระวาจายกกุมารให้ชูชก
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma
เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้                        พระทัยอันแน่วแน่ของพระองค์
	 ๗. ขันติบารมี ทรงอดทนต่อความยากลำ�บาก                  เนื้อเรื่อง
ต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขาวงกต และตลอดเวลาที่          	 หลั ง จากสมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงแสดง
ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชก          ยมกปาฏิหาริย์ ทำ�ให้พระประยูรญาติละทิฐิยอมถวาย
เฆียนตีพระกุมารอย่างทารุณพระองค์กทรงข่มพระทัยไว้ได้
   ่                             ็                       บังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายจึงได้
                                                         ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสเล่าว่า ฝนชนิด
                                                         นี้เคยตกมาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่อง
                                                         มหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติ ทั้ง ๑๐ กัณฑ์
                                                         ตามลำ�ดับ ดังนี้
                                                         	 กัณฑ์ที่ ๑ ทศพร พระอินทร์ประสาทพรแก่
                                                         พระนางผุสดี ก่อนที่จะจุติลงมาเป็นพระราชมารดาของ
                                                         พระเวสสันดร แต่ปางก่อนนั้นผุสดีเทวีเสวยชาติเป็น
                                                         อัครมเหสีของพระอินทร์ เมื่อจะสิ้นพระชนมายุจึงขอพร
                                                         จากพระอินทร์ ๑๐ ประการ ดังนี้
                                                         	 ๑. ขอให้เกิดในกรุงมัททราช แคว้นสีพี
                                                         	 ๒. ขอให้มีดวงเนตรคมงามดั่งตาลูกเนื้อทราย
                                                         	 ๓. ขอให้คิ้วงอนดั่งสร้อยคอนกยูง
                                                         	 ๔. ขอให้ได้นาม “ผุสดี”
                                                         	 ๕. ขอให้มีพระโอรสเกริกเกียรติที่สุดในชมพูทวีป
                                                         	 ๖. ขอให้มีพระครรภ์งาม ไม่ป่องนูนดั่งสตรีสามัญ
                                                         	 ๗. ขอให้พระถันเเต่งตั้งดังดอกบัวตูม
                                                         	 ๘. ขอให้เส้นพระเกศาดำ�ไม่หงอกตลอดชาติ
                                                         	 ๙. ขอให้ผิวพรรณละเอียดบริสุทธิ์ดุจทองคำ�
	 ๘. เมตตาบารมี เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์             	 ๑๐. ขอให้มีอำ�นาจปลดปล่อยนักโทษที่ต้องอาญา
มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจากเมืองกลิงคราษฎร์ฝน         	 กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ พระนางผุสดีจุติลงมาเป็น
แล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมา              ราชธิดาของพระเจ้ามัททราช และได้อภิเษกสมรสกับ
ทูลขอสองกุมาร อ้างว่าตนได้รับความลำ�บากต่าง ๆ            พระเจ้ากรุงสญชัยแห่งแคว้นสีพี ต่อมาได้ประสูติพระ
พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย                            โอรสนามว่า “เวสสันดร” ในวันที่ประสูตินั้นได้มีนาง
	 ๙. อุเบกขาบารมี เมือทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยน
                          ่                              ช้างฉัททันต์ตกลูกเป็นช้างเผือกขาวบริสุทธิ์ จึงได้นำ�มา
ตี วิงวอนให้พระองค์ช่วยเหลือ ทรงบำ�เพ็ญอุเบกขา คือ       ไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมีให้นามว่า “ปัจจัยนาค” เมื่อ
ทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาด          พระเวสสันดรเจริญชนม์ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาก็
แก่ชูชกไปแล้ว                                            ยกราชสมบั ติ ใ ห้ ค รอบครองและทรงอภิ เ ษกสมรสกั บ
	 ๑๐. อธิษฐานบารมี คือทรงตั้งมั่นที่จะบำ�เพ็ญ            พระนางมัทรี มีพระโอรสชื่อ ชาลี พระธิดาชื่อกัณหา
บารมีเพื่อให้สำ�เร็จโพธิญาณเบื้องหน้า ก็มิได้ทรงย่อท้อ   พระองค์ได้สร้างโรงทาน บริจาคทานแก่ผู้เข็ญใจ ต่อมา
จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะ           พระเจ้ากาลิงคะแห่งนครกลิงคราษฎร์ ได้ส่งพราหมณ์
แสงธรรม 14         Saeng Dhamma
มาขอพระราชทานช้างปัจจัยนาคเพื่อให้ฝนตกในบ้าน                        จนอจุตฤาษี ยอมให้ที่พักหนึ่งคืนและบอกเส้นทางไปยัง
เมืองที่แห้งแล้งกันดาร       พระองค์จึงพระราชทานช้าง                อาศรมพระเวสสันดร พร้อมพรรณนาหมู่สัตว์และพรรณ
ปัจจัยนาคให้แก่พระเจ้ากาลิงคะ                  ชาวกรุงสญชัยไม่      นาแมกไม้ตามเส้นทางให้ชูชกฟัง
พอใจที่พระราชทานช้างคู่บ้านคู่เมืองไป จึงเนรเทศพระ                  	 กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรง
เวสสันดรออกนอกพระนคร                                                พระราชทานสองกุมารแก่เฒ่าชูชก          พระนางมัทรีฝัน
	 กัณฑ์ท่ี ๓ ทานกัณฑ์ พระเวสสันดรทรงมหาสัตต                         ร้ายเหมือนบอกเหตุแห่งการพลัดพราก รุ่งเช้าเมื่อพระ
สดกทาน คือการแจกทานครังยิงใหญ่กอนทีพระเวสสันดร
                              ้ ่           ่ ่                     นางมัทรีเข้าป่าหาอาหารแล้ว ชูชกจึงเข้าเฝ้าทูลขอสอง
พร้อมด้วยพระนางมัทรี ชาลีและกัณหา ออกจากพระนคร                      กุมาร สองกุมารลงไปซ่อนตัวอยู่ในสระ พระเวสสันดร
จึงทูลขอพระราชทานโอกาสบำ�เพ็ญมหาสัตตสดกทาน                          จึงเสด็จติดตามหาสองกุมารแล้วนำ�มอบให้แก่ชูชก
คือ การให้ทานครังยิงใหญ่ อันได้แก่ ช้าง ม้า รถ โคนม
                     ้ ่                                            	 กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี พระนางมัทรีเดินเข้าไปหาผลไม้
นารี ทาสี ทาสา อย่างละ ๗๐๐                                          ในป่าลึกจนคล้อยเย็นจึงเดินทางกลับอาศรม แต่มีเทวดา
	 กัณฑ์ที่ ๔ วนประเวศน์ เป็นกัณฑ์ที่สี่กษัตริย์                     แปลงกายเป็นเสือนอนขวางทางจนค่ำ�          เมื่อกลับถึง
เดินทางสู่เขาคีรีวงกต เมื่อเดินทางถึงนครเจตราช ทั้งสี่              อาศรมไม่พบโอรสธิดา และพระเวสสันดรได้กล่าวว่านาง
กษัตริย์จึงแวะเข้าประทับหน้าศาลาพระนคร กษัตริย์ผู้                  นอกใจ พระนางมัทรีจึงออกเที่ยวหาโอรสธิดาและกลับ
ครองนครเจตราชจึงทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดร                    มาสินสติตอเบืองพระพักตร์ เมือพระนางมัทรีฟน พระ
                                                                         ้        ่ ้              ่              ้ื
ทรงปฏิเสธ กษัตริยเ์ จตราชจึงมอบหมายให้พรานเจตบุตร                   เวสสันดรจึงบอกความจริงว่าได้ประทานโอรสธิดาแก่ชูชก
ผู้ มี ค วามเชี่ ย วชาญชำ�นาญป่ า เป็ น ผู้ รั ก ษาประตู ป่ า ไม้   ไปแล้ว หากชีวิตไม่สิ้นคงจะได้พบกัน พระนางมัทรีจึงได้
ป้องภัยแด่พระเวสสันดร                                               ทรงอนุโมทนาในปิยบุตตทานนั้น
	 กัณฑ์ที่ ๕ ชูชก ในแคว้นกาลิงคะมีพราหมณ์                           	 กัณฑ์ที่ ๑๐ สักกบรรพ พระอินทร์เกรงว่าพระ
แก่ช่ือชูชกพำ�นักในบ้านทุนวิฏฐะเที่ยวขอทานตามเมือง                  เวสสันดรจะประทานพระนางมัทรีให้แก่ผู้ที่มาขอ จึง
ต่าง ๆ เมื่อได้เงินถึง ๑๐๐ กหาปณะ จึงนำ�ไปฝากไว้กับ                 แปลงเป็นพราหมณ์เพื่อมาทูลขอพระนางมัทรี           พระ
เพื่อนพราหมณ์แล้วออกเดินทางขอทานต่อไป เมื่อเห็น                     เวสสันดรจึงประทานให้ พระนางมัทรีก็ยินดีอนุโมทนา
ว่าชูชกหายไปนานจึงได้นำ�เงินไปใช้เป็นการส่วนตัว เมือชูชก ่          เพื่อร่วมทานบารมีให้สำ�เร็จพระสัมโพธิญาณ เป็นเหตุให้
เดินทางมาทวงเงินคืน ไม่มีเงินใช้คืน จึงยกนางอมิตดา                  เกิดแผ่นดินไหว พระอินทร์ในร่างพราหมณ์จึงฝากพระ
ลูกสาวให้แก่ชูชก นางอมิตดาเมื่อมาอยู่ร่วมกับชูชกได้ทำ�              นางมัทรีไว้ยังไม่รับไป แล้วตรัสบอกความจริงและถวาย
หน้าที่ของภรรยาที่ดี ทำ�ให้ชายในหมู่บ้านเปรียบเทียบ                 คืนพร้อมถวายพร ๘ ประการแก่พระเวสสันดร
กับภรรยาของตน หญิงในหมู่บ้านจึงเกลียดชังและรุม                      	 กัณฑ์ท่ี ๑๑ มหาราช ชูชกพาสองกุมารรอนแรมฝ่า
ทำ�ร้ายทุบตีนางอมิตดา ชูชกจึงเดินทางไปทูลขอกัณหา                    ป่าเขาลำ�เนาไพร ตังใจจะเดินทางไปกรุงกาลิงคะ แต่เดิน
                                                                                         ้
ชาลีเพื่อมาเป็นทาสรับใช้                                            หลงทางมุงหน้าไปจนถึงกรุงสีพี พระเจ้ากรุงสีพี เสด็จไป
                                                                                ่
	 กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน พรานเจตบุตรหลงกลชูชก ที่                         ยังหน้าลานหลวงตอนรุงเช้า ทอดพระเนตรเห็นชูชกและ
                                                                                           ่
ได้ชูกลักพริกขิงให้พรานดู อ้างว่าเป็นพระราชสาสน์ของ                 กุมารทังสองพระองค์ ทรงทราบความจริงจึงพระราชทาน
                                                                              ้
พระเจ้ากรุงสญชัยจะนำ�ไปถวายพระเวสสันดร พราน                         ค่าไถ่คน ต่อมาชูชกก็ถงแก่ความตายเพราะกินอาหารมาก
                                                                            ื                ึ
เจตบุตรจึงต้อนรับและเลี้ยงดูชูชกเป็นอย่างดีและได้พา                 เกินไปไม่อาจย่อยได้ พระชาลีจงได้ทลขอให้ไปรับพระบิดา
                                                                                                 ึ ู
ไปยังต้นทางที่จะไปอาศรมฤาษี                                         พระมารดานิวตกลับคืนพระนคร ในขณะเดียวกัน เจ้านคร
                                                                                    ัิ
	 กั ณ ฑ์ ท ี ่ ๗ มหาพน ชูชกใช้คารมหลอกล่อ                          กลิงคราษฎร์กได้คนช้างปัจจัยนาคแก่นครสีพี
                                                                                    ็ ื
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma
	 กัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์ พระเจ้ากรุงสญชัยใช้เวลา              ปรารถนาทุกประการ ครั้นตายไปแล้วจะได้ไปบังเกิดใน
๑ เดือน กับ ๒๓ วัน เดินทางไปถึงเขาวงกต เสียงโห่ร้อง          สุคติโลกสวรรค์ เสวยสมบัติอันโอฬาร มีบริวารแวดล้อม
ของทหารทั้ง ๔ เหล่า ทำ�ให้พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็น           บำ�รุงบำ�เรออยู่เป็นนิจ ครั้นจุติจากสวรรค์แล้วจะลงมา
ข้าศึกมาโจมตีนครสีพี จึงชวนพระนางมัทรีขึ้นไปแอบ              เกิดในตระกูลขัตติยะมหาศาล หรือตระกูลพราหมณ์
ดูที่ยอดเขา พระนางมัทรีทรงมองเห็นกองทัพพระราช                มหาศาลอันบริบูรณ์ด้วยทรัพย์ศฤงคาร บริวารมากมาย
บิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดร และเมื่อทั้งหกกษัตริย์ได้       นานาประการ เช่น โค กระบือ ช้าง ม้า รถ ยานพาหนะ
พบกันก็ทรงกรรแสงสุดประมาณ รวมทั้งทหารเหล่าทัพ                นับประมาณมิได้
ทำ�ให้ป่าใหญ่สนั่นครั่นครืน พระอินทร์จึงได้ทรงบันดาล         	 ๓. ทานกัณฑ์ มี ๒๐๙ พระคาถา
ให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมาประพรมกษัตริย์ให้หายเศร้า                	 อานิสงส์ : ผูใดบูชาทานกัณฑ์ จะบริบรณ์ดวยแก้ว
                                                                                   ้                       ู ้
โศกและฟื้นจากสลบ                                             แหวนเงินทอง ทาส ทาสี และสัตว์สองเท้าสีเ่ ท้า ครันตายแล้ว
                                                                                                             ้
	 กัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์ พระเจ้ากรุงสญชัยตรัส                  จะได้ไปเกิดในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสรแวดล้อม
สารภาพผิด พระเวสสันดรจึงทรงลาผนวชพร้อมทั้งพระ                มากมาย เสวยสุขอยูในปราสาทแล้วด้วยแก้ว ๗ ประการ
                                                                                 ่
นางมัทรี และเสด็จกลับสู่นครสีพี เมื่อเสด็จถึงจึงรับสั่งให้
ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขัง ครั้นยามราตรีพระเวสสันดร
ทรงปริวิตกว่า รุ่งเช้าประชาชนจะแตกตื่นมารับบริจาค
ทาน พระองค์จะประทานสิ่งใดให้แก่ประชาชน ท้าว
สักกะได้ทรงทราบ จึงบันดาลให้มีฝนแก้ว ๗ ประการ
ตกลงมาในนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง พระเวสสันดรจึงทรง
ประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนา
	 ในกาลต่ อ มาพระเวสสั น ดรเถลิ ง ราชสมบั ติ
ปกครองนครสีพีโดยทศพิธราชธรรม บ้านเมืองร่มเย็น
เป็นสุขตลอดพระชนมายุ
	 นอกจากอานิสงส์โดยรวมในการฟังเทศน์มหาชาติ
ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ แล้ว ในแต่ละกัณฑ์ยังมีอานิสงส์แยกย่อย
ออกไปอีก ซึ่งในแต่ละกัณฑ์ก็มีอานิสงส์แตกต่างกันไป
เรียกว่าแล้วแต่ใครอยากจะได้อานิสงส์ของกัณฑ์ไหนก็
บูชากัณฑ์นั้นไป ดังนี้
	 ๑. กัณฑ์ทศพร มี ๑๙ พระคาถา
	 อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์ทศพร จะได้รบทรัพย์
                       ้                          ั
สมบัตดงปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีเป็นทีชอบเนือ
        ิั                                      ่       ้
เจริญใจ ถ้าเป็นบุรษจะได้ภรรยาเป็นทีตองประสงค์ ทังจะ
                  ุ                  ่้             ้        	 ๔. กัณฑ์วนปเวศน์ มี ๕๗ พระคาถา
ได้บตรหญิงชาย เป็นคนว่านอนสอนง่าย มีรปกายงดงาม มี
      ุ                                  ู                   	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์วนปเวศน์ จะได้รับความ
ความประพฤติดี กิรยาวาจาเรียบร้อยทุกประการ
                    ิ                                        สุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า จะได้เป็นบรมกษัตริย์ในชมพู
	 ๒. กัณฑ์หิมพานต์ มี ๑๓๔ พระคาถา                            ทวีปเป็นผู้ทรงปรีชาเฉลียวฉลาด สามารถปราบอริราช
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์หิมพานต์ จะได้้ในสิ่งที่          ศัตรูให้ย่อยยับไป
แสงธรรม 16       Saeng Dhamma
	 ๕. กัณฑ์ชูชก มี ๗๙ พระคาถา                                  	 ๑๑. กัณฑ์มหาราช มี ๖๙ พระคาถา
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์ชูชก จะได้บังเกิดใน                	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์มหาราช จะได้มนุษย
ตระกูลกษัตริย์ ประกอบด้วยสมบัติอันงดงามกว่าชนทั้ง             สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ เมื่อเกิดเป็น
หลายจะเจรจาปราศรัยก็ไพเราะเสนาะโสต แม้จะได้สามี               มนุษย์จะได้เป็นพระราชา เมื่อจากโลกมนุษย์ไปก็จะได้
ภรรยาและบุตรธิดา ก็ล้วนแต่มีรูปทรงงดงามสอนง่าย                ไปเสวยทิพย์สมบัติในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสร
	 ๖. กัณฑ์จุลพน มี ๓๕ พระคาถา                                 เป็นบริวาร ครั้นบารมีแก่กล้าก็จะได้นิพพานสมบัติอันตัด
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์จุลพน แม้จะบังเกิดในภพ             เสียซึ่งวัฏสงสารเสียได้
ใด ๆ จะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์บริวาร จะมีอุทยานอัน           	 ๑๒. กัณฑ์ฉกษัตริย์ มี ๓๖ พระคาถา
ดารดาษด้วยดอกไม้หอมตลบไป แล้วจะมีสระโบกขรณี                   	 อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์ฉกษัตริย์ จะได้เป็นผูเ้ จริญ
                                                                                  ้
อันเต็มไปด้วยปทุมชาติ ครั้นตายไปแล้วก็ได้เสวยทิพย์            ด้วยพร ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละทุก ๆ ชาติ
สมบัติในโลกหน้าสืบไป                                          	 ๑๓. นครกัณฑ์ มี ๔๘ พระคาถา
	 ๗. กัณฑ์มหาพน มี ๘๐ พระคาถา                                 	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชานครกัณฑ์ จะได้เป็นผู้บริบูรณ์
	 อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์มหาพน จะได้เสวยสมบัติ
                         ้                                    ด้วยวงศาคณาญาติ ข้าทาสชายหญิง ภรรยาสามี หรือ
ในดาวดึงส์เทวโลก และจะได้ลงมาเกิดเป็นกษัตริยมหาศาล ์          บิดามารดาเป็นต้น        อยู่พร้อมหน้ากันโดยความผาสุก
มีทรัพย์ศฤงคารบริวารมาก มีอทยานและสระโบกขรณีเป็น
                                  ุ                           ปราศจากโรคาพาธทั้งปวง จะทำ�การใด ๆ ก็พร้อมเพรียง
ทีประพาส เป็นผูบริบรณ์ดวยศักดานุภาพเฟืองฟุงไปทัว
  ่                     ้ ู ้                    ่ ้ ่        กัน ยังการงานนั้น ๆ ให้สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี
ชมพูทวีป อีกจักได้เสวยอาหารทิพย์เป็นนิจนิรนดร  ั              อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ
	 ๘. กัณฑ์กุมาร มี ๑๐๑ พระคาถา                                	 การตั้งใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบ
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์กุมาร ย่อมประสบ                    บริบูรณ์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ๑,๐๐๐ พระคาถา จะเป็นเหตุให้
ความสำ�เร็จในสิ่งที่พึงปรารถนา ครั้นตายไปจะได้เกิด            สำ�เร็จความปรารถนาทุกประการ ดังนี้
ในฉกามาพจรสวรรค์ ในสมัยที่พระศรีอาริยเมตไตรย                  	 ๑. เมื่อตายจากโลกนี้แล้ว จะมีโอกาสได้พบพระ
มาอุบัติก็จะได้ถือปฏิสนธิในตระกูลกษัตริย์ ตลอดจน              พุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมตไตรย์ ในอนาคต
ได้ ส ดั บ ตรั บ ฟั ง พระสั ท ธรรมเทศนาของพระองค์ แ ล้ ว      	 ๒. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวย
บรรลุพระอรหัตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา ด้วยบุญราศี                ทิพยสมบัติมโหฬาร
ที่ได้อบรมไว้                                                 	 ๓. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก
	 ๙. กัณฑ์มัทรี มี ๙๐ พระคาถา                                 	 ๔. เมือถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตรย์
                                                                          ่
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์มัทรี เกิดในชาติหน้าจะ             จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์
เป็นผู้มั่งคั่ง สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ เป็นผู้มีอายุยืนยาว   	 ๕. ได้ฟงธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์
                                                                             ั
ทั้งประกอบด้วยรูปโฉมงดงามกว่าคนทั้งหลาย จะไปในที่             จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระอริยบุคคล ในบวรพุทธ
ใด ๆ ก็จะมีแต่ความสุขทุกแห่งหน                                ศาสนา
	 ๑๐. กัณฑ์สักกบรรพ มี ๔๓ พระคาถา
	 อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์สักกบรรพ จะได้เป็นผู้
เจริญด้วยลาภ ยศ ตลอดจนจตุรพิธพรทั้ง ๔ ประการ
ได้แก่ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดกาล
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma

           ประกาศอนุโมทนาพิเศษ
         ผู้มีศรัทธาจองเป็นเจ้าภาพบูชากัณฑ์เทศน์มหาชาติ
     วันอาทิตย์ที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ // เวลา ๐๙.๐๐ น.
เจ้าภาพจองบูชากัณฑ์เทศน์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ๑,๐๐๐ พระคาถา
	 � คุณสุกานดา – คุณชัยรัตน์ – คุณมนชยา – คุณสราวัลย์ เจตบุตร
	 � คุณยายยุพิน เลาหพันธ์ และครอบครัว

กัณฑ์ที่ ๑ ทศพร : คุณแม่อย บัวไหล, คุณผ่องศรี (น�ำอ้อย)-คุณน�ำหวาน สมประสิทธิ,์ คุณแป๋ว เดชา คุณพิณทอง เกาฏีระ และครอบครัว
                         ุ้                      ้           ้
กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ : กลุ่มพลังบุญ โดย คุณปราณี เทพทาราคุณ และคณะ	
กัณฑ์ที่ ๓ ทานกัณฑ์ : คณะพยาบาลบัลติมอร์	
กัณฑ์ที่ ๔ วนประเวศน์ : คุณแม่ซู่เฮียง รุสิตานนท์ และลูกหลาน 	
กัณฑ์ที่ ๕ ชูชก : คณะถวายเช้าวันจันทร์-วันพฤหัสบดี-วันศุกร์, ครอบครัวปาระจิตร,ร้านเรือนไทย และเพือน ๆ       ่
กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน : คุณพยุง-คุณจินตนา งามสอาด, คุณนก-คุณหลี-คุณจี๊ด-คุณหน่อย-คุณทรวง-คุณตาล-คุณแมน	
กัณฑ์ที่ ๗ มหาพน : สมาคมไทยอีสานแห่งกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. และกลุ่มพลังศรัทธา	
กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร : คุณกัญญา-คุณกุลชาติ สว่างโรจน์, คุณบรรจง พวงใหญ่ และคณะ 	
กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี : My Thai Restaurant โดย คุณชวลิต-คุณพรทิพย์-คุณกนกพร ใช้ญาณ และเพือน ๆ, คุณณรงค์-คุณรัตนา โชติกเวชกุล
                                                                                          ่
กัณฑ์ที่ ๑๐ สักกบรรพ : กลุ่มแม่บ้านยุคใหม่ และคณะผู้ปกครองนักเรียนวัดไทยฯ ดี.ซี.
กัณฑ์ที่ ๑๑ มหาราช : คุณสมร-ทิพสร-ด.ช.ธนพัฒน์(ฌอนฌอน) นามสวัสดิ,์ คุณสุบน-นฤนาท-ด.ญ.ธามณี (ปุมปุย) ผลไพบูลย์,
                                                                                    ิ                      ้ ้
			                    คุณอนุรกษ์-คุณไมเคิล-ด.ช.อีตน-ด.ช.อลิเวอร์ ชีลเลอร์	
                               ั                       ั้
กัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์ : คุณยายสุจิตร-คุณย่าฉวีวรรณ-คุณศิวิไล-คุณสุวรรณี-คุณจูมศรี-แก้วตา-แสงทอง-ร�ำไพ-สุพรรณี-
			                    เกษร-ปรารถนา-มะลินดา-บุษบา-คุณทอง-บุญเลิง-อาทิตย์-ทอง-เชน-เดช-จอย-ป้าบุญเสริม งามสอาด
กัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์ : คณะผู้ปกครอง “09” โดย คุณพรรณี เกษมพันธัย, คุณศิริพร เกรซเซอร์, คุณสุนิภา เกาฏีระ,
			                      คุณดลวรรณ เหวียน, คุณอังคณา อู่ฑิฆัมพร, คุณจินดา อมรกิจวานิช และคณะ	

	 ขอเชิญเจ้าภาพแต่ละกัณฑ์รวมฟังเทศน์ และพร้อมกันถวายต้นกัณฑ์เทศน์หลังจากเทศน์จบในแต่ละกัณฑ์ ส�ำหรับท่าน
                             ่
ทีตองการร่วมเป็นเจ้าภาพบูชากัณฑ์เทศน์ททานปรารถนา แต่ไม่สามารถเดินทางมาร่วมงานบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติได้ ก็
  ่้                                   ี่ ่
สามารถแจ้งความประสงค์บริจาคได้ทวดไทยฯ ดี.ซี. จะได้ประกาศอนุโมทนาบุญร่วมกันในแสงธรรมฉบับหน้า
                                  ี่ ั
	 ขออ�ำนวยอวยพรให้ท่านและครอบครัวมีสติปัญญาดีเหมือนพระสารีบุตร มีจิตใจบริสุทธิ์เหมือนพระเวสสันดร มีรูป
ร่างอรชรเหมือนพระนางมัทรี มีความสุขสวัสดีตลอดกาลเป็นนิจเทอญ.
แสงธรรม 18   Saeng Dhamma

       ขอเชิญชมรายการพระธรรมน�ำชีวิต
                              ทางสถานีวิทยุ-โทรทัศน์ภาคอินเตอร์เน็ตวัดไทยฯ ดี.ซี.
                                         WWW.JUSTIN.TV/ROOM134
                                          WWW.THAITEMPLE.ORG
                                        WWW.JUSTIN.TV/BUDDHAFAITH

                                       วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
                                       Wat Thai Washington, D.C.
                                13440 Layhill Road, Silver Spring, MD 20906
                                   Tel (301) 871-8660, (301) 871-8661.
                                          www.watthaidc.org //
                                    E-mail: watthaidc@hotmail.com




        ขอเชิญร่วมงานบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ
          เพื่อสมทบทุนสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี”
   ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. รัฐแมรี่แลนด์ สหรัฐอเมริกา
                      11 มี.ค. 2555
                      เวลา 09.00 น.
     พระมหาวชิระ ญาณปฺปทีโป                           พระมหาอภินันท์ นิพทฺธสนฺโต
วัดพุทธนานาชาติ ออสติน รัฐเท็กซัส                   วัดพุทธาวาส ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส
**พระนักเทศน์เสียงดี มีส�ำนวนโวหาร ช�ำนาญกลอน สอนธรรมอันล�้ำค่า**
 พิเศษสุด! มีการถ่ายทอดสดที่ WWW.JUSTIN.TV/ROOM134
 ตั้งแต่เวลา 09.00 น. ของวันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma




  Meditation Workshop และปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน ๒๕ ก.พ. ๒๕๕๕ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.




 พระมหาถนัด อตฺถจารี Ph.D. บรรยายหลักพุทธศาสนาเบื้องต้นแก่นักเรียน Blake High School ๒๔ ก.พ. ๕๕




คณะครูน�ำนักเรียนจาก Side well High School มาศึกษาพุทธศาสนา และวัฒนธรรมไทย ๒๓ ก.พ. ๕๕
แสงธรรม 20      Saeng Dhamma
   The United Nations World Interfaith Harmony Week 2012 at The Washingtion Times Magazine Building.
                     Speech by ‘Ven. Thanat Inthisan Ph.D., February 16, 2012




Ven. Thanat, Ven. Pradoochai and Matteaw Regan from Wat Thai of Washington, D.C., join The United Nations World
             Interfaith Harmony Week at The Washington Times Magazine Building, February 16, 2012
แสงธรรม 21 Saeng Dhamma

 Twenty-Five US Embassy members who are going to work in Thailand visit the temple.




Welcome by Ms. Sivilai Samang                  “I am so happy to be here”




Temple’s History by Ven. Ananphiwat         Monk’s life by Ven. Ananphiwat




     Dhamma Talk by Ven. Pradoochai                Group Photo with Happy Faces
แสงธรรม 22   Saeng Dhamma
                     ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
                                                     ิ




                     Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and
                     members of the general public are cordially invited to Wat
                     Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the
                     Buddha relics on display in the chanting hall.


   ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมีนาคม
 ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 17 มีนาคม 2555 / 9.00 A.M.
** ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ธ รรมตามแนวพระไตรปิ ฎ ก **
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012

Contenu connexe

Tendances

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

Tendances (17)

Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Similaire à Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012

Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Watpadhammaratana Pittsburgh
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 

Similaire à Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012 (17)

Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 
Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7 Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C.

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"Wat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C. (8)

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C. Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
 
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDCLoykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
 

Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012

  • 1.
  • 2. สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา ปีที่ 37 ฉบับที่ 443 ประจ�ำเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 Vol.37 No.443 March, 2012 Objectives : �To promote Buddhist activities. สารบัญ �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. Contents �To provide a public relations center for The Buddha’s Words............................................. 1 Buddhists living in the United States. Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 2 เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. Opening the Dhamma Eye By Ven. Ajanh Chah.. 6 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี A No-Problem Person by Du Wayne .................... 10 กองบรรณาธิการ : บทความพิเศษ : “บุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ” ........................ 12 ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี อนุโมทนาพิเศษเจ้าภาพกัณฑ์เทศน์มหาชาติ.......................... 17 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์........................... 22 พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23 พระมหาสราวุธ สราวุโธ ประมวลภาพกิจกรรมเดือนกุมภาพันธ์.................... 29 พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39 พระมหาค�ำตัล พุทฺธงฺกุโร สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43 พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45 SAENG DHAMMA Magazine รายนามผูบริจาคเดือนกุมภาพันธ์ Ven.Pradoochai 50 ้ is published monthly by รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53 Wat Thai Washington, D.C. Temple รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch............................ 54 At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 ก�ำหนดการวันสงกรานต์ ..................................................... 62 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 Fax : 301-871-5007 E-mail : watthaidc@hotmail.com Photos taken by Homepage : www.watthaidc.org Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Radio Network : www.watthai.iirt.net Mr. Kevin & Mr. Sam 2,500 Copies Bank & Ms. Golf
  • 3. ถ้อยแถลง แสงธรรมฉบับนี้ เป็นฉบับ “เทศน์มหาชาติ” ประเพณีการเทศน์มหาชาติ หรือมหาเวสสันดรชาดกมี มาแต่โบราณกาล เหตุที่นับถือกันว่าเรื่องมหาเวสสันดรชาดกส�ำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่นๆ ก็เพราะบารมีทั้งสิบ อย่างของพระโพธิสัตว์จะปรากฏบริบูรณ์ในชาตินี้ จึงเรียกกันว่า “มหาชาติ” และถือกันว่าหากผู้ใดฟังเทศน์ มหาชาติครบ ๑๓ กัณฑ์ หนึ่งพันพระคาถาจบภายในหนึ่งวันแล้ว จะได้ผลานิสงส์มาก และนิยมกันว่าเป็นสิริ มงคล แม้น�้ำที่ตั้งไว้ในมณฑลพิธีก็ถือกันว่าเป็นน�้ำมนต์ อาจจะบ�ำบัดเสนียดจัญไรได้ จึงเกิดประเพณีประชุมฟัง เทศน์มหาชาติทุกๆ ปีเทศน์มหาชาติมีประโยชน์นานัปการ ได้แก่ ท�ำให้เป็นผู้รู้จักสามัคคี มีความเป็นน�้ำหนึ่งใจ เดียวกันอันที่จะประกอบกุศลกิจร่วมกัน ท�ำให้เป็นผู้รู้จักเสียสละ คือเสียสละทั้งก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลัง ทรัพย์ ลดความตระหนี่ถี่เหนียวแน่นในอุปนิสัยอันเป็นธรรมชาติของบุคคลเสียได้ ท�ำให้เป็นผู้มีสติปัญญาซึ่งจะ เกิดจากการฟังสิ่งที่ประเสริฐและดีงาม เป็นการปฏิบัติธรรมตามมงคลอันส�ำคัญในพระไตรปิฎก คือเป็นผู้ฟัง ธรรมตามกาล เหล่านี้เป็นต้น ดังนัน วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. จึงได้กำหนดจัดงาน “ท�ำบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก” ใน ้ � วันเสาร์-อาทิตย์ที่ ๑๐-๑๑ มีนาคม ๒๕๕๕ เพือสมทบทุนสร้างอาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี โดยในวันเสาร์ที่ ๑๐ ่ มีนาคม เชิญร่วมพิธอญเชิญพระอุปคุตแห่พระเวสสันดรเข้าเมือง และชมการแสดงประกอบโดยคณะครู นักเรียน ีั และคณะศิษย์วดไทยฯ ดี.ซี. เริมเวลา ๑๕.๐๐ น. เป็นต้นไป ส่วนวันอาทิตย์ที่ ๑๑ มีนาคม เชิญพุทธศาสนิกชนทุก ั ่ ท่านร่วมฟังเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ์ โดยพระมหาวชิระ ญาณปฺปทีโป วัดพุทธนานาชาติ ออสติน เท็กซัส และ พระมหาอภินนท์ นิพทฺธสนฺโต วัดพุทธาวาส ฮิวส์ตน เท็กซัส ซึงเป็นพระนักเทศน์เสียงดี ั ั ่ มีสำนวนโวหาร ช�ำนาญกลอน และสอนธรรมอันล�ำค่า เริมเวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป ติดต่อสอบถามราย � ้ ่ ละเอียดเพิมเติมได้ทวดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. โทร. 301-871-8660-1 ่ ี่ ั ต้นเดือนหน้า อย่าลืม! ขอเชิญชวนมวลญาติมตรทุกท่านร่วมงาน “วันสงกรานต์ หรือ ปีใหม่ไทย” ในวัน ิ อาทิตย์ที่ ๑๕ เมษายน ศกนี้ ร่วมสร้างกุศลโดยการปิดทองหลวงพ่อด�ำ สรงน�้ำพระ ท�ำบุญตักบาตร ฟังพระธรรม เทศนา ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทย ดนตรีไทย และจับจ่ายซืออาหารไทย สินค้าไทย ทีวดไทยฯ ดี.ซี. เหมือนเช่นเคย ้ ่ั ขอฝากบทกลอนสอนธรรม “คนมีศีลสิ้นวุ่นวาย” ที่พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ประพันธ์ไว้ว่า รักษากายวาจาอย่าประมาท พุทโธวาทสอนไว้ในหมวดศีล ให้ช�ำระกายวาจาที่ราคิน ด้วยองค์ศีลให้สะอาดปราชญ์นิยม คนมีศีลสิ้นวุ่นวายหายเดือดร้อน จะหลับนอนก็เป็นสุขทุกข์ห่างเหิน ท�ำอะไรจิตใจใฝ่เพลิดเพลิน สุขเจริญเป็นนิรันดร์ไม่ผันแปร คณะผู้จัดทำ�
  • 4. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต อนฺธภูโต อยํ โลโก ตนุเกตฺถ วิปสฺสติ สกุนฺโต ชาลมุตฺโต ว อปฺโป สคฺคาย คจฺฉติ. (๑๗๔) โลกนี้ มืดมน น้อยคนจักเห็นแจ้ง น้อยคน จะไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย นายพราน น้อยตัวจะหลุดรอดไปได้ Blind is this world, few are they who clearly see; as the birds escaping from a net few are they who go to Heaven.
  • 5. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma Translated by Santikaro Bhikkhu by Buddhadasa Bhikkhu ...Continued from last issue... http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm N ow that you’ve ordained, to get what the Buddha got, you must live close to how the Buddha lived. He lived and maintained life know, and you want to know that, too. This is why we make this effort. We shouldn’t be tricked into believing that the Buddha taught only “householder in such a way that we turn back to the “forest wat virtue” (gharavasa-dhamma) for the lay folk. wild monks” life-style. If we don’t live this way, we If he only taught ordinary household matters, couldn’t get, experience, or sample the Buddha’s life. he would have served no purpose, since anybody The monks in the Buddha’s time, the Bud- could and was teaching those things well enough dha himself, and whichever founder of whatever already. Although the Buddha sometimes taught religion, all got started in a life intimate with Na- about householder subjects, it was solely the sort ture. All of them awakened in forests surrounded of Dhamma fit for lay folk who were looking for by Nature. Whether the Buddha, Jesus Christ, or the Nibbana. The lay folk already were being taught prophet of any religion, they lived close to nature. well enough. For the Buddha to help teach these To awaken as a Perfectly Self-Awakened Buddha; matters, he would teach the type of lay person or to become One with God, to communicate with who is ready to discover Dhamma, to reach Nib- God, according to the religions that have a God; bana. This brings us back to our subject. that moment is living as a comrade of nature. So There’s merely a small amount which the try to remember the words: how good it is to be Buddha taught lay folk for the sake of being lay nature’s comrade.” folk. But what he taught with the fullest satisfaction This means that you have accepted, have be- of his heart was the matter of suññata (voidness). lieved, and have seen that the Lord Buddha is a real Some householders asked him for the Dhamma Buddha (Awakened Being), the highest sort of per- most beneficial for the household life and he came son, who knows the best thing that humans ought to back with voidness. He told them to have voidness,
  • 6. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma namely, a heart void of “I” and “mine.” Then they or “flukishly” -- cool. That lay folk can have cool could do anything in the form of a householder, hearts naturally in line with Dhamma principles is, thus becoming householders who are ready to be of course, possible. It isn’t beyond or against their Arahant, or more than half ready to proceed along nature, but it seldom happens. It can happen with the Arahant’s line. good surroundings, with good genes, or with a nerv- Thus, that we live like “forest wat wild monks” ous system that nature coincidentally built to be like to understand voidness well is in the same line. It that. But don’t cross your fingers and wait, because follows the trail of householders who should study it’s rare. Let’s just say most of us are born ordinary. voidness. You can read in all the books about void- What can we do to become special individu- ness that they’ve printed how the Buddha taught als, that is, unable to suffer? No matter what hap- voidness to lay folk. pens, we can’t suffer and can’t get hot. Whether Now, I’m afraid that those who will return to rich or poor, we are unable to get hot or anxious. lay life, or already are householders, have not yet Who can insure that the wealthy will always be found voidness at all. Because the customs and tra- wealthy or that the poor will always be poor? ditions have changed, there’s no Buddha to teach Things change constantly. Especially this modern voidness to lay folk. Nor are any of the monks in the world, it changes so easily, so fast, so suddenly. Re- cities likely to teach voidness to householders. Then, garding the progress of humanity which is quickly, how are lay folk going to understand voidness? violently destroying the world with War and what I insist that by trying to live like “forest wat wild have you, both changing up and changing down, monks” for a little while, you’ll understand voidness. don’t be the least hot or anxious about it. Although you don’t call it voidness, although you Should war erupt and wipe out life on earth, don’t feel you’re practicing voidness, you still will such people don’t give it any meaning. They can still get the results of practicing voidness: a heart which is laugh because they’ve reached Dhamma. They’ve void and cool, which is clean, clear, and calm. attained the sort of Dhamma that makes further Do your work with a heart that doesn’t suffer. suffering impossible. They have no more problems Receive the fruits of labor without making it a prob- here. Impoverished for necessary reasons, they don’t lem, not dancing with joy or going crazy over the suffer. Not anxious or miserable, they get out of pov- benefits received. You can work more, until how- erty before you know it. If one has Dhamma, there’s ever wealthy you want, but with a different heart, no suffering. If one lacks sufficient Dhamma, there’s that is, a cool and peaceful one. It’s a heart that nothing but suffering and anguish. Rich and misera- always wins, nothing can make it anxious. Nowa- ble, poor and miserable: they’re hot no matter what. days, people can work, earn money, find status, So take the side which is neither hot nor miserable and gain fame, but they’re always losing. They’re while you’ve got the chance. always hot, always made and kept hot. What’s This is why I ask you to hurry up and study- good about that? Before long, they’ll have some practice, hurry to try it out, hurry to find the point nervous breakdown or drop dead. where suffering can’t exist, the point which can’t Very few people are naturally -- “accidentally” get hot. Discover as much as you can, so that your
  • 7. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma life in the future can’t get hot, or is hot as little as tend that you don’t, you’re shameless, lacking in possible, or once hot can be dropped quickly. hiri (emotional rtepugnance regarding evil) and ot- They call this “The Noble One” (ariya), but tappa (intelligent apprehension regarding the con- I don’t want to talk about that. Before you know sequences of evil). To get hotter with age, to get it, all kinds of distracting thoughts will come up. more angry, to get worse in any way, is to lack hiri- To be incapable of hotness is to be a Noble One, ottappa. You must know spiritual shame and fear. according to the particular level or state: Stream- The most frightening thing is to be a human who is Enterer (Sotapanna), Once-Returner (Sakadagami), hot, just a fool, a lost person who is full of defilement Non-Returner (Anagami), or Worthy One (Arahant). and selfishness. You can’t call that a human being. Ultimately, the mind can’t get hot at all. It gets hot Better call it a “fool.” less and less until it’s unheatable and nowhere hot. So for the time that remains, test yourself The Noble One’s feelings are thoroughly cooled. as if taking exams. Is it hot or not? Even a small That’s the meaning of the highest level of “Ara- slip into hotness should make you quite sorry and hant,” the level of anupadisesa-nibbana-dhatu (the ashamed. You ought to penalize yourself appro- Nibbana element with no fuel and heat remaining): priately. You can do it without anybody knowing. thoroughly cool. The rest are progressively cool; But please penalize yourselves whenever careless, even when hot, they aren’t hot like a thickster when going wrong on this point and becoming hot. (putthujana, worldly person) is hot. The hotness of Eventually the mind changes, becomes more care- thicksters is like being singed by fire or scalded with ful, and can make progress along the Dhamma way. boiling water. The first stages of Noble Ones might Hot due to lust or greed is one form. Hot due feel a bit hot sometimes, but never like the thick- to anger or hatred is another form. Hot due to de- sters burn. Nevertheless, I don’t want to use these lusion or ignorance is a third form. You’ve learned words very much, or get you stuck on or attached these names before, I shouldn’t have to explain to using them. So let’s just say “human beings.” anymore. As soon as mindfulness is missing, igno- Just people, just us, all the same. Yet, we can be rance takes over. It lusts and covets, it gets hot with less hot and more cool, until we can’t get hot in or- the emotions of avarice and lust. In “negative” situ- dinary situations, and until we can’t get hot in even ations, it gets angry and hateful. It becomes hot the worst situations. with anger, with aversion, with malice. Then, in There are loads of the Buddha’s words record- some cases we don’t know anything: don’t know ed in the Pali which encourage us to think and train the original cause, don’t know what’s up, don’t so that we need not get hot. I don’t have to quote know even what we want. We’re full of doubts the Pali any more, you can believe me that they are about what we ought to want. There’s no certainty there. If the scriptures aren’t like that, what good about how our life is, what should come of it, how would they be? They teach us to be cool. it should be lived. This not knowing is delusion. It If you get hot through carelessness, be very too is hot. sorry. If you haven’t felt these things, you’re heed- So if you want to test yourselves, it won’t be less, the same as dead. If you feel them but pre- difficult. The time remaining is enough to do some
  • 8. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma self-examination. Speak little, keep to yourself, and in many places. That they must memorize and re- constantly observe the heart. Call it “constantly cite the Buddha’s words, afraid of getting just one guarding the heart.” It’s automatic mental devel- word wrong, that’s merely a custom, a tradition of opment, or meditation. When always watching people who don’t really know, or still don’t really over the heart, that’s vipassana, that’s meditation. know, still don’t understand Dhamma. If you find it’s hot, then know it’s hot, that it’s still So we hurry to know Dhamma. That itself will low, wrong, and must be cured. And you better be in line with what the Buddha realized. We can have some regret. At the same time, know how it is speak out according to what we know; it will be hot and what caused the hotness. identical with what the Buddha said. It might look In the end, you will find the truth exactly as like one’s a Buddha oneself, so they forbid anyone the Buddha taught. Before, we didn’t know it, we to do such a thing, afraid that one is raising oneself just heard about it. Now we know that thing truly. up equal to the Buddha or is disparaging the Bud- We understand Dhamma from ourselves, without dha. This here is an obstacle preventing us from needing to know the Buddha. And if they force us progressing along the Buddha’s path. to speak, we automatically will speak the same as OK, so we study Dhamma from within, by liv- the Buddha regarding the nature of greed, hatred, ing in the midst of Nature which reveals and dem- and delusion. onstrates the Dhamma all the time. Uphold a form This very thing is the Buddha’s supreme aim, of life which doesn’t sound very good at all: live yet the big monks never talk about it. They usu- like a forest wat wild monk. It doesn’t sound right, ally threaten us not to raise ourselves up as equals but it is most meaningful, most real, and most nec- to the Buddha, not to insult the Buddha. In this essary to live in this way up until you must disrobe. matter, if you want to understand something, I can You may change back to the householder’s way tell you straight that the Buddha wanted people of life, but this should stick with you: knowledge, to reach the Dhamma without needing to believe understanding, and certainty about the Dhamma their teacher, and then are able to explain that which makes us incapable of hotness. Take it with Dhamma without needing to repeat their teacher’s you. By bathing yourself in coolness until under- words. Did you listen right? Listen again: know the standing coolness, you can’t do wrong or get hot. Dhamma without believing the Buddha. Because You’ll probably get cooler and cooler because we know personally, then we know the same thing it’s something naturally attractive: the absence of as the Buddha. Then, if we must speak for the dukkha (suffering). Please don’t forget this short sake of others, we needn’t repeat after the Bud- phrase: “forest wat wild monks” is the way of liv- dha, needn’t quote Pali, needn’t recite the texts. ing for the person who wants to reach the Buddha Just speak according to experience. Then it will be quickly. identical to what the Buddha said. Then, people needn’t repeat after the Buddha, they can speak THE END their own hearts. This state of affairs is what the Buddha himself wanted. You can find it in the Pali,
  • 9. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma Opening the Dhamma Eye A Taste of Freedom A Dhammatalk By Ajahn Chah http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html ...Continued from last issue... the nature of the fruit. And this Dhamma, the Opening the Dhamma Eye teaching of the fruit. Following on, the leaves S ome of us start to practice, and even after a year or two, still don’t know what’s what. We are still unsure of the practice. grow old. They wither, die and then fall from the tree. All we see is that the leaves have fallen down. We step on them, we sweep them up, When we’re still unsure, we don’t see that eve- that’s all. We don’t investigate thoroughly, so we rything around us is purely Dhamma, and so we don’t know that nature is teaching us. Later on turn to teachings from the Ajahns. But actually, the new leaves sprout, and we merely see that, when we know our own mind, when there is sati without taking it further. We don’t bring these to look closely at the mind, there is wisdom. All things into our minds to contemplate. times and all places become occasions for us to If we can bring all this inwards and investi- hear the Dhamma. gate it, we will see that the birth of a tree and We can learn Dhamma from nature, from our own birth are no different. This body of ours trees for example. A tree is born due to causes is born and exists dependent on conditions, on and it grows following the course of nature. Right the elements of earth, water, wind and fire. It here the tree is teaching us Dhamma, but we has its food, it grows and grows. Every part of the don’t understand this. In due course, it grows body changes and flows according to its nature. until it buds, flowers and fruit appear. All we see It’s no different from the tree; hair, nails, teeth is the appearance of the flowers and fruit; we’re and skin — all change. If we know the things of unable to bring this within and contemplate it. nature, then we will know ourselves. Thus we don’t know that the tree is teaching us People are born. In the end they die. Hav- Dhamma. The fruit appears and we merely eat ing died they are born again. Nails, teeth and skin it without investigating: sweet, sour or salty, it’s are constantly dying and re-growing. If we under-
  • 10. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma stand the practice then we can see that a tree is established. It knows the external. It knows the no different from ourselves. If we understand the internal. It understands all things which arise. Un- teaching of the Ajahns, then we realize that the derstanding like this, then sitting at the foot of a outside and the inside are comparable. Things tree we hear the Buddha’s teaching. Standing, which have consciousness and those without walking, sitting or lying, we hear the Buddha’s consciousness do not differ. They are the same. teaching. Seeing, hearing, smelling, tasting, touch- And if we understand this sameness, then when ing and thinking, we hear the Buddha’s teaching. we see the nature of a tree, for example, we The Buddha is just this ‘One who knows’ within will know that it’s no different from our own five this very mind. It knows the Dhamma, it inves- khandhas [12] — body, feeling, memory, thinking tigates the Dhamma. It’s not that the Buddha- and consciousness. If we have this understanding nature, the ‘one who knows’, arises. The mind then we understand Dhamma. If we understand becomes illumined. Dhamma we understand the five khandhas, how If we establish the Buddha within our mind they constantly shift and change, never stopping. then we see everything, we contemplate eve- So whether standing, walking, sitting or ly- rything, as no different from ourselves. We see ing we should have sati to watch over and look various animals, trees, mountains and vines as after the mind. When we see external things it’s no different from ourselves. We see poor people like seeing internals. When we see internals it’s and rich people — they’re no different! They all the same as seeing externals. If we understand have the same characteristics. One who under- this then we can hear the teaching of the Bud- stands like this is content wherever he is. He lis- dha. If we understand this, then we can say that tens to the Buddha’s teaching at all times. If we Buddha-nature, the ‘One who knows’, has been don’t understand this, then even if we spend all สุขสันต์วันเกิด...คุณแสงทอง ท�ำบุญถวายเพลพร้อมคณะ คุณยายสุจิตร-คุณย่าฉวีวรรณ ท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้สามี
  • 11. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma our time listening to teachings from the various and death as a natural result. Ajahns, we still won’t understand their meaning. This feeling was different from anything The Buddha said that enlightenment of the he’d ever known before. He truly realized his Dhamma is just knowing Nature, [13] the reality mind, and so “Buddha” arose within him. At that which is all around us, the Nature which is right time the Buddha declared that Añña Kondañña here! If we don’t understand this Nature we ex- had received the Eye of Dhamma. perience disappointment and joy, we get lost in What is it that this Eye of Dhamma sees? moods, giving rise to sorrow and regret. Getting This Eye sees that whatever is born has aging lost in mental objects is getting lost in Nature. and death as a natural result. “Whatever is When we get lost in Nature then we don’t know born” means everything! Whether material or Dhamma. The Enlightened One merely pointed immaterial, it all comes under this “whatever is out this Nature. born.” It refers to all of Nature. Like this body Having arisen, all things change and die. for instance — it’s born and then proceeds to Things we make, such as plates, bowls and dishes, extinction. When it’s small it “dies” from small- all have the same characteristic. A bowl is molded ness to youth. After a while it “dies” from youth into being due to a cause, man’s impulse to cre- and becomes middle-aged. Then it goes on to ate, and as we use it, it gets old, breaks up and dis- “die” from middle-age and reach old-age, finally appears. Trees, mountains and vines are the same, reaching the end. Trees, mountains and vines all right up to animals and people. have this characteristic. When Añña Kondañña, the first disciple, So the vision or understanding of the ‘One heard the Buddha’s teaching for the first time, who knows’ clearly entered the mind of Añña the realization he had was nothing very compli- Kondañña as he sat there. This knowledge of cated. He simply saw that whatever thing is born, “whatever is born” became deeply embedded that thing must change and grow old as a natu- in his mind, enabling him to uproot attachment ral condition and eventually it must die. Añña to the body. This attachment was sakkayaditthi. Kondañña had never thought of this before, or if This means that he didn’t take the body to be a he had it wasn’t thoroughly clear, so he hadn’t self or a being, or in terms of “he” or “me.” He yet let go, he still clung to the khandhas. As didn’t cling to it. He saw it clearly, thus uprooting he sat mindfully listening to the Buddha’s dis- sakkayaditthi. course, Buddha-nature arose in him. He received And the vicikiccha (doubt) was destroyed. a sort of Dhamma “transmission,” which was the Having uprooted attachment to the body he knowledge that all conditioned things are imper- didn’t doubt his realization. Silabbata paramasa manent. Any thing which is born must have aging [14] was also uprooted. His practice became firm
  • 12. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma and straight. Even if his body was in pain or fever er to make this body. It’s an aspect of Nature, a he didn’t grasp it, he didn’t doubt. He didn’t material object we can see with the eye. It exists doubt, because he had uprooted clinging. This depending on food, growing and changing until grasping of the body is called silabbata parama- finally it reaches extinction. sa. When one uproots the view of the body be- Coming inwards, that which watches over ing the self, grasping and doubt are finished with. the body is consciousness — just this ‘One If just this view of the body as the self arises who knows’, this single awareness. If it receives within the mind then grasping and doubt begin through the ear it’s called hearing; through the right there. nose it’s called smelling; through the tongue, So as the Buddha expounded the Dhamma, tasting; through the body, touching; and through Añña Kondañña opened the Eye of Dhamma. This the mind, thinking. This consciousness is just Eye is just the “One who knows clearly.” It sees one but when it functions at different places things differently. It sees this very nature. Seeing we call it different things. Through the eye we Nature clearly, clinging is uprooted and the ‘One call it one thing, through the ear we call it an- who knows’ is born. Previously he knew but he other. But whether it functions at the eye, ear, still had clinging. You could say that he knew the nose, tongue, body or mind it’s just one aware- Dhamma but he still hadn’t seen it, or he had ness. Following the scriptures we call it the six seen the Dhamma but still wasn’t one with it. consciousness, but in reality there is only one At this time the Buddha said, “Kondañña consciousness arising at these six different bases. knows.” What did he know? He just knew Nature! There are six “doors” but a single awareness, Usually we get lost in Nature, as with this body which is this very mind. of ours. Earth, water, fire and wind come togeth- To be continued ร้าน THAI FARM ท�ำบุญร้านประจ�ำปี ๑๒ ก.พ. ๒๕๕๕ ขออนุโมทนาสาธุ...ชมรมรวมน�้ำใจ ท�ำบุญถวายเพลทุกเดือน
  • 13. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma A No-Problem Person By Du Wayne Engelhart T he venerable Anuruddha said, “... I maintain bodily acts of loving- kindness towards these venerable ones themselves for the well-being of others with- out taking too seriously whatever it is that we happen to be doing for ourselves. It means both openly and privately; I maintain ver- showing loving-kindness toward all human bal acts of loving-kindness... ; I maintain beings without preferring some over others. mental acts of loving kindness... I consid- There are very few real problems in er: ‘Why should I not set aside what I wish life. (Actually, there are no problems at all to do and do what these venerable ones if we live as disciples of the Buddha beyond wish to do?’ ... We are different in body ... all preferences with loving acceptance of but one in mind.” the world.) Most of the problems we make –Majjhima Nikāya iii 156, Bhikkhus Ñānamoli for ourselves and most of the arguments we and Bodhi translation (also in Bhikkhu Ñānamoli, find ourselves involved in are concerned with The Life of the Buddha, p.114-15). small things that do not matter very much. “No self, no problem”—saying of a Sri Does it make any sense, for example, to ar- Lankan monk, in Insight Meditation, Sharon Salz- gue with a husband or wife about who takes berg and Joseph Goldstein, p. 112. out the trash? Will it matter much next year who actually did take it out? Being a no-problem person means not Being a no-problem person does not making problems in life where there really mean letting people take advantage of us, are none. It means saying, “No problem,” letting people walk all over us. If a wife, for when someone asks us, within reason, to instance, asks her husband to go to the gro- help with something or to do something. It cery store, he should probably go for her. He means taking care of whatever tasks present should not think that whatever he is doing
  • 14. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma at the time is more important than what she alize what he did and, most likely, he had no needs: really, all tasks, those for ourselves and intention of causing any harm. Maybe he was those for others, are of equal importance in just trying to take care of some task as well Buddhism insofar as nothing is clung to. They as he could. Why would she want to make a are all just little jobs to be done. However, problem for him and for herself by criticizing if the wife asks her husband three times the him when he is innocent? same morning to go to the store and he have A good way to keep ourselves focused already gone twice, it is probably time to dis- on being no-problem persons is to meditate cuss with her in a loving way the wisdom of on our deaths. This does not have to mean cutting down on trips to the store (gasoline thinking about a dead, rotting body. It could is expensive, for one thing). Here, as always, mean thinking about our own funeral cere- wisdom—together with concentration and mony. On the day of our funeral, if we could mindfulness—ought to rule our lives. look on, what would be our attitude toward If the point of our practice is to get rid of our loved ones? Would we be likely to make suffering, and problems bring suffering, why problems about things that do not really mat- would we want to create them needlessly? ter? Would we not, rather, see the important The aim of our lives should be to live with things in life for what they are and set aside loving acceptance of the world. Living with all the little differences? Would not loving- loving acceptance, however, does not mean kindness toward loved ones and toward all just sitting back and doing nothing. It does human beings prevail and all the differences mean not taking ourselves and our efforts disappear? too seriously. It means putting forth our best It is most interesting to note that both effort, accepting defeat if that happens, and Anuruddha, the monk who before all others then trying again. It means understanding was master of the divine eye, and Sāriputta, that we cannot solve the problems of the the chief monk of the Buddha always ap- world by ourselves. pearing on the Blessed One’s right, were ac- We should always keep in mind, too, customed to taking out the trash! Such that people we meet in life are usually in- actions were never problems for these two nocent. This means that people, doing what- monks. Why are things like this so often ever they are doing, generally have good in- problems for us? tentions and are not purposely trying to harm THE END us. So, for example, if a husband gets his wife upset about something, he may not even re-
  • 15. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma บทความพิเศษ : เรียบเรียงโดย.. อตฺตทีปภิกฺขุ บุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ ภิ ก ษุ ส งฆ์ ขี ณ าสพสองหมื่ น รู ป และพระประยู ร ญาติ ที่ นิโครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์ ในคราวเสด็จ โปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา และพระญาติวงศ์ ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทำ�ความ เคารพพระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า พระองค์ ท รงทราบความคิ ด นี้ จึ ง ทรงแสดงยมก ปาฏิหาริย์ โดยเสด็จขึ้นเบื้องนภาอากาศแล้วปล่อยให้ ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของ พระประยูรญาติ ทั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทิ้งทิฐิแล้วถวายบังคม พระพุทธเจ้า ขณะนั้นได้เกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุ ทั้งหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึง ตรัสว่าฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดง ธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติให้แก่ พระภิกษุและพระประยูรญาติ มหาเวสสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสำ�คัญ มากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระบารมีของพระโพธิสัตว์ได้ มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้ บำ�เพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้ มหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐ เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้าย บารมี คือ ก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและ ๑. ทานบารมี ทรงบริจาคทรัพย์สิน ช้าง ม้า คุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏใน ราชรถ พระกุมารทั้งสองและพระมเหสี หลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการ ๒. ศีลบารมี ทรงรักษาศีลอย่างเคร่งครัดระหว่าง แต่งและสวดมหาชาติคำ�หลวงในวันธรรมสวนะ ส่วนการ ทรงผนวชอยู่ ณ เขาวงกต เทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สำ�คัญในทุกท้องถิ่นและมี ๓. เนกขัมมบารมี ทรงครองเพศบรรพชิตตลอด ความเชื่อกันว่า การฟังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียว เวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต จะได้รับอานิสงส์มาก ๔. ปัญญาบารมี ทรงบำ�เพ็ญภาวนามัยปัญญา มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ ตลอดเวลาที่ทรงผนวช คัมภีร์ธรรมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดร ๕. วิริยบารมี ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน ชาดกเป็ น พุ ท ธดำ�รั ส ที่ ส มเด็ จ พระบรมศาสดาตรั ส แก่ ๖. สัจจบารมี ทรงลั่นพระวาจายกกุมารให้ชูชก
  • 16. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้ พระทัยอันแน่วแน่ของพระองค์ ๗. ขันติบารมี ทรงอดทนต่อความยากลำ�บาก เนื้อเรื่อง ต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขาวงกต และตลอดเวลาที่ หลั ง จากสมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงแสดง ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชก ยมกปาฏิหาริย์ ทำ�ให้พระประยูรญาติละทิฐิยอมถวาย เฆียนตีพระกุมารอย่างทารุณพระองค์กทรงข่มพระทัยไว้ได้ ่ ็ บังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายจึงได้ ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสเล่าว่า ฝนชนิด นี้เคยตกมาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติ ทั้ง ๑๐ กัณฑ์ ตามลำ�ดับ ดังนี้ กัณฑ์ที่ ๑ ทศพร พระอินทร์ประสาทพรแก่ พระนางผุสดี ก่อนที่จะจุติลงมาเป็นพระราชมารดาของ พระเวสสันดร แต่ปางก่อนนั้นผุสดีเทวีเสวยชาติเป็น อัครมเหสีของพระอินทร์ เมื่อจะสิ้นพระชนมายุจึงขอพร จากพระอินทร์ ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑. ขอให้เกิดในกรุงมัททราช แคว้นสีพี ๒. ขอให้มีดวงเนตรคมงามดั่งตาลูกเนื้อทราย ๓. ขอให้คิ้วงอนดั่งสร้อยคอนกยูง ๔. ขอให้ได้นาม “ผุสดี” ๕. ขอให้มีพระโอรสเกริกเกียรติที่สุดในชมพูทวีป ๖. ขอให้มีพระครรภ์งาม ไม่ป่องนูนดั่งสตรีสามัญ ๗. ขอให้พระถันเเต่งตั้งดังดอกบัวตูม ๘. ขอให้เส้นพระเกศาดำ�ไม่หงอกตลอดชาติ ๙. ขอให้ผิวพรรณละเอียดบริสุทธิ์ดุจทองคำ� ๘. เมตตาบารมี เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ ๑๐. ขอให้มีอำ�นาจปลดปล่อยนักโทษที่ต้องอาญา มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจากเมืองกลิงคราษฎร์ฝน กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ พระนางผุสดีจุติลงมาเป็น แล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมา ราชธิดาของพระเจ้ามัททราช และได้อภิเษกสมรสกับ ทูลขอสองกุมาร อ้างว่าตนได้รับความลำ�บากต่าง ๆ พระเจ้ากรุงสญชัยแห่งแคว้นสีพี ต่อมาได้ประสูติพระ พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย โอรสนามว่า “เวสสันดร” ในวันที่ประสูตินั้นได้มีนาง ๙. อุเบกขาบารมี เมือทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยน ่ ช้างฉัททันต์ตกลูกเป็นช้างเผือกขาวบริสุทธิ์ จึงได้นำ�มา ตี วิงวอนให้พระองค์ช่วยเหลือ ทรงบำ�เพ็ญอุเบกขา คือ ไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมีให้นามว่า “ปัจจัยนาค” เมื่อ ทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาด พระเวสสันดรเจริญชนม์ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาก็ แก่ชูชกไปแล้ว ยกราชสมบั ติ ใ ห้ ค รอบครองและทรงอภิ เ ษกสมรสกั บ ๑๐. อธิษฐานบารมี คือทรงตั้งมั่นที่จะบำ�เพ็ญ พระนางมัทรี มีพระโอรสชื่อ ชาลี พระธิดาชื่อกัณหา บารมีเพื่อให้สำ�เร็จโพธิญาณเบื้องหน้า ก็มิได้ทรงย่อท้อ พระองค์ได้สร้างโรงทาน บริจาคทานแก่ผู้เข็ญใจ ต่อมา จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะ พระเจ้ากาลิงคะแห่งนครกลิงคราษฎร์ ได้ส่งพราหมณ์
  • 17. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma มาขอพระราชทานช้างปัจจัยนาคเพื่อให้ฝนตกในบ้าน จนอจุตฤาษี ยอมให้ที่พักหนึ่งคืนและบอกเส้นทางไปยัง เมืองที่แห้งแล้งกันดาร พระองค์จึงพระราชทานช้าง อาศรมพระเวสสันดร พร้อมพรรณนาหมู่สัตว์และพรรณ ปัจจัยนาคให้แก่พระเจ้ากาลิงคะ ชาวกรุงสญชัยไม่ นาแมกไม้ตามเส้นทางให้ชูชกฟัง พอใจที่พระราชทานช้างคู่บ้านคู่เมืองไป จึงเนรเทศพระ กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรง เวสสันดรออกนอกพระนคร พระราชทานสองกุมารแก่เฒ่าชูชก พระนางมัทรีฝัน กัณฑ์ท่ี ๓ ทานกัณฑ์ พระเวสสันดรทรงมหาสัตต ร้ายเหมือนบอกเหตุแห่งการพลัดพราก รุ่งเช้าเมื่อพระ สดกทาน คือการแจกทานครังยิงใหญ่กอนทีพระเวสสันดร ้ ่ ่ ่ นางมัทรีเข้าป่าหาอาหารแล้ว ชูชกจึงเข้าเฝ้าทูลขอสอง พร้อมด้วยพระนางมัทรี ชาลีและกัณหา ออกจากพระนคร กุมาร สองกุมารลงไปซ่อนตัวอยู่ในสระ พระเวสสันดร จึงทูลขอพระราชทานโอกาสบำ�เพ็ญมหาสัตตสดกทาน จึงเสด็จติดตามหาสองกุมารแล้วนำ�มอบให้แก่ชูชก คือ การให้ทานครังยิงใหญ่ อันได้แก่ ช้าง ม้า รถ โคนม ้ ่ กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี พระนางมัทรีเดินเข้าไปหาผลไม้ นารี ทาสี ทาสา อย่างละ ๗๐๐ ในป่าลึกจนคล้อยเย็นจึงเดินทางกลับอาศรม แต่มีเทวดา กัณฑ์ที่ ๔ วนประเวศน์ เป็นกัณฑ์ที่สี่กษัตริย์ แปลงกายเป็นเสือนอนขวางทางจนค่ำ� เมื่อกลับถึง เดินทางสู่เขาคีรีวงกต เมื่อเดินทางถึงนครเจตราช ทั้งสี่ อาศรมไม่พบโอรสธิดา และพระเวสสันดรได้กล่าวว่านาง กษัตริย์จึงแวะเข้าประทับหน้าศาลาพระนคร กษัตริย์ผู้ นอกใจ พระนางมัทรีจึงออกเที่ยวหาโอรสธิดาและกลับ ครองนครเจตราชจึงทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดร มาสินสติตอเบืองพระพักตร์ เมือพระนางมัทรีฟน พระ ้ ่ ้ ่ ้ื ทรงปฏิเสธ กษัตริยเ์ จตราชจึงมอบหมายให้พรานเจตบุตร เวสสันดรจึงบอกความจริงว่าได้ประทานโอรสธิดาแก่ชูชก ผู้ มี ค วามเชี่ ย วชาญชำ�นาญป่ า เป็ น ผู้ รั ก ษาประตู ป่ า ไม้ ไปแล้ว หากชีวิตไม่สิ้นคงจะได้พบกัน พระนางมัทรีจึงได้ ป้องภัยแด่พระเวสสันดร ทรงอนุโมทนาในปิยบุตตทานนั้น กัณฑ์ที่ ๕ ชูชก ในแคว้นกาลิงคะมีพราหมณ์ กัณฑ์ที่ ๑๐ สักกบรรพ พระอินทร์เกรงว่าพระ แก่ช่ือชูชกพำ�นักในบ้านทุนวิฏฐะเที่ยวขอทานตามเมือง เวสสันดรจะประทานพระนางมัทรีให้แก่ผู้ที่มาขอ จึง ต่าง ๆ เมื่อได้เงินถึง ๑๐๐ กหาปณะ จึงนำ�ไปฝากไว้กับ แปลงเป็นพราหมณ์เพื่อมาทูลขอพระนางมัทรี พระ เพื่อนพราหมณ์แล้วออกเดินทางขอทานต่อไป เมื่อเห็น เวสสันดรจึงประทานให้ พระนางมัทรีก็ยินดีอนุโมทนา ว่าชูชกหายไปนานจึงได้นำ�เงินไปใช้เป็นการส่วนตัว เมือชูชก ่ เพื่อร่วมทานบารมีให้สำ�เร็จพระสัมโพธิญาณ เป็นเหตุให้ เดินทางมาทวงเงินคืน ไม่มีเงินใช้คืน จึงยกนางอมิตดา เกิดแผ่นดินไหว พระอินทร์ในร่างพราหมณ์จึงฝากพระ ลูกสาวให้แก่ชูชก นางอมิตดาเมื่อมาอยู่ร่วมกับชูชกได้ทำ� นางมัทรีไว้ยังไม่รับไป แล้วตรัสบอกความจริงและถวาย หน้าที่ของภรรยาที่ดี ทำ�ให้ชายในหมู่บ้านเปรียบเทียบ คืนพร้อมถวายพร ๘ ประการแก่พระเวสสันดร กับภรรยาของตน หญิงในหมู่บ้านจึงเกลียดชังและรุม กัณฑ์ท่ี ๑๑ มหาราช ชูชกพาสองกุมารรอนแรมฝ่า ทำ�ร้ายทุบตีนางอมิตดา ชูชกจึงเดินทางไปทูลขอกัณหา ป่าเขาลำ�เนาไพร ตังใจจะเดินทางไปกรุงกาลิงคะ แต่เดิน ้ ชาลีเพื่อมาเป็นทาสรับใช้ หลงทางมุงหน้าไปจนถึงกรุงสีพี พระเจ้ากรุงสีพี เสด็จไป ่ กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน พรานเจตบุตรหลงกลชูชก ที่ ยังหน้าลานหลวงตอนรุงเช้า ทอดพระเนตรเห็นชูชกและ ่ ได้ชูกลักพริกขิงให้พรานดู อ้างว่าเป็นพระราชสาสน์ของ กุมารทังสองพระองค์ ทรงทราบความจริงจึงพระราชทาน ้ พระเจ้ากรุงสญชัยจะนำ�ไปถวายพระเวสสันดร พราน ค่าไถ่คน ต่อมาชูชกก็ถงแก่ความตายเพราะกินอาหารมาก ื ึ เจตบุตรจึงต้อนรับและเลี้ยงดูชูชกเป็นอย่างดีและได้พา เกินไปไม่อาจย่อยได้ พระชาลีจงได้ทลขอให้ไปรับพระบิดา ึ ู ไปยังต้นทางที่จะไปอาศรมฤาษี พระมารดานิวตกลับคืนพระนคร ในขณะเดียวกัน เจ้านคร ัิ กั ณ ฑ์ ท ี ่ ๗ มหาพน ชูชกใช้คารมหลอกล่อ กลิงคราษฎร์กได้คนช้างปัจจัยนาคแก่นครสีพี ็ ื
  • 18. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma กัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์ พระเจ้ากรุงสญชัยใช้เวลา ปรารถนาทุกประการ ครั้นตายไปแล้วจะได้ไปบังเกิดใน ๑ เดือน กับ ๒๓ วัน เดินทางไปถึงเขาวงกต เสียงโห่ร้อง สุคติโลกสวรรค์ เสวยสมบัติอันโอฬาร มีบริวารแวดล้อม ของทหารทั้ง ๔ เหล่า ทำ�ให้พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็น บำ�รุงบำ�เรออยู่เป็นนิจ ครั้นจุติจากสวรรค์แล้วจะลงมา ข้าศึกมาโจมตีนครสีพี จึงชวนพระนางมัทรีขึ้นไปแอบ เกิดในตระกูลขัตติยะมหาศาล หรือตระกูลพราหมณ์ ดูที่ยอดเขา พระนางมัทรีทรงมองเห็นกองทัพพระราช มหาศาลอันบริบูรณ์ด้วยทรัพย์ศฤงคาร บริวารมากมาย บิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดร และเมื่อทั้งหกกษัตริย์ได้ นานาประการ เช่น โค กระบือ ช้าง ม้า รถ ยานพาหนะ พบกันก็ทรงกรรแสงสุดประมาณ รวมทั้งทหารเหล่าทัพ นับประมาณมิได้ ทำ�ให้ป่าใหญ่สนั่นครั่นครืน พระอินทร์จึงได้ทรงบันดาล ๓. ทานกัณฑ์ มี ๒๐๙ พระคาถา ให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมาประพรมกษัตริย์ให้หายเศร้า อานิสงส์ : ผูใดบูชาทานกัณฑ์ จะบริบรณ์ดวยแก้ว ้ ู ้ โศกและฟื้นจากสลบ แหวนเงินทอง ทาส ทาสี และสัตว์สองเท้าสีเ่ ท้า ครันตายแล้ว ้ กัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์ พระเจ้ากรุงสญชัยตรัส จะได้ไปเกิดในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสรแวดล้อม สารภาพผิด พระเวสสันดรจึงทรงลาผนวชพร้อมทั้งพระ มากมาย เสวยสุขอยูในปราสาทแล้วด้วยแก้ว ๗ ประการ ่ นางมัทรี และเสด็จกลับสู่นครสีพี เมื่อเสด็จถึงจึงรับสั่งให้ ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขัง ครั้นยามราตรีพระเวสสันดร ทรงปริวิตกว่า รุ่งเช้าประชาชนจะแตกตื่นมารับบริจาค ทาน พระองค์จะประทานสิ่งใดให้แก่ประชาชน ท้าว สักกะได้ทรงทราบ จึงบันดาลให้มีฝนแก้ว ๗ ประการ ตกลงมาในนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง พระเวสสันดรจึงทรง ประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนา ในกาลต่ อ มาพระเวสสั น ดรเถลิ ง ราชสมบั ติ ปกครองนครสีพีโดยทศพิธราชธรรม บ้านเมืองร่มเย็น เป็นสุขตลอดพระชนมายุ นอกจากอานิสงส์โดยรวมในการฟังเทศน์มหาชาติ ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ แล้ว ในแต่ละกัณฑ์ยังมีอานิสงส์แยกย่อย ออกไปอีก ซึ่งในแต่ละกัณฑ์ก็มีอานิสงส์แตกต่างกันไป เรียกว่าแล้วแต่ใครอยากจะได้อานิสงส์ของกัณฑ์ไหนก็ บูชากัณฑ์นั้นไป ดังนี้ ๑. กัณฑ์ทศพร มี ๑๙ พระคาถา อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์ทศพร จะได้รบทรัพย์ ้ ั สมบัตดงปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีเป็นทีชอบเนือ ิั ่ ้ เจริญใจ ถ้าเป็นบุรษจะได้ภรรยาเป็นทีตองประสงค์ ทังจะ ุ ่้ ้ ๔. กัณฑ์วนปเวศน์ มี ๕๗ พระคาถา ได้บตรหญิงชาย เป็นคนว่านอนสอนง่าย มีรปกายงดงาม มี ุ ู อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์วนปเวศน์ จะได้รับความ ความประพฤติดี กิรยาวาจาเรียบร้อยทุกประการ ิ สุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า จะได้เป็นบรมกษัตริย์ในชมพู ๒. กัณฑ์หิมพานต์ มี ๑๓๔ พระคาถา ทวีปเป็นผู้ทรงปรีชาเฉลียวฉลาด สามารถปราบอริราช อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์หิมพานต์ จะได้้ในสิ่งที่ ศัตรูให้ย่อยยับไป
  • 19. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma ๕. กัณฑ์ชูชก มี ๗๙ พระคาถา ๑๑. กัณฑ์มหาราช มี ๖๙ พระคาถา อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์ชูชก จะได้บังเกิดใน อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์มหาราช จะได้มนุษย ตระกูลกษัตริย์ ประกอบด้วยสมบัติอันงดงามกว่าชนทั้ง สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ เมื่อเกิดเป็น หลายจะเจรจาปราศรัยก็ไพเราะเสนาะโสต แม้จะได้สามี มนุษย์จะได้เป็นพระราชา เมื่อจากโลกมนุษย์ไปก็จะได้ ภรรยาและบุตรธิดา ก็ล้วนแต่มีรูปทรงงดงามสอนง่าย ไปเสวยทิพย์สมบัติในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสร ๖. กัณฑ์จุลพน มี ๓๕ พระคาถา เป็นบริวาร ครั้นบารมีแก่กล้าก็จะได้นิพพานสมบัติอันตัด อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์จุลพน แม้จะบังเกิดในภพ เสียซึ่งวัฏสงสารเสียได้ ใด ๆ จะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์บริวาร จะมีอุทยานอัน ๑๒. กัณฑ์ฉกษัตริย์ มี ๓๖ พระคาถา ดารดาษด้วยดอกไม้หอมตลบไป แล้วจะมีสระโบกขรณี อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์ฉกษัตริย์ จะได้เป็นผูเ้ จริญ ้ อันเต็มไปด้วยปทุมชาติ ครั้นตายไปแล้วก็ได้เสวยทิพย์ ด้วยพร ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละทุก ๆ ชาติ สมบัติในโลกหน้าสืบไป ๑๓. นครกัณฑ์ มี ๔๘ พระคาถา ๗. กัณฑ์มหาพน มี ๘๐ พระคาถา อานิสงส์ : ผู้ใดบูชานครกัณฑ์ จะได้เป็นผู้บริบูรณ์ อานิสงส์ : ผูใดบูชากัณฑ์มหาพน จะได้เสวยสมบัติ ้ ด้วยวงศาคณาญาติ ข้าทาสชายหญิง ภรรยาสามี หรือ ในดาวดึงส์เทวโลก และจะได้ลงมาเกิดเป็นกษัตริยมหาศาล ์ บิดามารดาเป็นต้น อยู่พร้อมหน้ากันโดยความผาสุก มีทรัพย์ศฤงคารบริวารมาก มีอทยานและสระโบกขรณีเป็น ุ ปราศจากโรคาพาธทั้งปวง จะทำ�การใด ๆ ก็พร้อมเพรียง ทีประพาส เป็นผูบริบรณ์ดวยศักดานุภาพเฟืองฟุงไปทัว ่ ้ ู ้ ่ ้ ่ กัน ยังการงานนั้น ๆ ให้สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี ชมพูทวีป อีกจักได้เสวยอาหารทิพย์เป็นนิจนิรนดร ั อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ ๘. กัณฑ์กุมาร มี ๑๐๑ พระคาถา การตั้งใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบ อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์กุมาร ย่อมประสบ บริบูรณ์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ๑,๐๐๐ พระคาถา จะเป็นเหตุให้ ความสำ�เร็จในสิ่งที่พึงปรารถนา ครั้นตายไปจะได้เกิด สำ�เร็จความปรารถนาทุกประการ ดังนี้ ในฉกามาพจรสวรรค์ ในสมัยที่พระศรีอาริยเมตไตรย ๑. เมื่อตายจากโลกนี้แล้ว จะมีโอกาสได้พบพระ มาอุบัติก็จะได้ถือปฏิสนธิในตระกูลกษัตริย์ ตลอดจน พุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมตไตรย์ ในอนาคต ได้ ส ดั บ ตรั บ ฟั ง พระสั ท ธรรมเทศนาของพระองค์ แ ล้ ว ๒. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวย บรรลุพระอรหัตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา ด้วยบุญราศี ทิพยสมบัติมโหฬาร ที่ได้อบรมไว้ ๓. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก ๙. กัณฑ์มัทรี มี ๙๐ พระคาถา ๔. เมือถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตรย์ ่ อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์มัทรี เกิดในชาติหน้าจะ จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์ เป็นผู้มั่งคั่ง สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ เป็นผู้มีอายุยืนยาว ๕. ได้ฟงธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ ั ทั้งประกอบด้วยรูปโฉมงดงามกว่าคนทั้งหลาย จะไปในที่ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระอริยบุคคล ในบวรพุทธ ใด ๆ ก็จะมีแต่ความสุขทุกแห่งหน ศาสนา ๑๐. กัณฑ์สักกบรรพ มี ๔๓ พระคาถา อานิสงส์ : ผู้ใดบูชากัณฑ์สักกบรรพ จะได้เป็นผู้ เจริญด้วยลาภ ยศ ตลอดจนจตุรพิธพรทั้ง ๔ ประการ ได้แก่ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดกาล
  • 20. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma ประกาศอนุโมทนาพิเศษ ผู้มีศรัทธาจองเป็นเจ้าภาพบูชากัณฑ์เทศน์มหาชาติ วันอาทิตย์ที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ // เวลา ๐๙.๐๐ น. เจ้าภาพจองบูชากัณฑ์เทศน์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ๑,๐๐๐ พระคาถา � คุณสุกานดา – คุณชัยรัตน์ – คุณมนชยา – คุณสราวัลย์ เจตบุตร � คุณยายยุพิน เลาหพันธ์ และครอบครัว กัณฑ์ที่ ๑ ทศพร : คุณแม่อย บัวไหล, คุณผ่องศรี (น�ำอ้อย)-คุณน�ำหวาน สมประสิทธิ,์ คุณแป๋ว เดชา คุณพิณทอง เกาฏีระ และครอบครัว ุ้ ้ ้ กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ : กลุ่มพลังบุญ โดย คุณปราณี เทพทาราคุณ และคณะ กัณฑ์ที่ ๓ ทานกัณฑ์ : คณะพยาบาลบัลติมอร์ กัณฑ์ที่ ๔ วนประเวศน์ : คุณแม่ซู่เฮียง รุสิตานนท์ และลูกหลาน กัณฑ์ที่ ๕ ชูชก : คณะถวายเช้าวันจันทร์-วันพฤหัสบดี-วันศุกร์, ครอบครัวปาระจิตร,ร้านเรือนไทย และเพือน ๆ ่ กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน : คุณพยุง-คุณจินตนา งามสอาด, คุณนก-คุณหลี-คุณจี๊ด-คุณหน่อย-คุณทรวง-คุณตาล-คุณแมน กัณฑ์ที่ ๗ มหาพน : สมาคมไทยอีสานแห่งกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. และกลุ่มพลังศรัทธา กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร : คุณกัญญา-คุณกุลชาติ สว่างโรจน์, คุณบรรจง พวงใหญ่ และคณะ กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี : My Thai Restaurant โดย คุณชวลิต-คุณพรทิพย์-คุณกนกพร ใช้ญาณ และเพือน ๆ, คุณณรงค์-คุณรัตนา โชติกเวชกุล ่ กัณฑ์ที่ ๑๐ สักกบรรพ : กลุ่มแม่บ้านยุคใหม่ และคณะผู้ปกครองนักเรียนวัดไทยฯ ดี.ซี. กัณฑ์ที่ ๑๑ มหาราช : คุณสมร-ทิพสร-ด.ช.ธนพัฒน์(ฌอนฌอน) นามสวัสดิ,์ คุณสุบน-นฤนาท-ด.ญ.ธามณี (ปุมปุย) ผลไพบูลย์, ิ ้ ้ คุณอนุรกษ์-คุณไมเคิล-ด.ช.อีตน-ด.ช.อลิเวอร์ ชีลเลอร์ ั ั้ กัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์ : คุณยายสุจิตร-คุณย่าฉวีวรรณ-คุณศิวิไล-คุณสุวรรณี-คุณจูมศรี-แก้วตา-แสงทอง-ร�ำไพ-สุพรรณี- เกษร-ปรารถนา-มะลินดา-บุษบา-คุณทอง-บุญเลิง-อาทิตย์-ทอง-เชน-เดช-จอย-ป้าบุญเสริม งามสอาด กัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์ : คณะผู้ปกครอง “09” โดย คุณพรรณี เกษมพันธัย, คุณศิริพร เกรซเซอร์, คุณสุนิภา เกาฏีระ, คุณดลวรรณ เหวียน, คุณอังคณา อู่ฑิฆัมพร, คุณจินดา อมรกิจวานิช และคณะ ขอเชิญเจ้าภาพแต่ละกัณฑ์รวมฟังเทศน์ และพร้อมกันถวายต้นกัณฑ์เทศน์หลังจากเทศน์จบในแต่ละกัณฑ์ ส�ำหรับท่าน ่ ทีตองการร่วมเป็นเจ้าภาพบูชากัณฑ์เทศน์ททานปรารถนา แต่ไม่สามารถเดินทางมาร่วมงานบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติได้ ก็ ่้ ี่ ่ สามารถแจ้งความประสงค์บริจาคได้ทวดไทยฯ ดี.ซี. จะได้ประกาศอนุโมทนาบุญร่วมกันในแสงธรรมฉบับหน้า ี่ ั ขออ�ำนวยอวยพรให้ท่านและครอบครัวมีสติปัญญาดีเหมือนพระสารีบุตร มีจิตใจบริสุทธิ์เหมือนพระเวสสันดร มีรูป ร่างอรชรเหมือนพระนางมัทรี มีความสุขสวัสดีตลอดกาลเป็นนิจเทอญ.
  • 21. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma ขอเชิญชมรายการพระธรรมน�ำชีวิต ทางสถานีวิทยุ-โทรทัศน์ภาคอินเตอร์เน็ตวัดไทยฯ ดี.ซี. WWW.JUSTIN.TV/ROOM134 WWW.THAITEMPLE.ORG WWW.JUSTIN.TV/BUDDHAFAITH วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. Wat Thai Washington, D.C. 13440 Layhill Road, Silver Spring, MD 20906 Tel (301) 871-8660, (301) 871-8661. www.watthaidc.org // E-mail: watthaidc@hotmail.com ขอเชิญร่วมงานบุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ เพื่อสมทบทุนสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. รัฐแมรี่แลนด์ สหรัฐอเมริกา 11 มี.ค. 2555 เวลา 09.00 น. พระมหาวชิระ ญาณปฺปทีโป พระมหาอภินันท์ นิพทฺธสนฺโต วัดพุทธนานาชาติ ออสติน รัฐเท็กซัส วัดพุทธาวาส ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส **พระนักเทศน์เสียงดี มีส�ำนวนโวหาร ช�ำนาญกลอน สอนธรรมอันล�้ำค่า** พิเศษสุด! มีการถ่ายทอดสดที่ WWW.JUSTIN.TV/ROOM134 ตั้งแต่เวลา 09.00 น. ของวันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป
  • 22. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma Meditation Workshop และปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน ๒๕ ก.พ. ๒๕๕๕ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. พระมหาถนัด อตฺถจารี Ph.D. บรรยายหลักพุทธศาสนาเบื้องต้นแก่นักเรียน Blake High School ๒๔ ก.พ. ๕๕ คณะครูน�ำนักเรียนจาก Side well High School มาศึกษาพุทธศาสนา และวัฒนธรรมไทย ๒๓ ก.พ. ๕๕
  • 23. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma The United Nations World Interfaith Harmony Week 2012 at The Washingtion Times Magazine Building. Speech by ‘Ven. Thanat Inthisan Ph.D., February 16, 2012 Ven. Thanat, Ven. Pradoochai and Matteaw Regan from Wat Thai of Washington, D.C., join The United Nations World Interfaith Harmony Week at The Washington Times Magazine Building, February 16, 2012
  • 24. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma Twenty-Five US Embassy members who are going to work in Thailand visit the temple. Welcome by Ms. Sivilai Samang “I am so happy to be here” Temple’s History by Ven. Ananphiwat Monk’s life by Ven. Ananphiwat Dhamma Talk by Ven. Pradoochai Group Photo with Happy Faces
  • 25. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and members of the general public are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมีนาคม ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 17 มีนาคม 2555 / 9.00 A.M. ** ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ธ รรมตามแนวพระไตรปิ ฎ ก **