SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
427-416 Readings in Sociology and Anthropology คำอธิบายรายวิชา  เลือกศึกษาทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย ระบบสังคม วัฒนธรรม จิตวิทยา สังคม หรือมนุษยนิเวศ ตามแนวสังคมวิทยาหรือมานุษยวิทยา ตามความสนใจของผู้เรียน โดยคำแนะนำของผู้สอน
427- 416 Reading in Sociology and Anthropology วิชาเลือกเอก สังคมวิทยา ชั้นปีที่  4 กลุ่ม  3  อ . มานพ เน้นสังคมวิทยา จังหวัดชายแดนภาคใต้   การเรียนเป็นลักษณะ  Area Based Research   การสอน เป็นลักษณะ  Problem Based Learning จันทร์  09.00-11.00  น . ห้อง  19307 พฤหัส   09.00-10.00  น . ห้อง  19401
Area-based research  ( งานวิจัยเพื่อพื้นที่  ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
427- 416 Reading in Sociology and Anthropology ความต้องการของแผนกวิชา คือการเตรียมความพร้อม ให้กับนักศึกษา ก่อนไปเรียนวิชา  427-401  ปฏิบัติการวิจัย  (Practicum in Social Research)  ในภาคเรียน  2-2554 เป็นการพัฒนา ข้อเสนอการวิจัย  (research proposal)
ตำแหน่ง แหล่งที่ของ ข้อเสนอการวิจัย  (research proposal)
The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem
The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem Step I Step VI Step V Step IV Step III Step II Step VIII Step VII 1.Reviewing the literature 2.Formulating a research  problem 3.Identifying variables 4.Constructing hypotheses 7.Selecting a method of data collection 8.Establishing the validity and reliability of research instrument 9. Steps in collecting data 11.Writing a research proposal 13.Processing data 14.Displaying data 5.The research design 6.Selecting a study design 10.Sampling 12.Considering ethical issues in data collection 15.Writing a research report
The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem Consideration and steps in formulating a research problem Principle of scientific writing Methods of data processing:Use of computers and statistics Sampling theory and designs Methods and tools of data collection Research design:function Literature review Variables and hypotheses:definition and typology Study design Validity and reliability of the research tool  Contents of the research proposal Field test of the research tool Editing of the data Developing a code book Coding Operational steps Required  theoretical knowledge Required  intermediary knowledge Conducting of the study What How
Research Functional Dimension Research policy Research plan Research program Research sub-program Research project Research task Research activity
ทำความเข้าใจ มิติหลักและองค์ประกอบการวิจัย  (core and functional dimension)  1. ทิศทางการวิจัย  (research direction)  หมายถึง ลักษณะหรือแนวทางการทำวิจัยที่มุ่งไปสู่สิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต หากดำเนินการไปตามแนวทางนี้ ความคาดหวังยังไม่เป็นรูปธรรมที่เป็นตัวเลขที่กำหนดไว้ แต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นโดยลำดับ ทั้งนี้ ทิศทางการวิจัยเปรียบเสมือนนโยบายวิจัย  (research policy) 2 . แผนวิจัย  (research plan)  หมายถึง โครงร่างข้อกำหนดที่ ระบุเรื่องหรือลักษณะการดำเนินการในการทำวิจัยให้เป็นไป ในทางสอดคล้องกับทิศทางการวิจัยหรือนโยบายวิจัยที่ กำหนดไว้
3.  แผนงานวิจัย  (research program)  หมายถึง แผนที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อดำเนินการวิจัย ประกอบด้วยโครงการวิจัย  (research project)  หลาย ๆ โครงการ หรืออาจเรียกว่า ชุดโครงการวิจัย  โดยมีความสัมพันธ์หรือสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีลักษณะบูรณาการ  (integration)  ทำให้เกิดองค์รวม  (holistic ideology)  เป็นการวิจัยสหสาขาวิชาการ  (multi-disciplines)  และครบวงจร  (complete set)  โดยมีเป้าหมายที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างชัดเจน 4.  แผนงานวิจัยย่อย  (research sub-program)  หมายถึง หัวข้อการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย ซึ่งกำหนดลักษณะการทำงานวิจัยของโครงการวิจัย
5.  โครงการวิจัย  (research project)  หมายถึง รูปการที่กำหนดหรือคิดไว้ในการดำเนินการวิจัย โดยมีแผนการแสดงหัวข้อรายละเอียดในการศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างมีระบบที่แน่นอน ซึ่งหน่วยงานหนึ่ง ๆ หรือหลายหน่วยงานจะร่วมกันดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 6.  โครงการวิจัยย่อย  (research sub-project)  หมายถึง หัวข้อการวิจัยภายใต้โครงการวิจัย ซึ่งระบุถึงการวิจัยที่ดำเนินการ
7.  งานวิจัยย่อย  (research task)  หมายถึง เป็นขั้นสุดท้ายของแต่ละโครงการวิจัย  (research project) 8.  กิจกรรมวิจัย  (research activity)  หมายถึง การแสดงหัวข้อเรื่องวิจัยที่จะต้องปฏิบัติในงานวิจัยย่อย โครงการวิจัย และแผนงานวิจัย โดยให้สอดคล้องและเป็นลำดับกับแผนการดำเนินงาน  (work plan)  ที่กำหนดไว้
ทำโครงการวิจัยเดี่ยว  /  อิสระ P1 P2 P3 P4 P6 P5 P7
ทำชุดโครงการวิจัย P1 P2 P3 P4 P6 P5 P7 เป้าหมาย เดียวกัน
แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
แต่ละส่วนของข้อเสนอโครงการมีความสำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],ข้อเสนอโครงการที่มีการวางแผนหน้าที่ของ ทุกหัวข้อ / องค์ประกอบ ได้  ชัดเจน   มีความสอดคล้อง และถูกต้อง  ( หลักวิชาการ )   จะช่วยการันตีความสำเร็จของโครงการและช่วยให้การตีพิมพ์ผลงานง่ายขึ้น
1.  เอกสารเชิงหลักการ หรือเอกสารแนวความคิด    (Concept paper) 2.  โครงการวิจัยเต็มรูป หรือโครงการวิจัยแบบสมบูรณ์    (Full proposal)  การ เขียนข้อเสนอโครงการ ยื่น  1  หรือ  2  อย่างเดียว หรือ ยื่นทั้ง  1  และ  2
เอกสารเชิงหลักการ  (Concept paper)  ไม่เกิน  5  หน้า ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โครงการวิจัยเต็มรูป  (Full proposal)  5 – 10  หน้า ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โครงการวิจัยเต็มรูป  (Full proposal)  5-10  หน้า  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเด็นการตรวจสอบโครงร่างวิจัยเพื่อให้ทุน ,[object Object],[object Object],[object Object]
ประเด็นการตรวจสอบโครงร่างวิจัยเพื่อให้ทุน  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสำคัญของการสำรวจเอกสาร ,[object Object],[object Object],[object Object]
ผู้วิจัย มีปัญหา ในการ  review literature ขาดการสรุป เกี่ยวกับสถานะขององค์ความรู้  (Status of Knowledge)
หัวข้อวิจัย   (research topic) Review theory  เพื่อเลือก ทฤษฎีในการมองปัญหา Review  งานวิจัย   เพื่อกำหนดคำถามในการวิจัย  (research question)
นั่นคือ เลือกทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ได้แล้ว อ่านในรายละเอียด เพื่อ สร้างปัญหาวิจัย  (research problem)  ให้ได้ โดยใช้ กระบวนการของการจัดการความรู้  (Knowledge Management Process)
ความรู้มี  2  ประเภท   1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน   (Tacit Knowledge)  2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง  (Explicit Knowledge)
Ikujiro Nonaka  และ Hirotaka Takeuchi เขียนบทความใหม่ขึ้นมาเกี่ยวกับการบริหารความรู้ ชื่อว่า  The Wise Leader  และพยายามขยายองค์ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับ  Knowledge Management  ออกไปในอีกมิติหนึ่ง
ได้พยายามชี้ให้เห็นว่าถึงแม้องค์กรต่างๆ จะเริ่มมีการบริหารความรู้กันมากขึ้น แต่ผลของการบริหารความรู้นั้นก็ไม่ได้ทำให้คนที่เป็นผู้นำมีความสามารถมากขึ้น หรือ ฉลาดขึ้น  ( Wise Leadership)  ซึ่งทั้งคู่พบว่าปัญหาเกิดขึ้นจากสาเหตุ  2  ประการ คือการที่ไม่ได้ใช้ความรู้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และไม่ได้สร้างหรือสะสมความรู้ที่ถูกต้อง
ภาวะผู้นำในปัจจุบันจะต้องบริหารภายใต้สภาวะที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะต้องสามารถเชื่อมโยงระหว่างการบริหารกับการมองภาพไปในอนาคต ในช่วงหลัง  Nonaka  และ  Takeuchi  จึงได้พยายามเสาะหาความรู้ชนิดใหม่ที่จะเหมาะสมกับการบริหารงานในปัจจุบัน และพบว่าการใช้  Explicit  และ  Tacit Knowledge  เพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอแล้ว
ผู้บริหารที่ดีจะต้องใช้ความรู้ประเภทที่สาม เข้ามาช่วย  นั่นคือสิ่งที่เขาทั้งคู่เรียกว่า  Practical Wisdom  ซึ่งเป็น  Tacit Knowledge  ชนิดหนึ่งที่ผู้บริหารได้มาจากประสบการณ์ ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจและเลือกปฏิบัติได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และเป็นไปตามค่านิยมที่ยึดถือ
เมื่อดูไปในรายละเอียดของ  Practical Wisdom  ก็พบว่าเป็นความรู้จากประสบการณ์ที่ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรม ดูเหมือนว่าผู้เขียนทั้งสองคนพยายามโยงเรื่องของจริยธรรม เข้ากับเรื่องของ  Knowledge Management  ให้มากขึ้น และได้ให้ชื่อสำหรับผู้บริหารที่สามารถนำองค์กรด้วย  Practical Wisdom  ว่าเป็น  Phronetic Leaders
ใน  course  นี้ ต้องการให้นักศึกษา ผู้เรียน รู้จักสร้างและใช้  practical Wisdom เพื่อให้สามารถจัดการกับการเปลี่ยนแปลง  (change management)  และ  เตรียมตัวเป็น  wise leader  เมื่อจบไปแล้ว
1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน  (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือ  การคิดเชิงวิเคราะห์ บางคนจึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง  (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
กระบวนการของความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Externalization Internalization Combination การ จัดการ ความรู้ คือการ สร้าง   “ เกลียวความรู้ ”  ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้ แก้ปัญหา   /   พัฒนางาน ความรู้  หมุนเวียนเคลื่อนที่ ได้ ตามกระบวนการ   SECI   หรือ   Knowledge Spiral   ของ  Nonaka   Tacit Tacit Socialization Explicit Explicit
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และปัญญา   ปัญญา Knowledge Information Data Wisdom
กระบวนการจัดการความรู้  ( Knowledge Management Process) 1.  การบ่งชี้ความรู้  ( Knowledge Identification) 2.  การสร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) 3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  (Knowledge Organization) 4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  ( Knowledge Codification and Refinement) 5.  การเข้าถึงความรู้  (Knowledge Access) 6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  (Knowledge Sharing) 7.  การเรียนรู้  (Learning) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ ความรู้อยู่ที่ใคร  อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้  (Knowledge Management Process)     เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้  หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร  ประกอบด้วย  7  ขั้นตอน
1.  การบ่งชี้ความรู้  ( Knowledge Identification) เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์ /  พันธกิจ /  เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องรู้อะไร  ,  ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง ,  อยู่ในรูปแบบใด ,  อยู่ที่ใคร
2.  การสร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) เช่น การสร้างความรู้ใหม่ ,  แสวงหาความรู้จากภายนอก ,  รักษาความรู้เก่า ,  กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  (Knowledge Organization) เป็นการวางโครงสร้างความรู้  เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต
4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  ( Knowledge Codification and Refinement) เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ,  ใช้ภาษาเดียวกัน ,  ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5.  การเข้าถึงความรู้  (Knowledge Access) เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  (IT), Web board , บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  (Knowledge Sharing) ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น  Explicit Knowledge  อาจจัดทำเป็น เอกสาร ,  ฐานความรู้ ,  เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น  Tacit Knowledge  อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน ,  กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ,  ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ,  ระบบพี่เลี้ยง ,  การสับเปลี่ยนงาน ,  การยืมตัว ,  เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7.  การเรียนรู้  (Learning) ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น   เกิดระบบการเรียนรู้จาก  สร้างองค์ความรู้ > นำความรู้ไปใช้ > เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดเรื่อง   KM เรียนรู้ / ยกระดับ รวบรวม / จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เข้าถึง / ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge สร้าง / ยกระดับ มีใจ / แบ่งปัน เรียนรู้ร่วมกัน เน้น  “ 2T” Tool & Technology เน้น  “ 2P” Process & People create/leverage care & share access/validate capture & learn store apply/utilize
ให้เขียน  Concept Paper  ส่ง ภายใน วันที่  26  มิ . ย .  54 เพื่อ บ่งชี้ความรู้  ( Knowledge Identification)   และ สร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) ในชั่วโมงวันจันทร์ ที่  27  มิ . ย .  54
ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ให้ใช้แบบ ภค -1 ย /5 5   แบบเสนอโครงการวิจัย  ( Research Project ) ประกอบการเสนอของบประมาณของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ  255 5  Download  ได้ใน http://www.nrct.go.th/index.php?mod=contents&req   =view&id=1209

Contenu connexe

Tendances

หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยChamada Rinzine
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อNitinop Tongwassanasong
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัยphaholtup53
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการrbsupervision
 

Tendances (18)

หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
ppt
pptppt
ppt
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
 

Similaire à 427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54

การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Khon Kaen University
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 

Similaire à 427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54 (20)

Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 

Plus de Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 

Plus de Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Research3
Research3Research3
Research3
 

427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54

  • 1. 427-416 Readings in Sociology and Anthropology คำอธิบายรายวิชา เลือกศึกษาทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย ระบบสังคม วัฒนธรรม จิตวิทยา สังคม หรือมนุษยนิเวศ ตามแนวสังคมวิทยาหรือมานุษยวิทยา ตามความสนใจของผู้เรียน โดยคำแนะนำของผู้สอน
  • 2. 427- 416 Reading in Sociology and Anthropology วิชาเลือกเอก สังคมวิทยา ชั้นปีที่ 4 กลุ่ม 3 อ . มานพ เน้นสังคมวิทยา จังหวัดชายแดนภาคใต้ การเรียนเป็นลักษณะ Area Based Research การสอน เป็นลักษณะ Problem Based Learning จันทร์ 09.00-11.00 น . ห้อง 19307 พฤหัส 09.00-10.00 น . ห้อง 19401
  • 3.
  • 4. 427- 416 Reading in Sociology and Anthropology ความต้องการของแผนกวิชา คือการเตรียมความพร้อม ให้กับนักศึกษา ก่อนไปเรียนวิชา 427-401 ปฏิบัติการวิจัย (Practicum in Social Research) ในภาคเรียน 2-2554 เป็นการพัฒนา ข้อเสนอการวิจัย (research proposal)
  • 6. The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem
  • 7. The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem Step I Step VI Step V Step IV Step III Step II Step VIII Step VII 1.Reviewing the literature 2.Formulating a research problem 3.Identifying variables 4.Constructing hypotheses 7.Selecting a method of data collection 8.Establishing the validity and reliability of research instrument 9. Steps in collecting data 11.Writing a research proposal 13.Processing data 14.Displaying data 5.The research design 6.Selecting a study design 10.Sampling 12.Considering ethical issues in data collection 15.Writing a research report
  • 8. The Research Process Writing a research report Processing data Collecting data Writing a research proposal Selecting a sample Constructing an instrument for data collection Conceptualising a research design Formulating a research problem Consideration and steps in formulating a research problem Principle of scientific writing Methods of data processing:Use of computers and statistics Sampling theory and designs Methods and tools of data collection Research design:function Literature review Variables and hypotheses:definition and typology Study design Validity and reliability of the research tool Contents of the research proposal Field test of the research tool Editing of the data Developing a code book Coding Operational steps Required theoretical knowledge Required intermediary knowledge Conducting of the study What How
  • 9. Research Functional Dimension Research policy Research plan Research program Research sub-program Research project Research task Research activity
  • 10. ทำความเข้าใจ มิติหลักและองค์ประกอบการวิจัย (core and functional dimension) 1. ทิศทางการวิจัย (research direction) หมายถึง ลักษณะหรือแนวทางการทำวิจัยที่มุ่งไปสู่สิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต หากดำเนินการไปตามแนวทางนี้ ความคาดหวังยังไม่เป็นรูปธรรมที่เป็นตัวเลขที่กำหนดไว้ แต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นโดยลำดับ ทั้งนี้ ทิศทางการวิจัยเปรียบเสมือนนโยบายวิจัย (research policy) 2 . แผนวิจัย (research plan) หมายถึง โครงร่างข้อกำหนดที่ ระบุเรื่องหรือลักษณะการดำเนินการในการทำวิจัยให้เป็นไป ในทางสอดคล้องกับทิศทางการวิจัยหรือนโยบายวิจัยที่ กำหนดไว้
  • 11. 3. แผนงานวิจัย (research program) หมายถึง แผนที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อดำเนินการวิจัย ประกอบด้วยโครงการวิจัย (research project) หลาย ๆ โครงการ หรืออาจเรียกว่า ชุดโครงการวิจัย โดยมีความสัมพันธ์หรือสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีลักษณะบูรณาการ (integration) ทำให้เกิดองค์รวม (holistic ideology) เป็นการวิจัยสหสาขาวิชาการ (multi-disciplines) และครบวงจร (complete set) โดยมีเป้าหมายที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างชัดเจน 4. แผนงานวิจัยย่อย (research sub-program) หมายถึง หัวข้อการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัย ซึ่งกำหนดลักษณะการทำงานวิจัยของโครงการวิจัย
  • 12. 5. โครงการวิจัย (research project) หมายถึง รูปการที่กำหนดหรือคิดไว้ในการดำเนินการวิจัย โดยมีแผนการแสดงหัวข้อรายละเอียดในการศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างมีระบบที่แน่นอน ซึ่งหน่วยงานหนึ่ง ๆ หรือหลายหน่วยงานจะร่วมกันดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 6. โครงการวิจัยย่อย (research sub-project) หมายถึง หัวข้อการวิจัยภายใต้โครงการวิจัย ซึ่งระบุถึงการวิจัยที่ดำเนินการ
  • 13. 7. งานวิจัยย่อย (research task) หมายถึง เป็นขั้นสุดท้ายของแต่ละโครงการวิจัย (research project) 8. กิจกรรมวิจัย (research activity) หมายถึง การแสดงหัวข้อเรื่องวิจัยที่จะต้องปฏิบัติในงานวิจัยย่อย โครงการวิจัย และแผนงานวิจัย โดยให้สอดคล้องและเป็นลำดับกับแผนการดำเนินงาน (work plan) ที่กำหนดไว้
  • 15. ทำชุดโครงการวิจัย P1 P2 P3 P4 P6 P5 P7 เป้าหมาย เดียวกัน
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. 1. เอกสารเชิงหลักการ หรือเอกสารแนวความคิด (Concept paper) 2. โครงการวิจัยเต็มรูป หรือโครงการวิจัยแบบสมบูรณ์ (Full proposal) การ เขียนข้อเสนอโครงการ ยื่น 1 หรือ 2 อย่างเดียว หรือ ยื่นทั้ง 1 และ 2
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27. ผู้วิจัย มีปัญหา ในการ review literature ขาดการสรุป เกี่ยวกับสถานะขององค์ความรู้ (Status of Knowledge)
  • 28. หัวข้อวิจัย (research topic) Review theory เพื่อเลือก ทฤษฎีในการมองปัญหา Review งานวิจัย เพื่อกำหนดคำถามในการวิจัย (research question)
  • 29. นั่นคือ เลือกทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ได้แล้ว อ่านในรายละเอียด เพื่อ สร้างปัญหาวิจัย (research problem) ให้ได้ โดยใช้ กระบวนการของการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
  • 30. ความรู้มี 2 ประเภท 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
  • 31. Ikujiro Nonaka และ Hirotaka Takeuchi เขียนบทความใหม่ขึ้นมาเกี่ยวกับการบริหารความรู้ ชื่อว่า The Wise Leader และพยายามขยายองค์ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับ Knowledge Management ออกไปในอีกมิติหนึ่ง
  • 32. ได้พยายามชี้ให้เห็นว่าถึงแม้องค์กรต่างๆ จะเริ่มมีการบริหารความรู้กันมากขึ้น แต่ผลของการบริหารความรู้นั้นก็ไม่ได้ทำให้คนที่เป็นผู้นำมีความสามารถมากขึ้น หรือ ฉลาดขึ้น ( Wise Leadership) ซึ่งทั้งคู่พบว่าปัญหาเกิดขึ้นจากสาเหตุ 2 ประการ คือการที่ไม่ได้ใช้ความรู้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และไม่ได้สร้างหรือสะสมความรู้ที่ถูกต้อง
  • 33. ภาวะผู้นำในปัจจุบันจะต้องบริหารภายใต้สภาวะที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะต้องสามารถเชื่อมโยงระหว่างการบริหารกับการมองภาพไปในอนาคต ในช่วงหลัง Nonaka และ Takeuchi จึงได้พยายามเสาะหาความรู้ชนิดใหม่ที่จะเหมาะสมกับการบริหารงานในปัจจุบัน และพบว่าการใช้ Explicit และ Tacit Knowledge เพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอแล้ว
  • 34. ผู้บริหารที่ดีจะต้องใช้ความรู้ประเภทที่สาม เข้ามาช่วย นั่นคือสิ่งที่เขาทั้งคู่เรียกว่า Practical Wisdom ซึ่งเป็น Tacit Knowledge ชนิดหนึ่งที่ผู้บริหารได้มาจากประสบการณ์ ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจและเลือกปฏิบัติได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และเป็นไปตามค่านิยมที่ยึดถือ
  • 35. เมื่อดูไปในรายละเอียดของ Practical Wisdom ก็พบว่าเป็นความรู้จากประสบการณ์ที่ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรม ดูเหมือนว่าผู้เขียนทั้งสองคนพยายามโยงเรื่องของจริยธรรม เข้ากับเรื่องของ Knowledge Management ให้มากขึ้น และได้ให้ชื่อสำหรับผู้บริหารที่สามารถนำองค์กรด้วย Practical Wisdom ว่าเป็น Phronetic Leaders
  • 36. ใน course นี้ ต้องการให้นักศึกษา ผู้เรียน รู้จักสร้างและใช้ practical Wisdom เพื่อให้สามารถจัดการกับการเปลี่ยนแปลง (change management) และ เตรียมตัวเป็น wise leader เมื่อจบไปแล้ว
  • 37. 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือ การคิดเชิงวิเคราะห์ บางคนจึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
  • 38. 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
  • 39.
  • 40. Externalization Internalization Combination การ จัดการ ความรู้ คือการ สร้าง “ เกลียวความรู้ ” ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้ แก้ปัญหา / พัฒนางาน ความรู้ หมุนเวียนเคลื่อนที่ ได้ ตามกระบวนการ SECI หรือ Knowledge Spiral ของ Nonaka Tacit Tacit Socialization Explicit Explicit
  • 42. กระบวนการจัดการความรู้ ( Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ( Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ( Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร
  • 43. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน
  • 44. 1. การบ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification) เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องรู้อะไร , ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง , อยู่ในรูปแบบใด , อยู่ที่ใคร
  • 45. 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ( Knowledge Creation and Acquisition) เช่น การสร้างความรู้ใหม่ , แสวงหาความรู้จากภายนอก , รักษาความรู้เก่า , กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
  • 46. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต
  • 47. 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ( Knowledge Codification and Refinement) เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน , ใช้ภาษาเดียวกัน , ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
  • 48. 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board , บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 49. 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำเป็น เอกสาร , ฐานความรู้ , เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน , กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม , ชุมชนแห่งการเรียนรู้ , ระบบพี่เลี้ยง , การสับเปลี่ยนงาน , การยืมตัว , เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
  • 50. 7. การเรียนรู้ (Learning) ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จาก สร้างองค์ความรู้ > นำความรู้ไปใช้ > เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  • 51. แนวคิดเรื่อง KM เรียนรู้ / ยกระดับ รวบรวม / จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เข้าถึง / ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge สร้าง / ยกระดับ มีใจ / แบ่งปัน เรียนรู้ร่วมกัน เน้น “ 2T” Tool & Technology เน้น “ 2P” Process & People create/leverage care & share access/validate capture & learn store apply/utilize
  • 52. ให้เขียน Concept Paper ส่ง ภายใน วันที่ 26 มิ . ย . 54 เพื่อ บ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification) และ สร้างและแสวงหาความรู้ ( Knowledge Creation and Acquisition) ในชั่วโมงวันจันทร์ ที่ 27 มิ . ย . 54
  • 53. ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ให้ใช้แบบ ภค -1 ย /5 5   แบบเสนอโครงการวิจัย ( Research Project ) ประกอบการเสนอของบประมาณของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 255 5 Download ได้ใน http://www.nrct.go.th/index.php?mod=contents&req =view&id=1209

Notes de l'éditeur

  1. Learning ใน 7 ขั้นตอนเป็นการเรียนรู้ว่าความรู้ที่กำหนดนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการหรือไม่