SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  85
Télécharger pour lire hors ligne
ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ
โดย
ศุภวรรณ พิพัฒพรรณวงศ กรีน
เนื้อหาของหนังสือเลมนี้เปนความพยายามของผูเขียนที่จะเชื่อมโยงความรูทาง
วิทยาศาสตรของไอนสไตนกับภูมิปญญาทางธรรมอันเปนผลจากการตรัสรูของพระพุทธเจา
ผูเขียนมีเหตุผลที่จะเชื่อวา ไมวาจะเปนคําถามเรื่องจุดคงที่ของจักรวาล (The absolute
ruling point in nature) ที่อัลเบริต ไอนสไตนไดถามเปนทานแรกและตองการคนใหพบอัน
เปนตนเหตุที่นําไปสูบทสรุปของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (The Theory of Relativity) หรือ
ทฤษฎีสรรพสิ่ง (The Theory of Everything) ที่ไอนสไตนไดทุมเทชีวิตในชวง ๓๐ ป
สุดทายเพื่อหาคําตอบ, คําถามที่ครอบจักรวาลของไอนสไตนเหลานี้ลวนชี้ไปสูความหมาย
เดียวกันคือ ไอนสไตนตองการคนหาสภาวะสัจธรรมอันสูงสุดที่มีอยูในธรรมชาตินั่นเอง ซึ่ง
คําตอบที่เปนอมตะนี้ พระพุทธเจาไดทรงคนพบแลวเมื่อ ๒๕๙๔ ปกอน ซึ่งทานใชคําวา
พระนิพพาน หรือ การหมดทุกขอยางสิ้นเชิง
จุดเดนและจุดสําคัญยิ่งของหนังสือเลมนี้อยูที่ตัวผูเขียนที่กลายืนยันวา “สัจธรรมอัน
สูงสุดในธรรมชาติมีอยู” รวมทั้งกลาประกาศใหผูอานรูวา เธอรูแนชัดแลววาสัจธรรมอัน
สูงสุดหรือสภาวะพระนิพพานคืออะไร เปนอยางไร จึงทําใหเธอสามารถตั้งศัพทใหมเพื่อให
เหมาะสมกับยุคสมัยและเพื่อคนยุคใหมสามารถเขาถึงสัจธรรมไดงายขึ้น อันคือ ผัสสะ
บริสุทธิ์ และ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ การประกาศตนเปนผูรูสภาวะสัจธรรมของผูเขียนนี้เอง ตัวตอตัว
สุดทายที่ยังขาดอยูหรือเปน missing link ก็สามารถถูกวางลง กอใหเกิดภาพชัดเจนของ
ชีวิตที่เชื่อมโยงกับจักรวาลทั้งหมดได และกอใหเกิดการประสานเชื่อมตอระหวางภูมิปญญา
ทางโลก โดยเฉพาะวิทยาศาสตรกับภูมิปญญาทางศาสนาที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องราวของชีวิต
การเกิดแกเจ็บตาย (บทที่ ๑) เนื้อหาของหนังสือเลมนี้จึงตั้งอยูบนรากฐานที่ผูเขียนอางวา
เธอรูสัจธรรมอันสูงสุด ซึ่งเธอไดอธิบายสภาวะสัจธรรมในฐานะที่เปน “ที่นี่ เดี๋ยวนี้” (บทที่
๖) โดยใชขอเปรียบเทียบของรถไฟสองขบวนที่วิ่งพรอมกัน
เนื้อหาในบทที่ ๒, ๓, ๔ ของหนังสือเลมนี้คือ การวิเคราะหหัวขอและคําถามที่มัก
ถามกันบอยอันเกี่ยวของกับเรื่องชีวิต และ จักรวาล เชน ตัวจริงของเราคืออะไร อยูที่ไหน
จิตใจที่เปนปกติคืออะไร และ พรมแดนสุดทายของจักรวาลอยูที่ไหน ซึ่งผูเขียนไดพยายาม
ประสานและขมวดหัวขอที่ดูเหมือนแตกตางกันมากเหลานี้เขาสูเรื่องสัจธรรมอันสูงสุด หรือ
พระนิพพาน ซึ่งเปนเรื่องเดียวกับจุดคงที่ของจักรวาล อันเปนเนื้อหาสวนที่จะชวยใหผูอาน
สามารถมองพระพุทธศาสนาวาเปนเรื่องใกลตัวเองมากกวาเปนเรื่องไกลสุดกู และมองใหม
วา พระนิพพานไมใชเปนทางเลือก แตเปนเรื่องที่ทุกคนตองไปใหถึง เพราะ การไมรูจักพระ
นิพพานก็คือการไมรูจักตัวเอง คือการไมรูจักความปกติที่แทจริงของจิตใจตัวเอง และคือ
การไมรูวาที่จริงแลว มนุษยทุกคนลวนเปนศูนยกลางของจักรวาลของตนเอง
จุดเดนอีกขอหนึ่งของหนังสือเลมนี้คือ ผูเขียนไดพยายามชวยเหลือปญญาชนที่บูชา
การใชความคิดใหรูจักจุดยืนของตนเองที่เนื่องกับจักรวาล โดยแยกแยะใหเห็นอยางชัดเจน
ถึงความแตกระหวางวิธีการหาความรูทางโลกที่ยังอิงกับความมืดบอดของอวิชชากับความรู
ทางธรรมที่จะชวยใหรูจักตนเองอยางแทจริงอันเปนเนื้อหาของบทที่ ๔ และ ๕
ความสมบูรณของหนังสือเลมนี้คงจะอยูที่การบอกทางออกของชีวิต อันคือวิธีการที่
จะชวยใหผูอานสามารถคนพบจุดนิ่งของจักรวาลหรือสัจธรรมอันสูงสุดดวยตนเอง ซึ่งเปน
เนื้อหาของบทที่ ๗ ผูเขียนเชื่อมั่นวา สติปฏฐานสี่หรือวิปสสนาเทานั้นที่จะเปนทางออกให
ชาวโลกไดพบกับความสุขและสันติภาพที่แทจริง และเพื่อตอบสนองความตองการของ
ผูอานที่อยากเริ่มการเดินทางเพื่อแสวงหาตัวเองทันทีที่อานทั้ง ๗ บทจบ ผูเขียนจึงไดนํา
เรื่อง “การพาตัวใจกลับบาน” อันคือวิธีการฝกสติปฏฐานสี่ที่ไดประยุกตใหเหมาะสมกับคน
ยุคใหมมาไวที่ภาคผนวกซึ่งทําใหหนังสือเลมนี้สมบูรณอยางเต็มเปยม
1
ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ
บทนํา
ผูรูจริงยอมพูดเรื่องเดียวเทานั้น คือ เรื่องการพาคนไปใหถึงพระนิพพาน และผูรู
จริงเทานั้นจึงรูวา ความรูทางโลก เชน ความรูทางวิทยาศาสตรที่แมชาวโลกเห็นพอง
ตองกันวามีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการดํารงอยูของชีวิตนั้น ก็ยังไมมีความสําคัญมาก
เทากับความรูเรื่องการดับทุกขหรือการเขาถึงพระนิพพาน ฉะนั้น แมอัลเบิรต ไอนสไตน ได
ทิ้งมรดกทางปญญาใหชาวโลกไวอยางมากมายมหาศาลเพียงใด ดิฉันก็ไมไดมอง
ไอนสไตนในฐานะผูรูจริง เพราะไอนสไตนยังไมไดเปนผูรูจริง เขาเปนเพียงนักฟสิกสที่
ไดรับรางวัลโนเบล ความรูดานฟสิกสของไอนสไตนไดไขความลึกลับของธรรมชาติอัน
เนื่องกับสสารและพลังงานอันคือเนื้อหาของทฤษฎีสัมพัทธภาพ และกลศาสตรควอนตัม อัน
เปนความรูทางฟสิกสพื้นฐานที่ไดรับการตอยอดและพัฒนามาสูเทคโนโลยี่ในปจจุบันนี้
เทานั้น ซึ่งความรูเหลานี้ของไอนสไตนไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการพาคนไปนิพพานเพื่อ
การหลุดพนจากความทุกขแตอยางใด
ดิฉันไดพูดถึงเรื่องการตอตัวตอในหนังสือเรื่องใบไมกํามือเดียว หากจะ
เปรียบเทียบกับเรื่องตัวตอของภาพชีวิตที่สมบูรณอันมีตัวเราเปนสวนหนึ่งที่กระจิดริดมาก
ของจักรวาลทั้งหมดแลว ไอนสไตนก็คือบุคคลหนึ่งที่สามารถตอตัวตอกระจุกเล็ก ๆ มุมหนึ่ง
อันเปนงานที่เขาสานตอจากนักวิทยาศาสตรที่มีชีวิตกอนหนาเขา เชน ไอแซก นิวตัน ไม
เคิล ฟาราเดย อังตวน ลาวาซิเอ เอิรนท มาค เปนตน ซึ่งไอนสไตนอาจจะตอตัวตอของภาพ
ชีวิตที่เนื่องกับจักรวาลในกระจุกใหญเพียงพอที่ทําใหภาพของมุมนั้น ๆ ชัดเจนมากขึ้น คือ
สามารถไขกุญแจเขาไปสูความลึกลับของปรากฏการณธรรมชาติของเอกภพโดยเฉพาะเรื่อง
แสง การเคลื่อนของแสง ของอวกาศและเวลาไดมากขึ้นจนกอใหเกิดสูตรทางคณิตศาสตร
e=mc2 ที่ดูเรียบงายแตซับซอน รวมทั้งเปดเผยคุณภาพทั้งฝายดําสนิท (การผลิตระเบิดป
รมณู) และฝายขาวอยางขุนมัว (เทคโนโลยี่ทางวัตถุ)ของธรรมชาติ ซึ่งความรูเหลานี้ของ
ไอนสไตนไดเปดโอกาสใหนักฟสิกสรุนหลังตอยอดความรูของเขาไดอยางไมหยุดยั้งจน
กลายเปนความรูพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยี่ของทุกวันนี้
แตแมไอนสไตนจะรูอะไรไดมากมาย อัจฉริยะบุคคลทานนี้ก็ยังไมสามารถตอ
ภาพทั้งหมดของชีวิตที่สัมพันกับจักรวาลไดหมด เพราะเขายังไมพบ “ตัวตอตัวสุดทาย The
missing link” ที่สามารถทําใหภาพทั้งหมดของชีวิตชัดเจนและสมบูรณได ความสามารถใน
การเห็นภาพรวมของชีวิตเพราะสามารถวางตัวตอตัวสุดทายลงไดเปนความสามารถของผูรู
จริงเทานั้นอันมีพระพุทธเจาเปนบุคคลทานแรกของโลกที่ตอภาพทั้งหมดของชีวิตที่
ประสานกับจักรวาลไดสําเร็จ
ฉะนั้น สิ่งที่ชาวโลกโดยเฉพาะผูคลั่งไคลบูชาความสําเร็จและความมหัศจรรย
ของวิทยาศาสตรตองตระหนักใหชัดเจนคือ ไอนสไตนก็ยังเปนมนุษยคนหนึ่งที่อยูในขั้นตอน
ของการแสวงหาสัจธรรมอันสูงสุดเหมือนมนุษยคนอื่น ๆ อีกมากมาย สัจธรรมอันสูงสุดนี้
ดิฉันไดพูดแลววาเปนสภาวะเดียวกับพระนิพพาน พระเจา เตา ตนไมแหงชีวิต หรือ ที่นี่
2
เดี๋ยวนี้ ดิฉันไดตั้งศัพทใหมที่รัดกุม และเหมาะกับยุคสมัยที่คนรุนใหมสามารถเขาใจได
งายขึ้นคือ สภาวะ “ผัสสะบริสุทธิ์ The innocent perception” นั่นเอง
ในป ค.ศ. 1954/๒๔๙๗ ไอนสไตนไดเขียนไวในหนังสือเรื่อง The Human
Side ยอมรับเองวา คําตอบที่เขาตองการนั้นอาจจะอยูในพุทธศาสนาแลวก็เปนได เขาพูดวา
ศาสนาในอนาคตจะเปนศาสนาที่เนื่องกับจักรวาล ควรอยูเหนือพระเจาสวนตัว
หลีกเลี่ยงลัทธิกฏเกณฑที่ไรขอพิสูจน ควรครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติและจิตวิญญาณ ควร
ตั้งอยูบนรากฐานของศาสนาที่เกิดจากประสบการณของทุกสิ่งที่สรางเอกภาพอันมี
ความหมาย ซึ่งพระพุทธศาสนาดูเหมือนจะมีสิ่งเหลานี้อยู ศาสนาพุทธนาจะเปนศาสนาที่
สามารถแกไขปญหาตาง ๆ ของยุคสมัยได
การคาดการณของไอนสไตนถูกตองทีเดียว นี่จึงเปนคําพูดของไอนสไตนที่ดิฉัน
พยายามจะชวยตอยอดประสานใหพบกับความรูของพระพุทธเจาใหจงได จุดคงที่ของ
จักรวาลที่ไอนสไตนตองการหากอนทฤษฎีสัมพัทธภาพรวมทั้งทฤษฎีเอกภาพที่เขาแสวงหา
อยูในชวง ๓๐ ปสุดทายของชีวิตนั้น ไมใชอะไรอื่น มันคือสภาวะสัจธรรมอันสูงสุดหรือพระ
นิพพานนั่นเอง ไอนสไตนหาไมพบ เพราะขาดปจจัยสําคัญ คือ ไมไดพบผูรูจริง
ผูอานอาจจะสงสัยวา ดิฉันไมไดเปนนักฟสิกส แลวดิฉันจะเอาความรูทางฟสิกส
ที่ไหนมาตอยอดความรูของไอนสไตนได คําตอบคือ ดิฉันไมไดตองการหยิบยื่นความรูเรื่อง
ฟสิกสใหแกคุณ จึงไมจําเปนตองรูรายละเอียดของฟสิกสที่ซับซอนเขาใจยาก การเห็น
ภาพทั้งหมดของชีวิต หรือ การรูสภาวะพระนิพพานคือ การรูทิศทางของชีวิตที่จะทําใหคน
หมดทุกข รูวาความรูไหนกําลังชวยใหคนเดินทางไปถูกทิศหรือผิดทิศ เขาใกลหรือหางไกล
จากพระนิพพานมากแคไหน ฉะนั้น สิ่งที่ดิฉันจะพูดอันเนื่องกับความคิดของไอนสไตนใน
หนังสือเลมนี้จึงไมใชเรื่องฟสิกสที่จะนํามาตอยอดใชพัฒนาเทคโนโลยี่ได แตเปนเรื่องการ
ปรับเข็มทิศชีวิตเทานั้น เปนเรื่องการเบนเข็มทิศชีวิตเพื่อชวยใหผูสนใจงานของไอนสไตน
มาสนใจเรื่องราวของการหมดทุกขหรือไปใหถึงพระนิพพานเทานั้น
ฉะนั้น ดิฉันจะพูดพาดพิงเพียงความคิดหลักอันเปนสวนของโครงสรางใหญ
เทานั้น ซึ่งถึงแมดิฉันจะเขาใจคลาดเคลื่อนไปบางนิดหนอย ก็ยังไมเปนไร ไมใชเรื่องคอ
ขาดบาดตาย เพราะสิ่งที่ดิฉันตองการใหคุณมองออกคือ วิธีการเดินสายความคิดของ
ไอนสไตนรวมทั้งปญญาชนโดยทั่วไปนั้น ลวนเปนเรื่องการเดินเขาไปในทอของความคิดอัน
เปนปญญาฝายโลก ที่ดิฉันเรียกวา ทอแหงความรูทางโลก The tube of intellect
ในสวนความคิดหลักอันเปนโครงสรางใหญของไอนสไตนนั้น ถาพูดอยางสรุปก็มี
เพียงนิดเดียวเทานั้น ซึ่งความรูสวนนี้ดิฉันก็ไดรับจากคุณครูที่สอนวิทยาศาสตรในสมัยเรียน
ชั้นมัธยมซึ่งสอนอยางสรุปยอ ๆ เทานั้นและยังมีหลงเหลืออยูบางในความทรงจําของดิฉัน
โดยเฉพาะเรื่องรถไฟสองขบวนวิ่งดวยความเร็วพรอมกัน นอกจากนั้น ดิฉันมักจะดึงความคิด
หลัก ๆ ออกมาจากหนังสือบรรณานุกรมของเยาวชน ซึ่งผูเขียนมักพูดสรุปความคิดในสวนที่
เปนโครงสรางอยางยอ ๆ ดวยภาษาที่เขาใจไดงาย ๆ ประโยคที่ดิฉันไดพบและนําออกมาใช
อยูหลายปแลวนั้นคือ อะไรคือจุดนิ่งที่สมบูรณและเปนอนันตกาลของจักรวาล What is the
absolute ruling point in nature? ซึ่งดิฉันเห็นวาเปนประโยคที่ชวยใหเขาใจความคิดหลัก
3
ของไอนสไตนไดงาย ๆ เมื่ออานพบก็รูทันทีวา นี่เปนประโยคที่ดิฉันสามารถใชเชื่อมตอกับ
ความรูเรื่องนิพพานของพระพุทธเจาไดดวย จึงใชมาตลอด
นอกจากนั้น ดิฉันยังใหความสนใจดูสารคดีทางวิทยาศาสตรตาง ๆ โดยเฉพาะใน
ปนี้ โทรทัศนของอังกฤษไดรวมฉลองการครบรอบรอยปของผลงานอันยิ่งใหญของ
ไอนสไตน เปนปแหงฟสิกสโลก (World Year of Physics) จึงมีสารคดีตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
กับผลงานทางดานฟสิกสของอัจฉริยะบุคคลทานนี้มาก ซึ่งเอื้ออํานวยใหดิฉันเขาใจงานของ
ไอนสไตนมากขึ้นอีกนิดหนอย จึงพยายามจับจุดสําคัญที่ชวยใหดิฉันสามารถเชื่อมโยง
ความคิดของนักฟสิกสผูโดงดังทานนี้กับความคิดของพระพุทธเจา นี่คือเปาหมายหลักที่
ดิฉันจะพยายามทําใหดีที่สุด นั่นคือ หยิบยื่นสัจธรรมใหคุณดวยการเขาถึงอยางเปนกลาง ๆ
ที่สุด หางจากกรอบประเพณีของศาสนาที่มักมีความขัดแยงซึ่งกันและกัน
การที่จะเขาใจหนังสือเลมนี้ไดอยางถองแทและถึงแกนของมันนั้น ผูอานควร
ตองเขาใจใหชัดเจนวา เนื้อหาของหนังสือเลมนี้เปนความรูที่ตอเนื่องจากหนังสือเลมกอน ๆ
ของดิฉัน คือ ใบไมกํามือเดียว คูมือชีวิตทั้งสองภาค และ อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน
หนังสือทั้ง ๔ เลมรวมทั้งเลมนี้ลวนเปนผลผลิตจากการปฏิบัติธรรมของดิฉัน จนถึงจุดที่ดิฉัน
แนใจแลววา ประสบการณที่ดิฉันเรียกวา ผัสสะบริสุทธิ์ เปนสภาวะเดียวกับ พระนิพพาน
หรือ สัจธรรมอันสูงสุด
ฉะนั้น วิธีการนําเสนอเรื่องตาง ๆ ของทุกบทในหนังสือเลมนี้อาจจะเปนวิธีการ
ใหมสําหรับปญญาชนที่ยังไมชินกับงานเขียนของดิฉัน นั่นคือ ดิฉันเขียนจาก “ผลมาสูเหตุ”
ไมใชเขียนจาก “เหตุไปสูผล” ซึ่งเปนวิธีการทางวิทยาศาสตรที่ปญญาชนเคยชินมากกวา
การเขียนจาก “ผลมาสูเหตุ” นี้ ยังไมมีอยูในสารบบใด ๆ ของความรูทางโลก นี่เปนวิธีการ
เขียนและการสอนของผูรูสัจธรรมอันสูงสุดเทานั้น
ดิฉันไดอธิบายไวแลวในบทที่สองของหนังสือใบไมกํามือเดียววา การตรัสรูของ
พระพุทธเจาหมายความวา ทานไดพบสภาวะหนึ่งที่คนอื่นยังไมรูจัก นั่นคือ สภาวะพระ
นิพพาน และ ทานก็ทรงทราบอยางแนชัดวา สภาวะนี้คือ เปาหมายปลายทางของทุกชีวิต
เปนที่สุดของทุกอยาง เปนสภาวะที่ทุกคนตองไปใหถึง ฉะนั้น สภาวะพระนิพพานคือ ผล
(นิโรธ) ซึ่งดิฉันเปรียบเหมือนการพบสระน้ําอมฤตที่อยูในปา เมื่อใครไดดื่มแลว จะมีชีวิต
อมตะ เมื่อพระพุทธเจาพบสระน้ําอมฤต ทานจึงออกจากปาเพื่อมาบอกทางใหคนทั่วไปไดรู
ทางไปถึงสระน้ําอมฤตนั้น การบอกทางนี้จึงเปนเหตุ (มรรค) ที่สาวขึ้นไปสูผล แตเปนผลที่
พระพุทธเจารูกอนแลว ฉะนั้น การวางขั้นตอนของอริยสัจสี่นั้น ทานจึงทรงวาง นิโรธ มากอน
องคมรรค หรือ “ผลมาสูเหตุ” ดวยเหตุผลเชนนี้
ถาจะเปรียบเทียบกับการตอตัวตอที่พูดเมื่อสักครูนี้ก็หมายความวา พระพุทธเจา
เห็นภาพทั้งหมดของรูปสําเร็จแลว จึงสามารถสอนใหคนตอตัวตอที่ยังกระจัดกระจายอยูดวย
วิธีการที่เร็วที่สุด เพราะรูวาชิ้นไหนตองวางตรงไหน จึงเปนการสอนการตอตัวตอแบบ “ผล
มาสูเหตุ” เชนกัน วิธีการสอนเชนนี้จึงเปนเรื่องใหมสําหรับปญญาชน เปนเรื่องที่ปญญาชน
ตองระวังมาก ไมควรรีบสรุปหรือตัดสินหนังสือเลมนี้อยางงาย ๆ และรวดเร็วเกินไป เพียง
เพราะสิ่งที่อานอาจจะดูขัดกับความรูสึกและความเขาใจของตนเอง
ในหนังสือเรื่อง “อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน” นั้น ดิฉันจําเปนตองใชหนังสือทั้ง
เลมนี้อธิบายใหผูอานยอมรับเพียงเรื่องเดียวเทานั้นคือ ใหยอมรับวาดิฉันรูจักสภาวะพระ
นิพพาน เพราะดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานนี่เอง ดิฉันจึงสามารถตั้งชื่อพระนิพพานใหม
เพื่อใหเหมาะกับยุคสมัยคือ ผัสสะบริสุทธิ์ หรือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ตรงนี้แหละ คือ จุดเริ่มตนของ
ความรูทั้งหลายที่ทําใหดิฉันสามารถเขียนหนังสือเลมนี้ไดดวยวิธีการสอนแบบ “ผลมาสู
เหตุ” และพระนิพพานอีกเปนจุดที่ทุกเรื่องตองมาจบที่ตรงนี้เชนกัน
4
พระนิพพานหรือผัสสะบริสุทธิ์คือ “ผล” ที่ดิฉันไดเห็นแลว รูแลว แนใจแลววา
“ใชแน” จึงนําประเด็นหัวขอที่ทาทายของบทตาง ๆ ขึ้นมาพูด ประสาน และเทียบเคียง ซึ่ง
ประเด็นเหลานี้เปนเรื่องที่ดิฉันไดเขียนเปนภาษาอังกฤษไวกอนแลวในหนังสือเรื่อง Do You
Know What A Normal Mind Is? ซึ่งลวนเปนประเด็นที่เปนจุดออนของชาวตะวันตก เชน
การถามคําถามเรื่องการแสวงหาตัวจริงของเราซึ่งดิฉันเอาออกมาจากรายการสนทนาใน
โทรทัศน การตั้งคําถามเรื่อง “จิตใจที่ปกติ” เปนอยางไรเพราะไดนั่งรถไปกับลูกศิษยที่เปน
โรคจิต ตั้งคําถามวา “พรมแดนสุดทายของจักรวาล” อยูที่ไหนเพราะนี่เปนอิทธิพลของหนัง
โทรทัศนเรื่อง Star Trek ที่คนติดตามมารวม ๓๐ ป เปนวลีที่ชาวตะวันตกรูจักกันดี
ดิฉันจึงนําคําถามเหลานี้มาเชื่อมประสานกับเรื่องการแสวงหา “จุดคงที่ของ
จักรวาล” ซึ่งเปนเรื่องที่อยูตรงขามกับความคิดเรื่องสัมพัทธภาพของไอนสไตน ความคิด
เรื่องสัมพัทธภาพของไอนสไตนเปนการเดินสายความคิดที่ใกลเคียงกับการถามเรื่องพระ
นิพพานของพระพุทธเจามากที่สุด เพราะถามวาจุดนิ่งของจักรวาลที่จะเอามาใชเปน
มาตรฐานการวัดของทุกสิ่งอยูที่ไหน ซึ่งไอนสไตนเห็นวาไมมี เพราะจักรวาลเคลื่อน
ตลอดเวลา จึงกอใหเกิดผลคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ซึ่งเปนเรื่องเดียวกับการยอมรับสภาวะ
อนิจจังของทุกสิ่ง เปนสภาวะที่ไอนสไตนไดเดินมาถึงสุดสายปานของ “การใชความคิด”
แลว ไปตอไมไดแลว
ดิฉันจึงชวยประสานโดยการชวยขีดเสนใตคําถามที่อาจจะยังไมชัดเจนใหเขา
เพราะเขายังคนไมพบ นั่นคือ จุดคงที่ของจักรวาลคืออะไร อยูที่ไหน What is the
absolute ruling point in nature? ถึงแมไอนสไตนไมไดใช คําพูดเชนนี้ ไมไดถามเชนนี้
คนรุนหลังสรุปใหเขาดังที่ดิฉันเอาออกมาจากหนังสือสารานุกรมภาษาอังกฤษ แตนี่เปน
คําถามที่จะพาผูถามไปสูเรื่องพระนิพพานซึ่งเปนนิจจัง เปนเรื่องคงที่ อันเปนสภาวะที่
ตรงกันขามกับอนิจจังหรือสัมพัทธภาพ
ฉะนั้น ประเด็นเหลานี้จึงเปนเรื่องที่ดิฉันตองการชวยผูอานชาวตะวันตกใหเขาใจ
เปาหมายปลายทางของชีวิตไดชัดเจนขึ้น คือ แทนที่จะพูดวา นิพพานเปนเปาหมาย
ปลายทางของชีวิต ดิฉันพูดใหมวา เปาหมายชีวิตอยูที่การหาตัวจริงของเราใหพบ หรือ
เปาหมายชีวิตอยูที่การสามารถเขาถึงจิตใจที่เปนปกติ หรือ เปาหมายชีวิตอยูที่การสามารถ
เขาถึงจุดปกติหรือจุดคงที่หรือไปถึงพรมแดนสุดทายของจักรวาล ซึ่งดิฉันเห็นวาการพูด
เชนนี้ อธิบายเชนนี้ จะชวยปญญาชนของยุคนี้เขาใจไดดีกวาการพูดวา “เปาหมายชีวิตอยูที่
การไปใหถึงพระนิพพาน” เพราะคําวา พระนิพพาน ไดถูกวัฒนธรรมทางศาสนาปกคลุม
บิดเบือนจนคนเขาใจผิดไปมากแลว มักคิดวาเปนเรื่องไกลเกินตัว เปนเรื่องของพระอริยะที่
ไมเกี่ยวของกับตนเองเลย หรือไมก็เปนเรื่องของคนตายแลว ไมเกี่ยวกับชีวิตของคน
ธรรมดาทั่วไปอยางเราทานทั้งหลายที่กําลังดิ้นรนทํามาหากินอยู ซึ่งเปนเรื่องเขาใจผิดหมด
นี่เปนสาเหตุใหญที่ดิฉันจําเปนตองสรางและจับประเด็นเหลานี้มาชนกัน ประสานกัน เพื่อ
ชวยใหผูอานเริ่มคิดในรองทางที่ถูกตองโดยใชภาษาของคนรวมสมัย และเพื่อพาพวกเขา
ไปพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเปนจุดอันติมะที่ “ทุกเรื่อง” อันเกี่ยวของกับชีวิต โลก
และ จักรวาล จะตองไปลงที่จุดนั้นหมด
ปญหาจึงอยูตรงที่วา หากผูอานไมยอมรับวา ดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานอยาง
แทจริงแลวไซร ยอมตองมองประเด็นเหลานั้น เปนเพียงสมมุติฐานที่ดิฉันตั้งขึ้นมาและพูด
เหมาเอาเอง สรุปเองโดยไมมีหลักฐาน ขอมูลมาสนับสนุนอยางเพียงพอ เหมือนจับแพะชน
แกะ จะทําใหคุณสับสนและไมไดรับประโยชนจากการอานหนังสือเลมนี้อยางเต็มที่ เพราะ
สิ่งที่คุณเห็นวาเปน “สมมุติฐาน hypothesis ” ของดิฉันนั้น สําหรับดิฉันแลวมันเปน
“ขอเท็จจริง fact” ที่ดิฉันไดรูแลว เห็นแลว ไมใชเรื่องการคิด จินตนาการอยางเพอฝนเลื่อน
ลอยแตอยางใด
5
เพราะดิฉันรูวาพระนิพพานคืออะไร ดิฉันจึงสามารถพูดไดวา ตัวจริง ๆ ของเราคือ
อะไร อยูที่ไหน รูวาจิตใจที่ปกติเปนอยางไร พรมแดนสุดทายของจักรวาลอยูที่ไหน จุดคงที่
หรือจุดปกติของจักรวาลอยูที่ไหนและเปนอยางไร และปญญาชนกําลังติดอยูใน “กลอง
ความคิด” หรือ “กลองความรูทางโลก” อยางไร เพราะคําถามเหลานี้เปนคําถามเดียวกับ
คําถามวา พระนิพพานคืออะไร อยูที่ไหนนั่นเอง ซึ่งดิฉันอธิบายคําตอบเรื่องพระนิพพานดวย
คําใหมคือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ใครรูจักและสามารถเขาถึง ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ไดละก็ คนนั้นก็เขาถึง พระ
นิพพานแลว เพราะเปนสภาวะเดียวกัน ซึ่งคําวา ที่นี่ เดี๋ยวนี้ หรือ ผัสสะบริสุทธิ์ เปนคําวลีที่
เขาใจและเขาถึงไดงายกวาพระนิพพานมากทีเดียว
เพราะดิฉันรูแลววาพระนิพพานคืออะไร ดิฉันจึงสามารถนําคําเหลานี้มา
เทียบเคียงกับคําวา พระเจา เตา ตนไมแหงชีวิต เพื่อชวยเหลือศาสนิกอื่นใหเขาใจ
เปาหมายของชีวิตและชวยใหเขาเดินทางไปหาพระเจาของเขาไดดวยวิธีการของ
พระพุทธเจาคือ การปฏิบัติสติปฏฐานสี่ ซึ่งเปนเรื่องสากลที่มนุษยทุกคนทําได ดิฉันจึง
สามารถกระจายความรูออกมาไดเชนนี้
จุดออนของหนังสือเลมนี้คือ ความรูทางฟสิกสที่ดิฉันไมสามารถเขาใจไดหมด
และถองแท แตถึงแมความรูทางฟสิกสของหนังสือเลมนี้จะผิดหมด ก็ยังไมเปนไร ไมนาหวง
มากเทาการสรุปสภาวะพระนิพพานอยางผิด ๆ เพราะความรูทางโลกทุกอยางลวนเปน
ความรูที่เกิดใน “ทอความคิด” แมจะถูกตองอยางไรในสายตาของปญญาชน สําหรับคนที่รู
วาสัจธรรมคืออะไรแลว มันก็ยัง “คด” อยูนั่นเอง แมไอนสไตนมานั่งเบื้องหนาดิฉันและ
อธิบายใหดิฉันเขาใจความรูของเขาทั้งหมดจนดิฉันเขาใจแจมแจงก็ตาม ดิฉันก็ยังจะพูด
เหมือนเดิมวา ไอนสไตนยังไมใชผูรูเห็นสัจธรรมอันสูงสุดของจักรวาลอยางแทจริง เพราะ
ผูรูสัจธรรมจริงจะพูดเพียงเรื่องเดียวเทานั้น คือ พูดชักชวนคนไปนิพพาน
นี่เปนประโยคที่มีความหมายลึกซึ้งมาก ที่คุณอาจตองใชเวลาทั้งชีวิตปฏิบัติ
วิปสสนา จึงสามารถเขาใจความหมายของมันได หากคุณอานเฉย ๆ โดยไมปฏิบัติวิปสสนา
แลว คุณจะไมเขาใจวาทําไมดิฉันจึงกลา “อวดอุตริ” ทาทายอัจฉริยบุคคลอยางไอนสไตน
และกลาพูดวา เขายังไมใชผูรูจริง ฉะนั้น กอนที่ปญญาชนโดยเฉพาะผูเชี่ยวชาญดานฟสิกส
จะรวมตัวกัน “เหยียบ” ดิฉันเพราะเห็นจุดออนของหนังสือเลมนี้แลวละก็ อยางนอยที่สุด
คุณตองเขาใจความหมายของคําวา “ผัสสะบริสุทธิ์” หรือ ไมก็ “ที่นี่ เดี๋ยวนี้” ในลักษณะของ
“ประสบการณ experience” หรือ “สภาวะที่แทจริง” ที่เกิดในตัวคุณเสียกอน คุณจึงสามารถ
วิจารณหนังสือเลมนี้ไดอยางถูกตอง ถาคุณไมมีสภาวะนั้นแลว และไมเห็นดวยกับสิ่งที่ดิฉัน
เขียน ดิฉันก็ไมเห็นหนทางที่คุณจะวิจารณหนังสือเลมนี้ไดอยางไร เพราะจะตกอยูใน
รูปลักษณะ “พูดกันคนละเรื่อง” คือ คุณพูดในขณะที่อยูในกลองความคิดหรือทอความรูทาง
โลกอันมืดมิด (บทที่ ๕) ในขณะที่ดิฉันกําลังพูดจากจุด ก อันเปนจุดคงที่หรือพรมแดน
สุดทายของจักรวาล (บทที่ ๔)
การใชคําศัพททางธรรมในหนังสือเลมนี้ก็เชนกัน คนที่ศึกษาพระอภิธรรมคง
อยากตําหนิดิฉันเชนกันวาใชคําวา “จิตใจ” อยางผิด ๆ คําวา จิต ในหนังสือเลมนี้นาจะใชคํา
วา เจตสิก จึงจะถูกตอง เพราะดิฉันรูแนชัดวาพระนิพพานคืออะไรนี่เอง ดิฉันจึงกลาใชคําวา
จิตใจ ในความหมายที่แตกตางจากพุทธพจน ซึ่งดิฉันก็ตระหนักชัดแลว แตไมเห็นวาเปน
ความเสียหายแตอยางใดเชนกัน เพราะดิฉันมีเจตนาเพื่อชวยเหลือผูอานใหเขาใจเรื่องการ
ทํางานของจิตใจตนเองชัดขึ้น จึงใชคําที่ดิฉันเห็นวาคนอานจะเขาใจไดงายกวาคําศัพทที่
ยาก ๆ เชน เจตสิก ซึ่งคนสวนมากไมชินเทาคําวา จิตใจ การใชคําวา จิตใจ และแทนมัน
ดวยคําวา ทอมกับเจอรี่ เปนวิธีการใหมที่ดิฉันไดสรางขึ้นมาเพื่อชวยเหลือคนที่ไมถนัด
คําศัพทยาก ๆ ทางอภิธรรม และดิฉันก็ไดใชมาอยางตอเนื่องตั้งแตหนังสือเลมกอน ๆ ของ
ดิฉันแลว จึงจะใชตอไป
6
ขอใหเขาใจวา หากพระนิพพานเปนเปาหมายปลายทางที่ดิฉันพยายามจะชวย
ใหผูอานไปถึงแลวละก็ การเดินเรื่องตั้งแตการตั้งประเด็นจนถึงบทสรุปในแตละบทของ
หนังสือเลมนี้ เปรียบเทียบไดเหมือนวา ดิฉันกําลังวาดแผนที่หยาบ ๆ ใหผูอาน เหมือนดิฉัน
ควากระดาษมาแผนหนึ่งแลวก็ลากเสนแบบหยาบ ๆ พอใหคนอานแผนที่รูทางไปนิพพาน
หรือไป “ภูกระดึงทางธรรม”
แนนอน แผนที่หยาบ ๆ ที่ดิฉันลากนี้ยอมไมเหมือนแผนที่ฉบับดั้งเดิมของ
พระพุทธเจาหรือพระไตรปฎก แตตราบใดที่คนอานแผนที่หยาบ ๆ ของดิฉันสามารถเดิน
ตามการบอกทางของดิฉันและสามารถไปถึงภูกระดึงทางธรรมหรือพระนิพพานไดแลวละก็
ดิฉันเห็นวาหนังสือเลมนี้ก็ไดบรรลุเปาหมายของมันแลว หนทางเขาสูกรุงโรมยอมมีมากกวา
หนึ่งเสนทาง ใครจะเดินทางไหนก็ได ตราบใดที่ไมหลงทิศ ขอใหถึงกรุงโรมเปนใชได
หากผูอานเขาใจไดตามเนื้อหาที่ดิฉันนําเสนอนี้และยอมปฏิบัติสติปฏฐานสี่หรือ
พาตัวใจกลับบานแลวละก็ ดิฉันเห็นวาเพียงพอแลว หนังสือเลมนี้ไดบรรลุเปาหมายที่ดิฉัน
ตองการแลว แมจะสามารถชวยเหลือคนไทยเพียงคนเดียวใหยอมปฏิบัติสติปฏฐานสี่ ก็
คุมคาตอความพยายามของดิฉันมากแลว
ปญหาใหญจึงมีเรื่องเดียวเทานั้นวา คุณยอมรับในภูมิธรรมของดิฉันหรือไม คุณ
ยอมรับหรือไมวา ดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานและยินยอมใหดิฉันเปนผูนําทางคุณไป
นิพพาน ถาคุณยอมรับ คุณจะไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ไมมากก็นอย แตหากคุณ
ยอมรับไมไดวาผูหญิงแมบานคนนี้จะรูจักพระนิพพานไดอยางไร และไมเชื่อวาดิฉันมีภูมิ
ธรรมดังกลาวแลว แมคุณจะพยายามอยางไร คุณก็คงอดไมไดที่จะมีอคติตอดิฉันอยูในใจ
และจะไมไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้
เพื่อใหความยุติธรรมทั้งกับดิฉันและตัวคุณเอง ดิฉันเห็นวา คุณควรอานเรื่อง
“อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน” ดวย หรือไมก็มาเขาอบรมกับดิฉันจนสามารถเขาบานที่สี่
สามารถจับสภาวะของ ผัสสะบริสุทธิ์ หรือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ได ประสบการณอันเปน “ผล” ที่ดิฉัน
ไดพูดถึงนี้เทานั้น จึงจะชวยใหคุณเขาใจหนังสือเลมนี้ไดดีขึ้น
ดิฉันไดนําเรื่อง “พาตัวใจกลับบานกันเถิด” มาไวเปนภาคผนวกเพื่อทําใหหนังสือ
เลมนี้มีความสมบูรณมากขึ้น ประสบการณของดิฉันบอกวา ผูอานทานใดที่สามารถเขาใจ
เนื้อหาของหนังสือเลมนี้แลว ยอมมีความกระตือรือรนอยากเรงรีบปฏิบัติสติปฏฐานสี่เพื่อให
เห็นสภาวะของผัสสะบริสุทธิ์อยางรวดเร็วที่สุด ซึ่งเปนธรรมดาของผูที่มีบุญบารมีพรอม
ภาคผนวกของหนังสือเลมนี้จึงสามารถตอบสนองความตองการของผูอานไดทันที
ดิฉันไดกลับมาอบรมธรรมที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในเดือนมกราคม ๒๕๔๙
คุณกฤษฎาพร ชุมสาย ณ อยุธยา คุณสานุพันธุ ตันติศิริวัฒน และคุณอิสวเรศ ตโนมุท แหง
สํานักพิมพฟรีมายดไดมารวมอบรมธรรมกับดิฉันดวย มีความซาบซึ้งในคําสอนมาก เมื่อ
ทราบถึงจุดประสงคของดิฉันที่ตองการเผยแผพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาโดยผาน
แนวคิดของไอนสไตนเชนนี้แลว ทั้งสามทานจึงปวรณาที่จะชวยเหลือดิฉันอยางเต็มที่
ดิฉันจึงใครถือโอกาสนี้ขอบพระคุณและอนุโมทนาในกุศลจิตของบุคคลทั้งสาม
และทีมงามของสํานักพิมพฟรีมายดทุกทานที่เขามาเปนแขนขาชวยเหลือดิฉันในการกวาด
ตอนคนหมูมากใหออกจากถนนวงแหวนของสังสารวัฏ ซึ่งเปนการชวยจรรโลงและสืบทอด
พระพุทธศาสนาใหยืนนานตอไปตราบนานเทานาน
ดิฉันหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้คงชวยใหคุณเขาใจชีวิตไดชัดเจนมากขึ้น
ดวยความเมตตา
ศุภวรรณ พิพัฒพรรณวงศ กรีน
7
๓๐ มกราคม ๒๕๔๙
1
บทที่หนึ่ง
ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ
Einstein Questions, Buddha Answers
ความสําเร็จที่ยิ่งใหญอันทําใหอัลเบิรต ไอนสไตน กลายเปนอัจฉริยะบุคคลที่ถูกจารึกลง
ในประวัติศาสตรของโลกเกิดขึ้นเมื่อหนึ่งรอยปกอนในป ค.ศ. 1905 เมื่อผลงานของเขาไดรับการ
ตีพิมพพรอมกันถึง ๕ ชิ้น และชิ้นหนึ่งคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพจําเพาะอันมีสมการ e = mc2 ที่สราง
คุณอยางอเนกอนันตพอ ๆ กับการสรางโทษอยางมหันต
กอนหนาทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ดิฉันซาบซึ้งในบุญคุณของอัลเบรต ไอนสไตน ที่ไดตั้งคําถามที่สําคัญมากที่สุดแทน
มนุษยชาติ นั่นคือ อะไรคือจุดคงที่อันเปนอนันตยะที่สมบูรณของจักรวาล What is the absolute
ruling point in nature?
ดิฉันไมไดเปนนักวิทยาศาสตรและไมคอยเขาใจรายละเอียดของทฤษฎีสัมพัทธภาพที่
ซับซอนมากนัก ซึ่งที่จริงแลวไมใชเรื่องงายที่จะเขาใจ ดังที่นักขาวมักขอรองใหไอนสไตนสรุปสั้น ๆ
เพื่อใหคนทั่วไปเขาใจไดงาย ๆ วาทฤษฎีสัมพัทธภาพนี้คืออะไร ทําไมจึงสําคัญตอมนุษยชาติมาก
ไอนสไตนมักรูสึกลําบากใจเพราะนี่เปนความรูที่เขาปลุกปล้ําอยูถึง ๑๕ ป แลวจะใหมาสรุปใหคนฟง
อยางสั้น ๆ ไดอยางไร ไอนสไตนจึงเฉตอบนักขาวดวยเรื่องที่ขบขันวา
“คุณลองเอามือวางเหนือเตารอน ๆ สักหนึ่งนาทีสิ คุณจะรูสึกวามันนานเหมือนหนึ่งชั่วโมง
แตหากคุณไปนั่งอยูใกลหญิงสาวสวยสักหนึ่งชั่วโมง คุณจะรูสึกวามันนานเหมือนเพียงนาทีเดียว นั่น
แหละคือทฤษฎีสัมพัทธภาพของผมแหละ”
เรื่องการสรุปความคิดหลัก ๆ นี่แหละ เปนเรื่องสําคัญมากกวาการรูรายละเอียด เพราะเปน
เรื่องของการสรางกรอบ หรือ โครงสรางของความคิด ฉะนั้น สิ่งที่ดิฉันจะสรุปอันเกี่ยวเนื่องกับทฤษฎี
สัมพัทธภาพของไอนสไตนจึงเปนความรูที่ยอนกลับไปในชั่วโมงวิทยาศาสตรสมัยที่ยังเรียนชั้นมัธยม
เพราะคุณครูยอมหยิบยื่นแตความคิดหลัก ๆ ที่พูดอยางสรุปยอ ๆ เทานั้น และดิฉันยังดึงความคิด
แบบสรุปเหลานี้ออกมาจากหนังสือสารานุกรมของเยาวชนรวมทั้งการดูสารคดีตาง ๆ ดวย บวกกับ
ความรูในเรื่องพระนิพพานของพระพุทธเจา ดิฉันจึงสามารถตอยอดแจกแจงความคิดเหลานี้ออกมา
ได
ทําไมไอนสไตนจึงอยากหาจุดคงที่
เพื่อความชัดเจนมากขึ้น ขอใหเขาใจวา “จุดคงที่” กับ “จุดปกติ” มีความหมาย
เหมือนกัน ซึ่งดิฉันจะใชทดแทนกันตั้งแตบัดนี้เพื่อใหเหมาะสมกับขอเปรียบเทียบ
สิ่งที่ดิฉันใหความสนใจเปนพิเศษคือ ทําไมไอนสไตนจึงตองการหาจุดคงที่อันถาวรของ
จักรวาลตั้งแตแรกเริ่ม เพื่ออะไร สิ่งที่ดิฉันทําความเขาใจไดคือ ถาหากไอนสไสตนสามารถหาจุดปกติ
ของจักรวาลที่อยูอยางคงทนถาวร มีคาสมบูรณ ไมเปลี่ยนแปลงไดแลว เขาจะสามารถใชจุดปกตินั้น
เปนมาตรฐานการวัดสิ่งตาง ๆ ได และยอมทําใหผลของการวัดอะไรตาง ๆ คงที่ ปกติ ไดผล
เหมือนกันหมด absolute value ไมวาจะวัดจากจุดไหนของจักรวาล
อยางไรก็ตาม ไอนสไตนไมสามารถหาจุดคงที่อันถาวรของจักรวาลได เพราะวา สิ่งตาง ๆ
ที่แมดูนิ่ง ๆ บนโลก ไมเคลื่อนไหวก็ตาม แตที่จริงแลว มันไมไดอยูนิ่งจริง เพราะโลกกําลังหมุนอยู
เมื่อดูในวงกวางออกไปจากนอกโลก ก็พบวาระบบสุริยะจักรวาลก็กําลังเคลื่อนอยู แกแลกซี่ของเรา
และอื่น ๆ ก็กําลังเคลื่อนอยู ตลอดจนถึงจักรวาลทั้งหมดก็กําลังเคลื่อนไปอยางไมหยุดยั้ง จึงทําให
2
ไอนสไตนสรุปวาไมมีจุดนิ่งหรือจุดปกติที่สามารถใหคุณคาที่เที่ยงแทถาวรอยางแทจริงในจักรวาล
เพราะทุกอยางเคลื่อนที่อยางไมหยุดยั้ง
สัมพันกับอนิจจังและนิพพาน
ความคิดหลักของทฤษฎีสัมพัทธภาพนี้เปรียบเหมือนกับการพบสี่แยกหลักที่สามารถเดิน
เลี้ยวตอไปไดอีกมากมายหลายทางทีเดียว ในขณะที่ไอนสไตนเลี้ยวไปสูแยกที่เนนความรูทางดาน
ฟสิกสเพียงอยางเดียวจนกอใหเกิดการสรางระเบิดนิวเคลียร พลังงานปรมณูและเทคโนโลยี่อื่น ๆ อีก
มากมายนั้น ดิฉันจะพยายามพาคุณเลี้ยวไปสูแยกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสุขทุกขของชีวิตของเรา
โดยตรง ความคิดหลักของทฤษฎีสัมพัทธภาพเปนเรื่องครอบจักรวาล ครอบคลุมทุกเรื่องของชีวิต
เพราะความคิดทั้งหมดเหลานี้สัมพันกับเรื่องอนิจจังและพระนิพพานของพระพุทธเจาซึ่งเปนเรื่อง
ครอบจักรวาลเชนกัน จึงเปนสิ่งที่ดิฉันพยายามจะโยงใหคุณในหนังสือเลมนี้
เมื่อไมรูจุดคงที่ของจักรวาล
เมื่อไอนสไตนสรุปวาไมมีจุดคงที่ในจักรวาล ยอมหมายความวา การวัดอะไรตาง ๆ จะตอง
สมมุติจุดคงที่ขึ้นมากอน และวัดสิ่งตาง ๆ จากจุดสมมุตินั้น ซึ่งผลที่ไดจะมีคาสัมพัทธกับจุดปกติที่ถูก
สมมุติขึ้น เพื่อใหคุณเขาใจชัดเจนมากขึ้น ดิฉันจะเรียกแทนจุดคงที่นี้วา “พรมแดนสุดทาย the final
frontier” (บทที่ ๔) เพื่อใหสอดคลองกับการยกตัวอยางที่จะวัดความใกลไกลของสถานที่
เมื่อคุณไมรูจุดคงที่หรือจุดปกติของจักรวาล ก็ความหมายวาคุณไมรูขอบเขตที่เปน
พรมแดนสุดทายของจักรวาลที่สามารถใชเปนเสาหลักมาตรฐานเพื่อวัดความใกลไกลของทุกสถานที่
ในจักรวาลนั่นเอง เชน หากคุณตองการทราบวา เชียงใหมอยูไกลแคไหน คุณจะถามลอย ๆ ไมได
คุณตองกําหนดลงไปใหแนชัดกอนวาคุณตองการวัดความใกลไกลของเมืองเชียงใหมจากจุดไหน
เสียกอน จึงจะพูดกันรูเรื่อง ไมเชนนั้น เถียงกันตาย
หากคุณเอากรุงเทพเปนหลัก นั่นคือ สมมุติใหกรุงเทพเปนพรมแดนสุดทาย เชียงใหมก็จะ
อยูไกลจากกรุงเทพ ๖๐๐ กิโลเมตร หากคุณเอาสงขลาเปนหลัก เชียงใหมก็จะอยูหางจากสงขลา
๑๖๐๐ กิโลเมตร หากสมมุติใหกรุงลอนดอนเปนหลักหรือเปนพรมแดนสุดทาย เชียงใหมก็จะอยูหาง
จากลอนดอนถึง ๖๐๐๐ กิโลเมตร เปนตน ฉะนั้น คุณจะเห็นวา ๖๐๐, ๑๖๐๐, ๖๐๐๐ กิโลเมตรคือคา
สัมพัทธอันเปนผลของการสมมุติจุดนิ่งหรือจุดพรมแดนสุดทายขึ้นมาเพื่อวัดความใกลไกลของ
สถานที่ ฉะนั้น การตัดสินวาใครอยูใกลหรือไกลเชียงใหมจึงขึ้นอยูที่วา คุณอยูจุดไหน คนอยูลอนดอน
ก็ตองเห็นวาเชียงใหมไกลมาก ใครอยูสงขลาก็ยอมเห็นเชียงใหมไกลกวาคนอยูกรุงเทพ ใครอยู
ลําปางก็ยอมเห็นวาเชียงใหมอยูใกลนิดเดียว นี่คือ การพูดอยางสัมพัทธ relatively speaking อัน
เปนผลของทฤษฎีสัมพัทธภาพ
เมื่อรูจุดคงที่
แตถาคุณรูจุดคงที่ จุดนิ่ง หรือจุดปกติของจักรวาล หรือ รูแนชัดวาพรมแดนสุดทายของ
จักรวาลอยูตรงไหนแลวละก็ ทีนี้ ไมวาคุณจะอยูซอก ซอย ไหนของจักรวาลก็ตาม คุณก็สามารถวัด
จากจุดที่คุณอยูและไปจรดที่เสาหลักสุดทายหรือพรมแดนสุดทาย หรือ จุดปกติของจักรวาล ทุกคน
จะสามารถทําไดเหมือนกันหมดเพราะรูเสาหลักสุดทายของจักรวาลแลว ฉะนั้น ไมวาใครจะอยู ณ จุด
ไหนของจักรวาล ก็สามารถวัดจากจุดที่ตนเองอยูและไปจรดที่เสาหลักอันเปนพรมแดนสุดทายของ
จักรวาล การวัดนั้นก็จะเปนมาตรฐานสากลของจักรวาล ไดคาคงที่เหมือนกันหมด ฉะนั้น คนอยู
กรุงเทพ เชียงใหม สงขลา ลอนดอน หากจะวัดความใกลไกล ก็ตองวัดไปที่เสาหลักสุดทายของ
จักรวาลกอน ซึ่งอาจจะไดคาตามลําดับเชนนี้คือ ๑.๕ ลานปแสง ๑.๕๒ ลานปแสง ๑.๕๔ ลานปแสง
๒ ลานปแสง เปนตน นี่เปนการสมมุติวาหากเรารูจุดคงที่หรือจุดปกติของจักรวาล ทุกคนจะรูแนชัดวา
ใครอยูใกลหรือไกลจากจุดคงที่หรือพรมแดนสุดทายของจักรวาลมากนอยแคไหน นี่คือ การพูดอยาง
แนนอน absolutely speaking เพราะรูจุดเที่ยงแทแนนอนของจักรวาล นี่คือเหตุผลที่ไอนสไตนอยาก
3
หาจุดคงที่ของจักรวาล เพื่อจะไดใชเปนมาตรฐานหลักของจักรวาล แตอยางที่พูดแลววา ความรูของ
ไอนสไตนเนนไปที่เรื่องฟสิกสเพียงถายเดียวเทานั้น
แตสัมพัทธภาพครอบคลุมทุกเรื่อง
การวัดน้ําหนักของวัตถุสิ่งของก็เชนกัน น้ําหนักตัวของคนบนโลกมีคาสัมพัทธกับแรงโนม
ถวงของโลก พูดใหงงเลนก็คือ ทุกครั้งที่คุณชั่งน้ําหนักตัวเอง ที่จริงแลว คุณกําลังชั่งแรงถวงของ
โลกที่กดลงบนตัวคุณ หากไปชั่งน้ําหนักบนโลกพระจันทรซึ่งมีแรงโนมถวงนอยกวาโลก น้ําหนักที่กด
ลงตัวคุณบนโลกพระจันทรจะนอยกวาแรงที่กดบนโลก จึงทําใหน้ําหนักตัวของคุณนอยกวาน้ําหนักตัว
ที่ชั่งบนโลก การจะตัดสินวาใครอวน ใครผอม สวย ขี้เหร เหลานี้ก็ขึ้นอยูที่วาเราเอาใครและอะไรเปน
มาตรฐานของการวัด เราตองสมมุติคาปกติขึ้นมากอน เชน คนแขกชอบใหผูหญิงของเขามีเนื้อมีหนัง
มีพุงยอยอันเปนสัญลักษณของความร่ํารวย ซึ่งเขาเรียกหุนเชนนี้วาสวย แตในสายตาของหญิง
ชาวตะวันตกที่ชอบหุนเพรียว ๆ นั้นจะเห็นหญิงแขกอวน ในขณะที่หญิงแขกจะเห็นหญิงชาวตะวันตก
ผอมเกินไป ความรวย ความจน ก็ขึ้นอยูกับวาเราเอาใครและอะไรเปนมาตรฐานของการวัด กรรมกรที่
หาเชากินค่ําก็จะเห็นทุกคนรวยกวาตนหมดนอกจากขอทานเทานั้น (ขอทานบางคนอาจจะรวยกวา
กรรมกรก็เปนได) คนมีเงินเก็บจํานวนแสนก็จะเห็นคนมีเงินลานรวยกวาตน สวนคนรวยที่มีทรัพยสิน
สิบลาน ก็จะเห็นคนที่มีนอยกวานั้นจนกวาตนเองหมด แตเมื่อนําตนเองไปเปรียบเทียบกับคนมี
ทรัพยสินรอยลาน พันลาน ก็ยังคิดวาตัวเองจนอยู ถาเปรียบเทียบกับคนที่มีทรัพยสินหลายหมื่นลาน
ก็คงคิดวาตนเองยังจนมากอยู เปนตน
เพราะไมรูวาอะไรคือสิ่งสมบูรณ คงที่ และปติ อันจะใชเปนมาตรฐานของการวัดสิ่งตาง ๆ
ได ทุกสิ่งทุกอยางจึงตองวัดกันอยางเปรียบเทียบ หรือ สัมพัทธกันเชนนี้ จึงกอใหเกิดคําวลี
ภาษาอังกฤษวา relatively speaking หรือ พูดอยางสัมพัทธ ซึ่งเปนวลีที่ใชกันบอยมากใน
ชีวิตประจําวัน เพราะตองพูดใหรูเรื่องกอนวาเอาอะไรเปนหลัก มิเชนนั้น เถียงกันตาย แตถาหากเรารู
จุดคงที่ของจักรวาล วิถีชีวิตของเราจะตองเปลี่ยนไปเปนอีกลักษณะหนึ่ง
ไอนสไตนกับทฤษฎีเอกภาพ
หลังจากการคนพบทฤษฎีสัมพัทธภาพแลว ไอนสไตนก็ยังไดคนพบเรื่องกลศาสตร
ควอนตัม Quantum Mechanic ซึ่งความคิดหลักของทฤษฎีนี้คือ ทุกสิ่งทุกอยางในจักรวาลนี้เกิดขึ้น
และมีการทํางานเหมือนการโยนลูกเตา ผลของมันยอมตั้งอยูบนพื้นฐานของความอาจจะเปนไปได
probability เทานั้น ซึ่งเปนสิ่งที่ไอนสไตนยอมรับไมได เพราะคาของความอาจจะเปนไปไดเปรียบ
เหมือนกับการยืนอยูบนทาน้ําที่โคลงเคลง เอนเอียง หากใชภาษาของชาวพุทธแลว การคนพบกล
ศาสตรควอนตัมก็คือ การคนพบเรื่องอนิจจังนั่นเอง สิ่งที่ไอนสไตนตองการนั้น เปรียบเทียบไดกับ
ความหนักแนนของพื้นดิน หรือ สิ่งหนึ่งที่ใหคาอันคงที่ ปกติ ถาวร ซึ่งเขาคิดวาคณิตศาสตรเทานั้นที่
สามารถหยิบยื่นสิ่งที่เที่ยงแท แนนอน ใหกับเขาได ฉะนั้น แมไอนสไตนเปนผูคนพบเรื่องกลศาสตร
ควอนตัมอันเปนความรูที่ไดรับการตอยอดพัฒนาไปอยางรวดเร็วจนกลายเปนหัวใจของการพัฒนา
เทคโนโลยี่ในปจจุบันก็ตาม ไอนสไตนกลับไมไดใหเยื่อใย ไมสนใจ แถมดูหมิ่นความรูที่เขาไดคนพบ
เอง หรือ ถาพูดใหมดวยภาษาของชาวพุทธวา ไอนสไตนยอมรับความเปนอนิจจังของทุกสิ่งทุกอยาง
ไมได จึงขวนขวายหาสิ่งที่เปนนิจจัง หรือ ความเที่ยงแท ถาวร
สิ่งที่รั้งไอนสไตนไวคือ ความเปนนักการศาสนาของเขา ความเชื่อในพระเจา และนิสัย
สวนตัวที่จําเปนตองรูและเขาใจสิ่งตาง ๆ อยางแนชัด ถึงแกน และสามารถแปรความเขาใจนั้น ๆ
ออกมาเปนสูตรสําเร็จทางคณิตศาสตรที่แนนอน ซึ่งคณิตศาสตรเปนวิธีการเดียวที่ไอนสไตนสามารถ
เขาใจและเขาถึงได หลังจากที่ประธานาธิบดีคนแรกของอิสราเอลเสียชีวิต ไอนสไตนไดถูกเสนอชื่อ
ใหเปนประธานาธิบดีของชาวยิวคนตอไป เพราะความเปนนักฟสิกสที่ไดรับรางวัลโนเบลและเปนผูรัก
4
สันติภาพมาก จึงไดมีสวนชวยเหลือชาวยิวจนกอใหเกิดประเทศอิสราเอลขึ้นมาในป 1948 แต
ไอนสไตนปฏิเสธตําแหนงผูนําประเทศโดยใหเหตุผลวา
“การเมืองอยูไดเพียงชั่วครูชั่วยามเทานั้น แตสมการทางคณิตศาสตรสามารถอยูไดอยาง
ชั่วนิรันดร”
อยางไรก็ตาม ความรัก ความคลั่งไคล และบูชาในพระเจากับคณิตศาสตรไปพรอม ๆ กัน
นี่เอง ไดกลายเปนเชื้อเพลิงที่กอใหเกิดปฏิกิริยาลูกโซในหัวสมองหรือจิตใจของอัจฉริยะบุคคลผูนี้อีก
นับตั้งแตตนป 1920 เปนตนไป ไอนสไตนไดเขาสูยุคของการคิดคนหาทฤษฎีเอกภาพ The Unified
Theory หรือ ทฤษฎีสรรพสิ่ง The Theory of Everything
พระเจาไมเลนลูกเตา
ไอนสไตนเชื่อมั่นเหลือเกินวา ความเถรตรงของคณิตศาสตรเทานั้นที่สามารถอธิบายและ
ใหคําตอบแกทุกสิ่งทุกอยางในจักรวาลได จะสามารถรวมความรูทั้งหมดของจักรวาลเขาเปนหนึ่ง
เดียว รวมไปถึงการอธิบายวาพระเจาสรางจักรวาลนี้ไดอยางไร ดังที่ไอนสไตนพูดวา
“ขาพเจาตองการรูวาพระเจาสรางโลกนี้อยางไร ขาพเจาไมไดสนใจปรากฏการณนั้นนี้วา
มันเปนของธาตุนั้นหรือธาตุนี้ สิ่งเหลานี้เปนเพียงรายละเอียดเทานั้น ขาพเจาตองการรูความคิดของ
พระเจาตางหาก”
ทฤษฎีเอกภาพนี้จึงเปรียบเหมือนการหาสมการทางคณิตศาสตรที่สามารถอานจิตใจของพระ
เจาและงานศิลปะการสรางโลกและมนุษยของพระเจานั่นเอง ซึ่งเปนความคิดที่เต็มไปดวยความ
ทะเยอทะยานมาก ในเดือนเมษายน 1955 ไอนสไตนลมปวยและเขารับการรักษาในโรงพยาบาล
ปรินซตัน รัฐนิวเจอซี่ อันเปนเมืองที่เขาอยูในชวงบั้นปลายของชีวิต ไอนสไตนก็ยังไมลดละที่จะ
คิดคนสูตรทางคณิตศาสตรที่เขาหาอยูในชวงสามสิบปที่ผานมา เขามักมีกระดาษ ดินสอ อยูกับตัว
และขีดเขียนตัวเลข เครื่องหมาย และสมการทางคณิตศาสตรตาง ๆ อยูเสมอ ซึ่งพยาบาลคนหนึ่งที่
ดูแลเขาอยูไดหามาให จึงมีโอกาสไดเห็นพูดคุยสนทนากับไอนสไตน จึงรูวาไอนสไตนยังคงพยายาม
อานหัวสมองของพระเจาอยู พยาบาลรูสึกเห็นใจ อยากใหไอนสไตนพักผอนอยางเต็มที่ วันหนึ่ง
พยาบาลจึงพูดกับไอนสไตนอยางออนโยนและเปนหวงเปนใยวา
บางที พระเจาทานอาจจะไมอยากใหเราอานจิตใจของทานก็ไดนะ
Maybe God doesn’t want us to know his mind.
ทั้ง ๆ ที่ยังเจ็บไขไดปวยอยู ไอนสไตนพูดสวนกลับทันทีอยางดื้อรั้นพรอมกับสั่นศรีษะไปมาวา
พระเจาไมเลนลูกเตาหรอก คุณพยาบาล!
God doesn’t play dice, nurse!
ซึ่งเปนการพูดพาดพิงอยางดูหมิ่นถึงเรื่องกลศาสตรควอนตัมที่มีผล “อาจจะเปนไปได” หรือ อนิจจัง
นั่นเอง
ประวัติศาสตรจึงไดจารึกเหตุการณในชวง ๓๐ ปสุดทายของไอนสไตนในฐานะบุคคลที่
ลมเหลว จมปรักอยูในโลกของวิทยาศาสตรที่ลาหลัง โดดเดี่ยวเดียวดาย เพราะภายในแวดวง
นักวิทยาศาสตรชาวฟสิกสดวยกันแลว ตางรูวาทฤษฎีเอกภาพนี้เปนเรื่องเพอฝนของไอนสไตนเทา
นั้นเอง ไมมีทางจะเปนความจริงไดเลย การแสวงหาของไอนสไตนไรผลอยางสิ้นเชิง อัจฉริยะบุคคล
ผูนี้จึงไดจากโลกนี้ไปในวันที่ ๑๘ เมษายน ๑๙๕๕ ในขณะที่ในมือยังกําแผนกระดาษที่ขีดเขียน
สมการทางคณิตศาสตรอยู โดยที่ยังไมไดพบคําตอบที่เขาตองการหาแตอยางใด
ซึ่งเปนเรื่องนาเสียดายมาก หากไอนสไตนสามารถอานความคิดของพระเจาไดแลว เขา
อาจจะสามารถตอบคําถามมากมายที่ยาวเปนหางวาวที่ขึ้นตนดวยคําวา “ทําไม” เชน ทําไมพระเจาจึง
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ

Contenu connexe

Similaire à ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดfreelance
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลanong
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาDew Thamita
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Similaire à ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ (20)

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาล
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
 
5-kamma.pdf
5-kamma.pdf5-kamma.pdf
5-kamma.pdf
 

ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ

  • 1. ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ โดย ศุภวรรณ พิพัฒพรรณวงศ กรีน เนื้อหาของหนังสือเลมนี้เปนความพยายามของผูเขียนที่จะเชื่อมโยงความรูทาง วิทยาศาสตรของไอนสไตนกับภูมิปญญาทางธรรมอันเปนผลจากการตรัสรูของพระพุทธเจา ผูเขียนมีเหตุผลที่จะเชื่อวา ไมวาจะเปนคําถามเรื่องจุดคงที่ของจักรวาล (The absolute ruling point in nature) ที่อัลเบริต ไอนสไตนไดถามเปนทานแรกและตองการคนใหพบอัน เปนตนเหตุที่นําไปสูบทสรุปของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (The Theory of Relativity) หรือ ทฤษฎีสรรพสิ่ง (The Theory of Everything) ที่ไอนสไตนไดทุมเทชีวิตในชวง ๓๐ ป สุดทายเพื่อหาคําตอบ, คําถามที่ครอบจักรวาลของไอนสไตนเหลานี้ลวนชี้ไปสูความหมาย เดียวกันคือ ไอนสไตนตองการคนหาสภาวะสัจธรรมอันสูงสุดที่มีอยูในธรรมชาตินั่นเอง ซึ่ง คําตอบที่เปนอมตะนี้ พระพุทธเจาไดทรงคนพบแลวเมื่อ ๒๕๙๔ ปกอน ซึ่งทานใชคําวา พระนิพพาน หรือ การหมดทุกขอยางสิ้นเชิง จุดเดนและจุดสําคัญยิ่งของหนังสือเลมนี้อยูที่ตัวผูเขียนที่กลายืนยันวา “สัจธรรมอัน สูงสุดในธรรมชาติมีอยู” รวมทั้งกลาประกาศใหผูอานรูวา เธอรูแนชัดแลววาสัจธรรมอัน สูงสุดหรือสภาวะพระนิพพานคืออะไร เปนอยางไร จึงทําใหเธอสามารถตั้งศัพทใหมเพื่อให เหมาะสมกับยุคสมัยและเพื่อคนยุคใหมสามารถเขาถึงสัจธรรมไดงายขึ้น อันคือ ผัสสะ บริสุทธิ์ และ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ การประกาศตนเปนผูรูสภาวะสัจธรรมของผูเขียนนี้เอง ตัวตอตัว สุดทายที่ยังขาดอยูหรือเปน missing link ก็สามารถถูกวางลง กอใหเกิดภาพชัดเจนของ ชีวิตที่เชื่อมโยงกับจักรวาลทั้งหมดได และกอใหเกิดการประสานเชื่อมตอระหวางภูมิปญญา ทางโลก โดยเฉพาะวิทยาศาสตรกับภูมิปญญาทางศาสนาที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องราวของชีวิต การเกิดแกเจ็บตาย (บทที่ ๑) เนื้อหาของหนังสือเลมนี้จึงตั้งอยูบนรากฐานที่ผูเขียนอางวา เธอรูสัจธรรมอันสูงสุด ซึ่งเธอไดอธิบายสภาวะสัจธรรมในฐานะที่เปน “ที่นี่ เดี๋ยวนี้” (บทที่ ๖) โดยใชขอเปรียบเทียบของรถไฟสองขบวนที่วิ่งพรอมกัน เนื้อหาในบทที่ ๒, ๓, ๔ ของหนังสือเลมนี้คือ การวิเคราะหหัวขอและคําถามที่มัก ถามกันบอยอันเกี่ยวของกับเรื่องชีวิต และ จักรวาล เชน ตัวจริงของเราคืออะไร อยูที่ไหน จิตใจที่เปนปกติคืออะไร และ พรมแดนสุดทายของจักรวาลอยูที่ไหน ซึ่งผูเขียนไดพยายาม ประสานและขมวดหัวขอที่ดูเหมือนแตกตางกันมากเหลานี้เขาสูเรื่องสัจธรรมอันสูงสุด หรือ พระนิพพาน ซึ่งเปนเรื่องเดียวกับจุดคงที่ของจักรวาล อันเปนเนื้อหาสวนที่จะชวยใหผูอาน สามารถมองพระพุทธศาสนาวาเปนเรื่องใกลตัวเองมากกวาเปนเรื่องไกลสุดกู และมองใหม วา พระนิพพานไมใชเปนทางเลือก แตเปนเรื่องที่ทุกคนตองไปใหถึง เพราะ การไมรูจักพระ นิพพานก็คือการไมรูจักตัวเอง คือการไมรูจักความปกติที่แทจริงของจิตใจตัวเอง และคือ การไมรูวาที่จริงแลว มนุษยทุกคนลวนเปนศูนยกลางของจักรวาลของตนเอง จุดเดนอีกขอหนึ่งของหนังสือเลมนี้คือ ผูเขียนไดพยายามชวยเหลือปญญาชนที่บูชา การใชความคิดใหรูจักจุดยืนของตนเองที่เนื่องกับจักรวาล โดยแยกแยะใหเห็นอยางชัดเจน
  • 2. ถึงความแตกระหวางวิธีการหาความรูทางโลกที่ยังอิงกับความมืดบอดของอวิชชากับความรู ทางธรรมที่จะชวยใหรูจักตนเองอยางแทจริงอันเปนเนื้อหาของบทที่ ๔ และ ๕ ความสมบูรณของหนังสือเลมนี้คงจะอยูที่การบอกทางออกของชีวิต อันคือวิธีการที่ จะชวยใหผูอานสามารถคนพบจุดนิ่งของจักรวาลหรือสัจธรรมอันสูงสุดดวยตนเอง ซึ่งเปน เนื้อหาของบทที่ ๗ ผูเขียนเชื่อมั่นวา สติปฏฐานสี่หรือวิปสสนาเทานั้นที่จะเปนทางออกให ชาวโลกไดพบกับความสุขและสันติภาพที่แทจริง และเพื่อตอบสนองความตองการของ ผูอานที่อยากเริ่มการเดินทางเพื่อแสวงหาตัวเองทันทีที่อานทั้ง ๗ บทจบ ผูเขียนจึงไดนํา เรื่อง “การพาตัวใจกลับบาน” อันคือวิธีการฝกสติปฏฐานสี่ที่ไดประยุกตใหเหมาะสมกับคน ยุคใหมมาไวที่ภาคผนวกซึ่งทําใหหนังสือเลมนี้สมบูรณอยางเต็มเปยม
  • 3. 1 ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ บทนํา ผูรูจริงยอมพูดเรื่องเดียวเทานั้น คือ เรื่องการพาคนไปใหถึงพระนิพพาน และผูรู จริงเทานั้นจึงรูวา ความรูทางโลก เชน ความรูทางวิทยาศาสตรที่แมชาวโลกเห็นพอง ตองกันวามีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการดํารงอยูของชีวิตนั้น ก็ยังไมมีความสําคัญมาก เทากับความรูเรื่องการดับทุกขหรือการเขาถึงพระนิพพาน ฉะนั้น แมอัลเบิรต ไอนสไตน ได ทิ้งมรดกทางปญญาใหชาวโลกไวอยางมากมายมหาศาลเพียงใด ดิฉันก็ไมไดมอง ไอนสไตนในฐานะผูรูจริง เพราะไอนสไตนยังไมไดเปนผูรูจริง เขาเปนเพียงนักฟสิกสที่ ไดรับรางวัลโนเบล ความรูดานฟสิกสของไอนสไตนไดไขความลึกลับของธรรมชาติอัน เนื่องกับสสารและพลังงานอันคือเนื้อหาของทฤษฎีสัมพัทธภาพ และกลศาสตรควอนตัม อัน เปนความรูทางฟสิกสพื้นฐานที่ไดรับการตอยอดและพัฒนามาสูเทคโนโลยี่ในปจจุบันนี้ เทานั้น ซึ่งความรูเหลานี้ของไอนสไตนไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการพาคนไปนิพพานเพื่อ การหลุดพนจากความทุกขแตอยางใด ดิฉันไดพูดถึงเรื่องการตอตัวตอในหนังสือเรื่องใบไมกํามือเดียว หากจะ เปรียบเทียบกับเรื่องตัวตอของภาพชีวิตที่สมบูรณอันมีตัวเราเปนสวนหนึ่งที่กระจิดริดมาก ของจักรวาลทั้งหมดแลว ไอนสไตนก็คือบุคคลหนึ่งที่สามารถตอตัวตอกระจุกเล็ก ๆ มุมหนึ่ง อันเปนงานที่เขาสานตอจากนักวิทยาศาสตรที่มีชีวิตกอนหนาเขา เชน ไอแซก นิวตัน ไม เคิล ฟาราเดย อังตวน ลาวาซิเอ เอิรนท มาค เปนตน ซึ่งไอนสไตนอาจจะตอตัวตอของภาพ ชีวิตที่เนื่องกับจักรวาลในกระจุกใหญเพียงพอที่ทําใหภาพของมุมนั้น ๆ ชัดเจนมากขึ้น คือ สามารถไขกุญแจเขาไปสูความลึกลับของปรากฏการณธรรมชาติของเอกภพโดยเฉพาะเรื่อง แสง การเคลื่อนของแสง ของอวกาศและเวลาไดมากขึ้นจนกอใหเกิดสูตรทางคณิตศาสตร e=mc2 ที่ดูเรียบงายแตซับซอน รวมทั้งเปดเผยคุณภาพทั้งฝายดําสนิท (การผลิตระเบิดป รมณู) และฝายขาวอยางขุนมัว (เทคโนโลยี่ทางวัตถุ)ของธรรมชาติ ซึ่งความรูเหลานี้ของ ไอนสไตนไดเปดโอกาสใหนักฟสิกสรุนหลังตอยอดความรูของเขาไดอยางไมหยุดยั้งจน กลายเปนความรูพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยี่ของทุกวันนี้ แตแมไอนสไตนจะรูอะไรไดมากมาย อัจฉริยะบุคคลทานนี้ก็ยังไมสามารถตอ ภาพทั้งหมดของชีวิตที่สัมพันกับจักรวาลไดหมด เพราะเขายังไมพบ “ตัวตอตัวสุดทาย The missing link” ที่สามารถทําใหภาพทั้งหมดของชีวิตชัดเจนและสมบูรณได ความสามารถใน การเห็นภาพรวมของชีวิตเพราะสามารถวางตัวตอตัวสุดทายลงไดเปนความสามารถของผูรู จริงเทานั้นอันมีพระพุทธเจาเปนบุคคลทานแรกของโลกที่ตอภาพทั้งหมดของชีวิตที่ ประสานกับจักรวาลไดสําเร็จ ฉะนั้น สิ่งที่ชาวโลกโดยเฉพาะผูคลั่งไคลบูชาความสําเร็จและความมหัศจรรย ของวิทยาศาสตรตองตระหนักใหชัดเจนคือ ไอนสไตนก็ยังเปนมนุษยคนหนึ่งที่อยูในขั้นตอน ของการแสวงหาสัจธรรมอันสูงสุดเหมือนมนุษยคนอื่น ๆ อีกมากมาย สัจธรรมอันสูงสุดนี้ ดิฉันไดพูดแลววาเปนสภาวะเดียวกับพระนิพพาน พระเจา เตา ตนไมแหงชีวิต หรือ ที่นี่
  • 4. 2 เดี๋ยวนี้ ดิฉันไดตั้งศัพทใหมที่รัดกุม และเหมาะกับยุคสมัยที่คนรุนใหมสามารถเขาใจได งายขึ้นคือ สภาวะ “ผัสสะบริสุทธิ์ The innocent perception” นั่นเอง ในป ค.ศ. 1954/๒๔๙๗ ไอนสไตนไดเขียนไวในหนังสือเรื่อง The Human Side ยอมรับเองวา คําตอบที่เขาตองการนั้นอาจจะอยูในพุทธศาสนาแลวก็เปนได เขาพูดวา ศาสนาในอนาคตจะเปนศาสนาที่เนื่องกับจักรวาล ควรอยูเหนือพระเจาสวนตัว หลีกเลี่ยงลัทธิกฏเกณฑที่ไรขอพิสูจน ควรครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติและจิตวิญญาณ ควร ตั้งอยูบนรากฐานของศาสนาที่เกิดจากประสบการณของทุกสิ่งที่สรางเอกภาพอันมี ความหมาย ซึ่งพระพุทธศาสนาดูเหมือนจะมีสิ่งเหลานี้อยู ศาสนาพุทธนาจะเปนศาสนาที่ สามารถแกไขปญหาตาง ๆ ของยุคสมัยได การคาดการณของไอนสไตนถูกตองทีเดียว นี่จึงเปนคําพูดของไอนสไตนที่ดิฉัน พยายามจะชวยตอยอดประสานใหพบกับความรูของพระพุทธเจาใหจงได จุดคงที่ของ จักรวาลที่ไอนสไตนตองการหากอนทฤษฎีสัมพัทธภาพรวมทั้งทฤษฎีเอกภาพที่เขาแสวงหา อยูในชวง ๓๐ ปสุดทายของชีวิตนั้น ไมใชอะไรอื่น มันคือสภาวะสัจธรรมอันสูงสุดหรือพระ นิพพานนั่นเอง ไอนสไตนหาไมพบ เพราะขาดปจจัยสําคัญ คือ ไมไดพบผูรูจริง ผูอานอาจจะสงสัยวา ดิฉันไมไดเปนนักฟสิกส แลวดิฉันจะเอาความรูทางฟสิกส ที่ไหนมาตอยอดความรูของไอนสไตนได คําตอบคือ ดิฉันไมไดตองการหยิบยื่นความรูเรื่อง ฟสิกสใหแกคุณ จึงไมจําเปนตองรูรายละเอียดของฟสิกสที่ซับซอนเขาใจยาก การเห็น ภาพทั้งหมดของชีวิต หรือ การรูสภาวะพระนิพพานคือ การรูทิศทางของชีวิตที่จะทําใหคน หมดทุกข รูวาความรูไหนกําลังชวยใหคนเดินทางไปถูกทิศหรือผิดทิศ เขาใกลหรือหางไกล จากพระนิพพานมากแคไหน ฉะนั้น สิ่งที่ดิฉันจะพูดอันเนื่องกับความคิดของไอนสไตนใน หนังสือเลมนี้จึงไมใชเรื่องฟสิกสที่จะนํามาตอยอดใชพัฒนาเทคโนโลยี่ได แตเปนเรื่องการ ปรับเข็มทิศชีวิตเทานั้น เปนเรื่องการเบนเข็มทิศชีวิตเพื่อชวยใหผูสนใจงานของไอนสไตน มาสนใจเรื่องราวของการหมดทุกขหรือไปใหถึงพระนิพพานเทานั้น ฉะนั้น ดิฉันจะพูดพาดพิงเพียงความคิดหลักอันเปนสวนของโครงสรางใหญ เทานั้น ซึ่งถึงแมดิฉันจะเขาใจคลาดเคลื่อนไปบางนิดหนอย ก็ยังไมเปนไร ไมใชเรื่องคอ ขาดบาดตาย เพราะสิ่งที่ดิฉันตองการใหคุณมองออกคือ วิธีการเดินสายความคิดของ ไอนสไตนรวมทั้งปญญาชนโดยทั่วไปนั้น ลวนเปนเรื่องการเดินเขาไปในทอของความคิดอัน เปนปญญาฝายโลก ที่ดิฉันเรียกวา ทอแหงความรูทางโลก The tube of intellect ในสวนความคิดหลักอันเปนโครงสรางใหญของไอนสไตนนั้น ถาพูดอยางสรุปก็มี เพียงนิดเดียวเทานั้น ซึ่งความรูสวนนี้ดิฉันก็ไดรับจากคุณครูที่สอนวิทยาศาสตรในสมัยเรียน ชั้นมัธยมซึ่งสอนอยางสรุปยอ ๆ เทานั้นและยังมีหลงเหลืออยูบางในความทรงจําของดิฉัน โดยเฉพาะเรื่องรถไฟสองขบวนวิ่งดวยความเร็วพรอมกัน นอกจากนั้น ดิฉันมักจะดึงความคิด หลัก ๆ ออกมาจากหนังสือบรรณานุกรมของเยาวชน ซึ่งผูเขียนมักพูดสรุปความคิดในสวนที่ เปนโครงสรางอยางยอ ๆ ดวยภาษาที่เขาใจไดงาย ๆ ประโยคที่ดิฉันไดพบและนําออกมาใช อยูหลายปแลวนั้นคือ อะไรคือจุดนิ่งที่สมบูรณและเปนอนันตกาลของจักรวาล What is the absolute ruling point in nature? ซึ่งดิฉันเห็นวาเปนประโยคที่ชวยใหเขาใจความคิดหลัก
  • 5. 3 ของไอนสไตนไดงาย ๆ เมื่ออานพบก็รูทันทีวา นี่เปนประโยคที่ดิฉันสามารถใชเชื่อมตอกับ ความรูเรื่องนิพพานของพระพุทธเจาไดดวย จึงใชมาตลอด นอกจากนั้น ดิฉันยังใหความสนใจดูสารคดีทางวิทยาศาสตรตาง ๆ โดยเฉพาะใน ปนี้ โทรทัศนของอังกฤษไดรวมฉลองการครบรอบรอยปของผลงานอันยิ่งใหญของ ไอนสไตน เปนปแหงฟสิกสโลก (World Year of Physics) จึงมีสารคดีตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับผลงานทางดานฟสิกสของอัจฉริยะบุคคลทานนี้มาก ซึ่งเอื้ออํานวยใหดิฉันเขาใจงานของ ไอนสไตนมากขึ้นอีกนิดหนอย จึงพยายามจับจุดสําคัญที่ชวยใหดิฉันสามารถเชื่อมโยง ความคิดของนักฟสิกสผูโดงดังทานนี้กับความคิดของพระพุทธเจา นี่คือเปาหมายหลักที่ ดิฉันจะพยายามทําใหดีที่สุด นั่นคือ หยิบยื่นสัจธรรมใหคุณดวยการเขาถึงอยางเปนกลาง ๆ ที่สุด หางจากกรอบประเพณีของศาสนาที่มักมีความขัดแยงซึ่งกันและกัน การที่จะเขาใจหนังสือเลมนี้ไดอยางถองแทและถึงแกนของมันนั้น ผูอานควร ตองเขาใจใหชัดเจนวา เนื้อหาของหนังสือเลมนี้เปนความรูที่ตอเนื่องจากหนังสือเลมกอน ๆ ของดิฉัน คือ ใบไมกํามือเดียว คูมือชีวิตทั้งสองภาค และ อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน หนังสือทั้ง ๔ เลมรวมทั้งเลมนี้ลวนเปนผลผลิตจากการปฏิบัติธรรมของดิฉัน จนถึงจุดที่ดิฉัน แนใจแลววา ประสบการณที่ดิฉันเรียกวา ผัสสะบริสุทธิ์ เปนสภาวะเดียวกับ พระนิพพาน หรือ สัจธรรมอันสูงสุด ฉะนั้น วิธีการนําเสนอเรื่องตาง ๆ ของทุกบทในหนังสือเลมนี้อาจจะเปนวิธีการ ใหมสําหรับปญญาชนที่ยังไมชินกับงานเขียนของดิฉัน นั่นคือ ดิฉันเขียนจาก “ผลมาสูเหตุ” ไมใชเขียนจาก “เหตุไปสูผล” ซึ่งเปนวิธีการทางวิทยาศาสตรที่ปญญาชนเคยชินมากกวา การเขียนจาก “ผลมาสูเหตุ” นี้ ยังไมมีอยูในสารบบใด ๆ ของความรูทางโลก นี่เปนวิธีการ เขียนและการสอนของผูรูสัจธรรมอันสูงสุดเทานั้น ดิฉันไดอธิบายไวแลวในบทที่สองของหนังสือใบไมกํามือเดียววา การตรัสรูของ พระพุทธเจาหมายความวา ทานไดพบสภาวะหนึ่งที่คนอื่นยังไมรูจัก นั่นคือ สภาวะพระ นิพพาน และ ทานก็ทรงทราบอยางแนชัดวา สภาวะนี้คือ เปาหมายปลายทางของทุกชีวิต เปนที่สุดของทุกอยาง เปนสภาวะที่ทุกคนตองไปใหถึง ฉะนั้น สภาวะพระนิพพานคือ ผล (นิโรธ) ซึ่งดิฉันเปรียบเหมือนการพบสระน้ําอมฤตที่อยูในปา เมื่อใครไดดื่มแลว จะมีชีวิต อมตะ เมื่อพระพุทธเจาพบสระน้ําอมฤต ทานจึงออกจากปาเพื่อมาบอกทางใหคนทั่วไปไดรู ทางไปถึงสระน้ําอมฤตนั้น การบอกทางนี้จึงเปนเหตุ (มรรค) ที่สาวขึ้นไปสูผล แตเปนผลที่ พระพุทธเจารูกอนแลว ฉะนั้น การวางขั้นตอนของอริยสัจสี่นั้น ทานจึงทรงวาง นิโรธ มากอน องคมรรค หรือ “ผลมาสูเหตุ” ดวยเหตุผลเชนนี้ ถาจะเปรียบเทียบกับการตอตัวตอที่พูดเมื่อสักครูนี้ก็หมายความวา พระพุทธเจา เห็นภาพทั้งหมดของรูปสําเร็จแลว จึงสามารถสอนใหคนตอตัวตอที่ยังกระจัดกระจายอยูดวย วิธีการที่เร็วที่สุด เพราะรูวาชิ้นไหนตองวางตรงไหน จึงเปนการสอนการตอตัวตอแบบ “ผล มาสูเหตุ” เชนกัน วิธีการสอนเชนนี้จึงเปนเรื่องใหมสําหรับปญญาชน เปนเรื่องที่ปญญาชน ตองระวังมาก ไมควรรีบสรุปหรือตัดสินหนังสือเลมนี้อยางงาย ๆ และรวดเร็วเกินไป เพียง เพราะสิ่งที่อานอาจจะดูขัดกับความรูสึกและความเขาใจของตนเอง ในหนังสือเรื่อง “อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน” นั้น ดิฉันจําเปนตองใชหนังสือทั้ง เลมนี้อธิบายใหผูอานยอมรับเพียงเรื่องเดียวเทานั้นคือ ใหยอมรับวาดิฉันรูจักสภาวะพระ นิพพาน เพราะดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานนี่เอง ดิฉันจึงสามารถตั้งชื่อพระนิพพานใหม เพื่อใหเหมาะกับยุคสมัยคือ ผัสสะบริสุทธิ์ หรือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ตรงนี้แหละ คือ จุดเริ่มตนของ ความรูทั้งหลายที่ทําใหดิฉันสามารถเขียนหนังสือเลมนี้ไดดวยวิธีการสอนแบบ “ผลมาสู เหตุ” และพระนิพพานอีกเปนจุดที่ทุกเรื่องตองมาจบที่ตรงนี้เชนกัน
  • 6. 4 พระนิพพานหรือผัสสะบริสุทธิ์คือ “ผล” ที่ดิฉันไดเห็นแลว รูแลว แนใจแลววา “ใชแน” จึงนําประเด็นหัวขอที่ทาทายของบทตาง ๆ ขึ้นมาพูด ประสาน และเทียบเคียง ซึ่ง ประเด็นเหลานี้เปนเรื่องที่ดิฉันไดเขียนเปนภาษาอังกฤษไวกอนแลวในหนังสือเรื่อง Do You Know What A Normal Mind Is? ซึ่งลวนเปนประเด็นที่เปนจุดออนของชาวตะวันตก เชน การถามคําถามเรื่องการแสวงหาตัวจริงของเราซึ่งดิฉันเอาออกมาจากรายการสนทนาใน โทรทัศน การตั้งคําถามเรื่อง “จิตใจที่ปกติ” เปนอยางไรเพราะไดนั่งรถไปกับลูกศิษยที่เปน โรคจิต ตั้งคําถามวา “พรมแดนสุดทายของจักรวาล” อยูที่ไหนเพราะนี่เปนอิทธิพลของหนัง โทรทัศนเรื่อง Star Trek ที่คนติดตามมารวม ๓๐ ป เปนวลีที่ชาวตะวันตกรูจักกันดี ดิฉันจึงนําคําถามเหลานี้มาเชื่อมประสานกับเรื่องการแสวงหา “จุดคงที่ของ จักรวาล” ซึ่งเปนเรื่องที่อยูตรงขามกับความคิดเรื่องสัมพัทธภาพของไอนสไตน ความคิด เรื่องสัมพัทธภาพของไอนสไตนเปนการเดินสายความคิดที่ใกลเคียงกับการถามเรื่องพระ นิพพานของพระพุทธเจามากที่สุด เพราะถามวาจุดนิ่งของจักรวาลที่จะเอามาใชเปน มาตรฐานการวัดของทุกสิ่งอยูที่ไหน ซึ่งไอนสไตนเห็นวาไมมี เพราะจักรวาลเคลื่อน ตลอดเวลา จึงกอใหเกิดผลคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ซึ่งเปนเรื่องเดียวกับการยอมรับสภาวะ อนิจจังของทุกสิ่ง เปนสภาวะที่ไอนสไตนไดเดินมาถึงสุดสายปานของ “การใชความคิด” แลว ไปตอไมไดแลว ดิฉันจึงชวยประสานโดยการชวยขีดเสนใตคําถามที่อาจจะยังไมชัดเจนใหเขา เพราะเขายังคนไมพบ นั่นคือ จุดคงที่ของจักรวาลคืออะไร อยูที่ไหน What is the absolute ruling point in nature? ถึงแมไอนสไตนไมไดใช คําพูดเชนนี้ ไมไดถามเชนนี้ คนรุนหลังสรุปใหเขาดังที่ดิฉันเอาออกมาจากหนังสือสารานุกรมภาษาอังกฤษ แตนี่เปน คําถามที่จะพาผูถามไปสูเรื่องพระนิพพานซึ่งเปนนิจจัง เปนเรื่องคงที่ อันเปนสภาวะที่ ตรงกันขามกับอนิจจังหรือสัมพัทธภาพ ฉะนั้น ประเด็นเหลานี้จึงเปนเรื่องที่ดิฉันตองการชวยผูอานชาวตะวันตกใหเขาใจ เปาหมายปลายทางของชีวิตไดชัดเจนขึ้น คือ แทนที่จะพูดวา นิพพานเปนเปาหมาย ปลายทางของชีวิต ดิฉันพูดใหมวา เปาหมายชีวิตอยูที่การหาตัวจริงของเราใหพบ หรือ เปาหมายชีวิตอยูที่การสามารถเขาถึงจิตใจที่เปนปกติ หรือ เปาหมายชีวิตอยูที่การสามารถ เขาถึงจุดปกติหรือจุดคงที่หรือไปถึงพรมแดนสุดทายของจักรวาล ซึ่งดิฉันเห็นวาการพูด เชนนี้ อธิบายเชนนี้ จะชวยปญญาชนของยุคนี้เขาใจไดดีกวาการพูดวา “เปาหมายชีวิตอยูที่ การไปใหถึงพระนิพพาน” เพราะคําวา พระนิพพาน ไดถูกวัฒนธรรมทางศาสนาปกคลุม บิดเบือนจนคนเขาใจผิดไปมากแลว มักคิดวาเปนเรื่องไกลเกินตัว เปนเรื่องของพระอริยะที่ ไมเกี่ยวของกับตนเองเลย หรือไมก็เปนเรื่องของคนตายแลว ไมเกี่ยวกับชีวิตของคน ธรรมดาทั่วไปอยางเราทานทั้งหลายที่กําลังดิ้นรนทํามาหากินอยู ซึ่งเปนเรื่องเขาใจผิดหมด นี่เปนสาเหตุใหญที่ดิฉันจําเปนตองสรางและจับประเด็นเหลานี้มาชนกัน ประสานกัน เพื่อ ชวยใหผูอานเริ่มคิดในรองทางที่ถูกตองโดยใชภาษาของคนรวมสมัย และเพื่อพาพวกเขา ไปพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเปนจุดอันติมะที่ “ทุกเรื่อง” อันเกี่ยวของกับชีวิต โลก และ จักรวาล จะตองไปลงที่จุดนั้นหมด ปญหาจึงอยูตรงที่วา หากผูอานไมยอมรับวา ดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานอยาง แทจริงแลวไซร ยอมตองมองประเด็นเหลานั้น เปนเพียงสมมุติฐานที่ดิฉันตั้งขึ้นมาและพูด เหมาเอาเอง สรุปเองโดยไมมีหลักฐาน ขอมูลมาสนับสนุนอยางเพียงพอ เหมือนจับแพะชน แกะ จะทําใหคุณสับสนและไมไดรับประโยชนจากการอานหนังสือเลมนี้อยางเต็มที่ เพราะ สิ่งที่คุณเห็นวาเปน “สมมุติฐาน hypothesis ” ของดิฉันนั้น สําหรับดิฉันแลวมันเปน “ขอเท็จจริง fact” ที่ดิฉันไดรูแลว เห็นแลว ไมใชเรื่องการคิด จินตนาการอยางเพอฝนเลื่อน ลอยแตอยางใด
  • 7. 5 เพราะดิฉันรูวาพระนิพพานคืออะไร ดิฉันจึงสามารถพูดไดวา ตัวจริง ๆ ของเราคือ อะไร อยูที่ไหน รูวาจิตใจที่ปกติเปนอยางไร พรมแดนสุดทายของจักรวาลอยูที่ไหน จุดคงที่ หรือจุดปกติของจักรวาลอยูที่ไหนและเปนอยางไร และปญญาชนกําลังติดอยูใน “กลอง ความคิด” หรือ “กลองความรูทางโลก” อยางไร เพราะคําถามเหลานี้เปนคําถามเดียวกับ คําถามวา พระนิพพานคืออะไร อยูที่ไหนนั่นเอง ซึ่งดิฉันอธิบายคําตอบเรื่องพระนิพพานดวย คําใหมคือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ใครรูจักและสามารถเขาถึง ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ไดละก็ คนนั้นก็เขาถึง พระ นิพพานแลว เพราะเปนสภาวะเดียวกัน ซึ่งคําวา ที่นี่ เดี๋ยวนี้ หรือ ผัสสะบริสุทธิ์ เปนคําวลีที่ เขาใจและเขาถึงไดงายกวาพระนิพพานมากทีเดียว เพราะดิฉันรูแลววาพระนิพพานคืออะไร ดิฉันจึงสามารถนําคําเหลานี้มา เทียบเคียงกับคําวา พระเจา เตา ตนไมแหงชีวิต เพื่อชวยเหลือศาสนิกอื่นใหเขาใจ เปาหมายของชีวิตและชวยใหเขาเดินทางไปหาพระเจาของเขาไดดวยวิธีการของ พระพุทธเจาคือ การปฏิบัติสติปฏฐานสี่ ซึ่งเปนเรื่องสากลที่มนุษยทุกคนทําได ดิฉันจึง สามารถกระจายความรูออกมาไดเชนนี้ จุดออนของหนังสือเลมนี้คือ ความรูทางฟสิกสที่ดิฉันไมสามารถเขาใจไดหมด และถองแท แตถึงแมความรูทางฟสิกสของหนังสือเลมนี้จะผิดหมด ก็ยังไมเปนไร ไมนาหวง มากเทาการสรุปสภาวะพระนิพพานอยางผิด ๆ เพราะความรูทางโลกทุกอยางลวนเปน ความรูที่เกิดใน “ทอความคิด” แมจะถูกตองอยางไรในสายตาของปญญาชน สําหรับคนที่รู วาสัจธรรมคืออะไรแลว มันก็ยัง “คด” อยูนั่นเอง แมไอนสไตนมานั่งเบื้องหนาดิฉันและ อธิบายใหดิฉันเขาใจความรูของเขาทั้งหมดจนดิฉันเขาใจแจมแจงก็ตาม ดิฉันก็ยังจะพูด เหมือนเดิมวา ไอนสไตนยังไมใชผูรูเห็นสัจธรรมอันสูงสุดของจักรวาลอยางแทจริง เพราะ ผูรูสัจธรรมจริงจะพูดเพียงเรื่องเดียวเทานั้น คือ พูดชักชวนคนไปนิพพาน นี่เปนประโยคที่มีความหมายลึกซึ้งมาก ที่คุณอาจตองใชเวลาทั้งชีวิตปฏิบัติ วิปสสนา จึงสามารถเขาใจความหมายของมันได หากคุณอานเฉย ๆ โดยไมปฏิบัติวิปสสนา แลว คุณจะไมเขาใจวาทําไมดิฉันจึงกลา “อวดอุตริ” ทาทายอัจฉริยบุคคลอยางไอนสไตน และกลาพูดวา เขายังไมใชผูรูจริง ฉะนั้น กอนที่ปญญาชนโดยเฉพาะผูเชี่ยวชาญดานฟสิกส จะรวมตัวกัน “เหยียบ” ดิฉันเพราะเห็นจุดออนของหนังสือเลมนี้แลวละก็ อยางนอยที่สุด คุณตองเขาใจความหมายของคําวา “ผัสสะบริสุทธิ์” หรือ ไมก็ “ที่นี่ เดี๋ยวนี้” ในลักษณะของ “ประสบการณ experience” หรือ “สภาวะที่แทจริง” ที่เกิดในตัวคุณเสียกอน คุณจึงสามารถ วิจารณหนังสือเลมนี้ไดอยางถูกตอง ถาคุณไมมีสภาวะนั้นแลว และไมเห็นดวยกับสิ่งที่ดิฉัน เขียน ดิฉันก็ไมเห็นหนทางที่คุณจะวิจารณหนังสือเลมนี้ไดอยางไร เพราะจะตกอยูใน รูปลักษณะ “พูดกันคนละเรื่อง” คือ คุณพูดในขณะที่อยูในกลองความคิดหรือทอความรูทาง โลกอันมืดมิด (บทที่ ๕) ในขณะที่ดิฉันกําลังพูดจากจุด ก อันเปนจุดคงที่หรือพรมแดน สุดทายของจักรวาล (บทที่ ๔) การใชคําศัพททางธรรมในหนังสือเลมนี้ก็เชนกัน คนที่ศึกษาพระอภิธรรมคง อยากตําหนิดิฉันเชนกันวาใชคําวา “จิตใจ” อยางผิด ๆ คําวา จิต ในหนังสือเลมนี้นาจะใชคํา วา เจตสิก จึงจะถูกตอง เพราะดิฉันรูแนชัดวาพระนิพพานคืออะไรนี่เอง ดิฉันจึงกลาใชคําวา จิตใจ ในความหมายที่แตกตางจากพุทธพจน ซึ่งดิฉันก็ตระหนักชัดแลว แตไมเห็นวาเปน ความเสียหายแตอยางใดเชนกัน เพราะดิฉันมีเจตนาเพื่อชวยเหลือผูอานใหเขาใจเรื่องการ ทํางานของจิตใจตนเองชัดขึ้น จึงใชคําที่ดิฉันเห็นวาคนอานจะเขาใจไดงายกวาคําศัพทที่ ยาก ๆ เชน เจตสิก ซึ่งคนสวนมากไมชินเทาคําวา จิตใจ การใชคําวา จิตใจ และแทนมัน ดวยคําวา ทอมกับเจอรี่ เปนวิธีการใหมที่ดิฉันไดสรางขึ้นมาเพื่อชวยเหลือคนที่ไมถนัด คําศัพทยาก ๆ ทางอภิธรรม และดิฉันก็ไดใชมาอยางตอเนื่องตั้งแตหนังสือเลมกอน ๆ ของ ดิฉันแลว จึงจะใชตอไป
  • 8. 6 ขอใหเขาใจวา หากพระนิพพานเปนเปาหมายปลายทางที่ดิฉันพยายามจะชวย ใหผูอานไปถึงแลวละก็ การเดินเรื่องตั้งแตการตั้งประเด็นจนถึงบทสรุปในแตละบทของ หนังสือเลมนี้ เปรียบเทียบไดเหมือนวา ดิฉันกําลังวาดแผนที่หยาบ ๆ ใหผูอาน เหมือนดิฉัน ควากระดาษมาแผนหนึ่งแลวก็ลากเสนแบบหยาบ ๆ พอใหคนอานแผนที่รูทางไปนิพพาน หรือไป “ภูกระดึงทางธรรม” แนนอน แผนที่หยาบ ๆ ที่ดิฉันลากนี้ยอมไมเหมือนแผนที่ฉบับดั้งเดิมของ พระพุทธเจาหรือพระไตรปฎก แตตราบใดที่คนอานแผนที่หยาบ ๆ ของดิฉันสามารถเดิน ตามการบอกทางของดิฉันและสามารถไปถึงภูกระดึงทางธรรมหรือพระนิพพานไดแลวละก็ ดิฉันเห็นวาหนังสือเลมนี้ก็ไดบรรลุเปาหมายของมันแลว หนทางเขาสูกรุงโรมยอมมีมากกวา หนึ่งเสนทาง ใครจะเดินทางไหนก็ได ตราบใดที่ไมหลงทิศ ขอใหถึงกรุงโรมเปนใชได หากผูอานเขาใจไดตามเนื้อหาที่ดิฉันนําเสนอนี้และยอมปฏิบัติสติปฏฐานสี่หรือ พาตัวใจกลับบานแลวละก็ ดิฉันเห็นวาเพียงพอแลว หนังสือเลมนี้ไดบรรลุเปาหมายที่ดิฉัน ตองการแลว แมจะสามารถชวยเหลือคนไทยเพียงคนเดียวใหยอมปฏิบัติสติปฏฐานสี่ ก็ คุมคาตอความพยายามของดิฉันมากแลว ปญหาใหญจึงมีเรื่องเดียวเทานั้นวา คุณยอมรับในภูมิธรรมของดิฉันหรือไม คุณ ยอมรับหรือไมวา ดิฉันรูจักสภาวะพระนิพพานและยินยอมใหดิฉันเปนผูนําทางคุณไป นิพพาน ถาคุณยอมรับ คุณจะไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ไมมากก็นอย แตหากคุณ ยอมรับไมไดวาผูหญิงแมบานคนนี้จะรูจักพระนิพพานไดอยางไร และไมเชื่อวาดิฉันมีภูมิ ธรรมดังกลาวแลว แมคุณจะพยายามอยางไร คุณก็คงอดไมไดที่จะมีอคติตอดิฉันอยูในใจ และจะไมไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ เพื่อใหความยุติธรรมทั้งกับดิฉันและตัวคุณเอง ดิฉันเห็นวา คุณควรอานเรื่อง “อวดอุตริมนุสธรรมที่มีในตน” ดวย หรือไมก็มาเขาอบรมกับดิฉันจนสามารถเขาบานที่สี่ สามารถจับสภาวะของ ผัสสะบริสุทธิ์ หรือ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ได ประสบการณอันเปน “ผล” ที่ดิฉัน ไดพูดถึงนี้เทานั้น จึงจะชวยใหคุณเขาใจหนังสือเลมนี้ไดดีขึ้น ดิฉันไดนําเรื่อง “พาตัวใจกลับบานกันเถิด” มาไวเปนภาคผนวกเพื่อทําใหหนังสือ เลมนี้มีความสมบูรณมากขึ้น ประสบการณของดิฉันบอกวา ผูอานทานใดที่สามารถเขาใจ เนื้อหาของหนังสือเลมนี้แลว ยอมมีความกระตือรือรนอยากเรงรีบปฏิบัติสติปฏฐานสี่เพื่อให เห็นสภาวะของผัสสะบริสุทธิ์อยางรวดเร็วที่สุด ซึ่งเปนธรรมดาของผูที่มีบุญบารมีพรอม ภาคผนวกของหนังสือเลมนี้จึงสามารถตอบสนองความตองการของผูอานไดทันที ดิฉันไดกลับมาอบรมธรรมที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในเดือนมกราคม ๒๕๔๙ คุณกฤษฎาพร ชุมสาย ณ อยุธยา คุณสานุพันธุ ตันติศิริวัฒน และคุณอิสวเรศ ตโนมุท แหง สํานักพิมพฟรีมายดไดมารวมอบรมธรรมกับดิฉันดวย มีความซาบซึ้งในคําสอนมาก เมื่อ ทราบถึงจุดประสงคของดิฉันที่ตองการเผยแผพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาโดยผาน แนวคิดของไอนสไตนเชนนี้แลว ทั้งสามทานจึงปวรณาที่จะชวยเหลือดิฉันอยางเต็มที่ ดิฉันจึงใครถือโอกาสนี้ขอบพระคุณและอนุโมทนาในกุศลจิตของบุคคลทั้งสาม และทีมงามของสํานักพิมพฟรีมายดทุกทานที่เขามาเปนแขนขาชวยเหลือดิฉันในการกวาด ตอนคนหมูมากใหออกจากถนนวงแหวนของสังสารวัฏ ซึ่งเปนการชวยจรรโลงและสืบทอด พระพุทธศาสนาใหยืนนานตอไปตราบนานเทานาน ดิฉันหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้คงชวยใหคุณเขาใจชีวิตไดชัดเจนมากขึ้น ดวยความเมตตา ศุภวรรณ พิพัฒพรรณวงศ กรีน
  • 10. 1 บทที่หนึ่ง ไอนสไตนถาม พระพุทธเจาตอบ Einstein Questions, Buddha Answers ความสําเร็จที่ยิ่งใหญอันทําใหอัลเบิรต ไอนสไตน กลายเปนอัจฉริยะบุคคลที่ถูกจารึกลง ในประวัติศาสตรของโลกเกิดขึ้นเมื่อหนึ่งรอยปกอนในป ค.ศ. 1905 เมื่อผลงานของเขาไดรับการ ตีพิมพพรอมกันถึง ๕ ชิ้น และชิ้นหนึ่งคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพจําเพาะอันมีสมการ e = mc2 ที่สราง คุณอยางอเนกอนันตพอ ๆ กับการสรางโทษอยางมหันต กอนหนาทฤษฎีสัมพัทธภาพ ดิฉันซาบซึ้งในบุญคุณของอัลเบรต ไอนสไตน ที่ไดตั้งคําถามที่สําคัญมากที่สุดแทน มนุษยชาติ นั่นคือ อะไรคือจุดคงที่อันเปนอนันตยะที่สมบูรณของจักรวาล What is the absolute ruling point in nature? ดิฉันไมไดเปนนักวิทยาศาสตรและไมคอยเขาใจรายละเอียดของทฤษฎีสัมพัทธภาพที่ ซับซอนมากนัก ซึ่งที่จริงแลวไมใชเรื่องงายที่จะเขาใจ ดังที่นักขาวมักขอรองใหไอนสไตนสรุปสั้น ๆ เพื่อใหคนทั่วไปเขาใจไดงาย ๆ วาทฤษฎีสัมพัทธภาพนี้คืออะไร ทําไมจึงสําคัญตอมนุษยชาติมาก ไอนสไตนมักรูสึกลําบากใจเพราะนี่เปนความรูที่เขาปลุกปล้ําอยูถึง ๑๕ ป แลวจะใหมาสรุปใหคนฟง อยางสั้น ๆ ไดอยางไร ไอนสไตนจึงเฉตอบนักขาวดวยเรื่องที่ขบขันวา “คุณลองเอามือวางเหนือเตารอน ๆ สักหนึ่งนาทีสิ คุณจะรูสึกวามันนานเหมือนหนึ่งชั่วโมง แตหากคุณไปนั่งอยูใกลหญิงสาวสวยสักหนึ่งชั่วโมง คุณจะรูสึกวามันนานเหมือนเพียงนาทีเดียว นั่น แหละคือทฤษฎีสัมพัทธภาพของผมแหละ” เรื่องการสรุปความคิดหลัก ๆ นี่แหละ เปนเรื่องสําคัญมากกวาการรูรายละเอียด เพราะเปน เรื่องของการสรางกรอบ หรือ โครงสรางของความคิด ฉะนั้น สิ่งที่ดิฉันจะสรุปอันเกี่ยวเนื่องกับทฤษฎี สัมพัทธภาพของไอนสไตนจึงเปนความรูที่ยอนกลับไปในชั่วโมงวิทยาศาสตรสมัยที่ยังเรียนชั้นมัธยม เพราะคุณครูยอมหยิบยื่นแตความคิดหลัก ๆ ที่พูดอยางสรุปยอ ๆ เทานั้น และดิฉันยังดึงความคิด แบบสรุปเหลานี้ออกมาจากหนังสือสารานุกรมของเยาวชนรวมทั้งการดูสารคดีตาง ๆ ดวย บวกกับ ความรูในเรื่องพระนิพพานของพระพุทธเจา ดิฉันจึงสามารถตอยอดแจกแจงความคิดเหลานี้ออกมา ได ทําไมไอนสไตนจึงอยากหาจุดคงที่ เพื่อความชัดเจนมากขึ้น ขอใหเขาใจวา “จุดคงที่” กับ “จุดปกติ” มีความหมาย เหมือนกัน ซึ่งดิฉันจะใชทดแทนกันตั้งแตบัดนี้เพื่อใหเหมาะสมกับขอเปรียบเทียบ สิ่งที่ดิฉันใหความสนใจเปนพิเศษคือ ทําไมไอนสไตนจึงตองการหาจุดคงที่อันถาวรของ จักรวาลตั้งแตแรกเริ่ม เพื่ออะไร สิ่งที่ดิฉันทําความเขาใจไดคือ ถาหากไอนสไสตนสามารถหาจุดปกติ ของจักรวาลที่อยูอยางคงทนถาวร มีคาสมบูรณ ไมเปลี่ยนแปลงไดแลว เขาจะสามารถใชจุดปกตินั้น เปนมาตรฐานการวัดสิ่งตาง ๆ ได และยอมทําใหผลของการวัดอะไรตาง ๆ คงที่ ปกติ ไดผล เหมือนกันหมด absolute value ไมวาจะวัดจากจุดไหนของจักรวาล อยางไรก็ตาม ไอนสไตนไมสามารถหาจุดคงที่อันถาวรของจักรวาลได เพราะวา สิ่งตาง ๆ ที่แมดูนิ่ง ๆ บนโลก ไมเคลื่อนไหวก็ตาม แตที่จริงแลว มันไมไดอยูนิ่งจริง เพราะโลกกําลังหมุนอยู เมื่อดูในวงกวางออกไปจากนอกโลก ก็พบวาระบบสุริยะจักรวาลก็กําลังเคลื่อนอยู แกแลกซี่ของเรา และอื่น ๆ ก็กําลังเคลื่อนอยู ตลอดจนถึงจักรวาลทั้งหมดก็กําลังเคลื่อนไปอยางไมหยุดยั้ง จึงทําให
  • 11. 2 ไอนสไตนสรุปวาไมมีจุดนิ่งหรือจุดปกติที่สามารถใหคุณคาที่เที่ยงแทถาวรอยางแทจริงในจักรวาล เพราะทุกอยางเคลื่อนที่อยางไมหยุดยั้ง สัมพันกับอนิจจังและนิพพาน ความคิดหลักของทฤษฎีสัมพัทธภาพนี้เปรียบเหมือนกับการพบสี่แยกหลักที่สามารถเดิน เลี้ยวตอไปไดอีกมากมายหลายทางทีเดียว ในขณะที่ไอนสไตนเลี้ยวไปสูแยกที่เนนความรูทางดาน ฟสิกสเพียงอยางเดียวจนกอใหเกิดการสรางระเบิดนิวเคลียร พลังงานปรมณูและเทคโนโลยี่อื่น ๆ อีก มากมายนั้น ดิฉันจะพยายามพาคุณเลี้ยวไปสูแยกอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสุขทุกขของชีวิตของเรา โดยตรง ความคิดหลักของทฤษฎีสัมพัทธภาพเปนเรื่องครอบจักรวาล ครอบคลุมทุกเรื่องของชีวิต เพราะความคิดทั้งหมดเหลานี้สัมพันกับเรื่องอนิจจังและพระนิพพานของพระพุทธเจาซึ่งเปนเรื่อง ครอบจักรวาลเชนกัน จึงเปนสิ่งที่ดิฉันพยายามจะโยงใหคุณในหนังสือเลมนี้ เมื่อไมรูจุดคงที่ของจักรวาล เมื่อไอนสไตนสรุปวาไมมีจุดคงที่ในจักรวาล ยอมหมายความวา การวัดอะไรตาง ๆ จะตอง สมมุติจุดคงที่ขึ้นมากอน และวัดสิ่งตาง ๆ จากจุดสมมุตินั้น ซึ่งผลที่ไดจะมีคาสัมพัทธกับจุดปกติที่ถูก สมมุติขึ้น เพื่อใหคุณเขาใจชัดเจนมากขึ้น ดิฉันจะเรียกแทนจุดคงที่นี้วา “พรมแดนสุดทาย the final frontier” (บทที่ ๔) เพื่อใหสอดคลองกับการยกตัวอยางที่จะวัดความใกลไกลของสถานที่ เมื่อคุณไมรูจุดคงที่หรือจุดปกติของจักรวาล ก็ความหมายวาคุณไมรูขอบเขตที่เปน พรมแดนสุดทายของจักรวาลที่สามารถใชเปนเสาหลักมาตรฐานเพื่อวัดความใกลไกลของทุกสถานที่ ในจักรวาลนั่นเอง เชน หากคุณตองการทราบวา เชียงใหมอยูไกลแคไหน คุณจะถามลอย ๆ ไมได คุณตองกําหนดลงไปใหแนชัดกอนวาคุณตองการวัดความใกลไกลของเมืองเชียงใหมจากจุดไหน เสียกอน จึงจะพูดกันรูเรื่อง ไมเชนนั้น เถียงกันตาย หากคุณเอากรุงเทพเปนหลัก นั่นคือ สมมุติใหกรุงเทพเปนพรมแดนสุดทาย เชียงใหมก็จะ อยูไกลจากกรุงเทพ ๖๐๐ กิโลเมตร หากคุณเอาสงขลาเปนหลัก เชียงใหมก็จะอยูหางจากสงขลา ๑๖๐๐ กิโลเมตร หากสมมุติใหกรุงลอนดอนเปนหลักหรือเปนพรมแดนสุดทาย เชียงใหมก็จะอยูหาง จากลอนดอนถึง ๖๐๐๐ กิโลเมตร เปนตน ฉะนั้น คุณจะเห็นวา ๖๐๐, ๑๖๐๐, ๖๐๐๐ กิโลเมตรคือคา สัมพัทธอันเปนผลของการสมมุติจุดนิ่งหรือจุดพรมแดนสุดทายขึ้นมาเพื่อวัดความใกลไกลของ สถานที่ ฉะนั้น การตัดสินวาใครอยูใกลหรือไกลเชียงใหมจึงขึ้นอยูที่วา คุณอยูจุดไหน คนอยูลอนดอน ก็ตองเห็นวาเชียงใหมไกลมาก ใครอยูสงขลาก็ยอมเห็นเชียงใหมไกลกวาคนอยูกรุงเทพ ใครอยู ลําปางก็ยอมเห็นวาเชียงใหมอยูใกลนิดเดียว นี่คือ การพูดอยางสัมพัทธ relatively speaking อัน เปนผลของทฤษฎีสัมพัทธภาพ เมื่อรูจุดคงที่ แตถาคุณรูจุดคงที่ จุดนิ่ง หรือจุดปกติของจักรวาล หรือ รูแนชัดวาพรมแดนสุดทายของ จักรวาลอยูตรงไหนแลวละก็ ทีนี้ ไมวาคุณจะอยูซอก ซอย ไหนของจักรวาลก็ตาม คุณก็สามารถวัด จากจุดที่คุณอยูและไปจรดที่เสาหลักสุดทายหรือพรมแดนสุดทาย หรือ จุดปกติของจักรวาล ทุกคน จะสามารถทําไดเหมือนกันหมดเพราะรูเสาหลักสุดทายของจักรวาลแลว ฉะนั้น ไมวาใครจะอยู ณ จุด ไหนของจักรวาล ก็สามารถวัดจากจุดที่ตนเองอยูและไปจรดที่เสาหลักอันเปนพรมแดนสุดทายของ จักรวาล การวัดนั้นก็จะเปนมาตรฐานสากลของจักรวาล ไดคาคงที่เหมือนกันหมด ฉะนั้น คนอยู กรุงเทพ เชียงใหม สงขลา ลอนดอน หากจะวัดความใกลไกล ก็ตองวัดไปที่เสาหลักสุดทายของ จักรวาลกอน ซึ่งอาจจะไดคาตามลําดับเชนนี้คือ ๑.๕ ลานปแสง ๑.๕๒ ลานปแสง ๑.๕๔ ลานปแสง ๒ ลานปแสง เปนตน นี่เปนการสมมุติวาหากเรารูจุดคงที่หรือจุดปกติของจักรวาล ทุกคนจะรูแนชัดวา ใครอยูใกลหรือไกลจากจุดคงที่หรือพรมแดนสุดทายของจักรวาลมากนอยแคไหน นี่คือ การพูดอยาง แนนอน absolutely speaking เพราะรูจุดเที่ยงแทแนนอนของจักรวาล นี่คือเหตุผลที่ไอนสไตนอยาก
  • 12. 3 หาจุดคงที่ของจักรวาล เพื่อจะไดใชเปนมาตรฐานหลักของจักรวาล แตอยางที่พูดแลววา ความรูของ ไอนสไตนเนนไปที่เรื่องฟสิกสเพียงถายเดียวเทานั้น แตสัมพัทธภาพครอบคลุมทุกเรื่อง การวัดน้ําหนักของวัตถุสิ่งของก็เชนกัน น้ําหนักตัวของคนบนโลกมีคาสัมพัทธกับแรงโนม ถวงของโลก พูดใหงงเลนก็คือ ทุกครั้งที่คุณชั่งน้ําหนักตัวเอง ที่จริงแลว คุณกําลังชั่งแรงถวงของ โลกที่กดลงบนตัวคุณ หากไปชั่งน้ําหนักบนโลกพระจันทรซึ่งมีแรงโนมถวงนอยกวาโลก น้ําหนักที่กด ลงตัวคุณบนโลกพระจันทรจะนอยกวาแรงที่กดบนโลก จึงทําใหน้ําหนักตัวของคุณนอยกวาน้ําหนักตัว ที่ชั่งบนโลก การจะตัดสินวาใครอวน ใครผอม สวย ขี้เหร เหลานี้ก็ขึ้นอยูที่วาเราเอาใครและอะไรเปน มาตรฐานของการวัด เราตองสมมุติคาปกติขึ้นมากอน เชน คนแขกชอบใหผูหญิงของเขามีเนื้อมีหนัง มีพุงยอยอันเปนสัญลักษณของความร่ํารวย ซึ่งเขาเรียกหุนเชนนี้วาสวย แตในสายตาของหญิง ชาวตะวันตกที่ชอบหุนเพรียว ๆ นั้นจะเห็นหญิงแขกอวน ในขณะที่หญิงแขกจะเห็นหญิงชาวตะวันตก ผอมเกินไป ความรวย ความจน ก็ขึ้นอยูกับวาเราเอาใครและอะไรเปนมาตรฐานของการวัด กรรมกรที่ หาเชากินค่ําก็จะเห็นทุกคนรวยกวาตนหมดนอกจากขอทานเทานั้น (ขอทานบางคนอาจจะรวยกวา กรรมกรก็เปนได) คนมีเงินเก็บจํานวนแสนก็จะเห็นคนมีเงินลานรวยกวาตน สวนคนรวยที่มีทรัพยสิน สิบลาน ก็จะเห็นคนที่มีนอยกวานั้นจนกวาตนเองหมด แตเมื่อนําตนเองไปเปรียบเทียบกับคนมี ทรัพยสินรอยลาน พันลาน ก็ยังคิดวาตัวเองจนอยู ถาเปรียบเทียบกับคนที่มีทรัพยสินหลายหมื่นลาน ก็คงคิดวาตนเองยังจนมากอยู เปนตน เพราะไมรูวาอะไรคือสิ่งสมบูรณ คงที่ และปติ อันจะใชเปนมาตรฐานของการวัดสิ่งตาง ๆ ได ทุกสิ่งทุกอยางจึงตองวัดกันอยางเปรียบเทียบ หรือ สัมพัทธกันเชนนี้ จึงกอใหเกิดคําวลี ภาษาอังกฤษวา relatively speaking หรือ พูดอยางสัมพัทธ ซึ่งเปนวลีที่ใชกันบอยมากใน ชีวิตประจําวัน เพราะตองพูดใหรูเรื่องกอนวาเอาอะไรเปนหลัก มิเชนนั้น เถียงกันตาย แตถาหากเรารู จุดคงที่ของจักรวาล วิถีชีวิตของเราจะตองเปลี่ยนไปเปนอีกลักษณะหนึ่ง ไอนสไตนกับทฤษฎีเอกภาพ หลังจากการคนพบทฤษฎีสัมพัทธภาพแลว ไอนสไตนก็ยังไดคนพบเรื่องกลศาสตร ควอนตัม Quantum Mechanic ซึ่งความคิดหลักของทฤษฎีนี้คือ ทุกสิ่งทุกอยางในจักรวาลนี้เกิดขึ้น และมีการทํางานเหมือนการโยนลูกเตา ผลของมันยอมตั้งอยูบนพื้นฐานของความอาจจะเปนไปได probability เทานั้น ซึ่งเปนสิ่งที่ไอนสไตนยอมรับไมได เพราะคาของความอาจจะเปนไปไดเปรียบ เหมือนกับการยืนอยูบนทาน้ําที่โคลงเคลง เอนเอียง หากใชภาษาของชาวพุทธแลว การคนพบกล ศาสตรควอนตัมก็คือ การคนพบเรื่องอนิจจังนั่นเอง สิ่งที่ไอนสไตนตองการนั้น เปรียบเทียบไดกับ ความหนักแนนของพื้นดิน หรือ สิ่งหนึ่งที่ใหคาอันคงที่ ปกติ ถาวร ซึ่งเขาคิดวาคณิตศาสตรเทานั้นที่ สามารถหยิบยื่นสิ่งที่เที่ยงแท แนนอน ใหกับเขาได ฉะนั้น แมไอนสไตนเปนผูคนพบเรื่องกลศาสตร ควอนตัมอันเปนความรูที่ไดรับการตอยอดพัฒนาไปอยางรวดเร็วจนกลายเปนหัวใจของการพัฒนา เทคโนโลยี่ในปจจุบันก็ตาม ไอนสไตนกลับไมไดใหเยื่อใย ไมสนใจ แถมดูหมิ่นความรูที่เขาไดคนพบ เอง หรือ ถาพูดใหมดวยภาษาของชาวพุทธวา ไอนสไตนยอมรับความเปนอนิจจังของทุกสิ่งทุกอยาง ไมได จึงขวนขวายหาสิ่งที่เปนนิจจัง หรือ ความเที่ยงแท ถาวร สิ่งที่รั้งไอนสไตนไวคือ ความเปนนักการศาสนาของเขา ความเชื่อในพระเจา และนิสัย สวนตัวที่จําเปนตองรูและเขาใจสิ่งตาง ๆ อยางแนชัด ถึงแกน และสามารถแปรความเขาใจนั้น ๆ ออกมาเปนสูตรสําเร็จทางคณิตศาสตรที่แนนอน ซึ่งคณิตศาสตรเปนวิธีการเดียวที่ไอนสไตนสามารถ เขาใจและเขาถึงได หลังจากที่ประธานาธิบดีคนแรกของอิสราเอลเสียชีวิต ไอนสไตนไดถูกเสนอชื่อ ใหเปนประธานาธิบดีของชาวยิวคนตอไป เพราะความเปนนักฟสิกสที่ไดรับรางวัลโนเบลและเปนผูรัก
  • 13. 4 สันติภาพมาก จึงไดมีสวนชวยเหลือชาวยิวจนกอใหเกิดประเทศอิสราเอลขึ้นมาในป 1948 แต ไอนสไตนปฏิเสธตําแหนงผูนําประเทศโดยใหเหตุผลวา “การเมืองอยูไดเพียงชั่วครูชั่วยามเทานั้น แตสมการทางคณิตศาสตรสามารถอยูไดอยาง ชั่วนิรันดร” อยางไรก็ตาม ความรัก ความคลั่งไคล และบูชาในพระเจากับคณิตศาสตรไปพรอม ๆ กัน นี่เอง ไดกลายเปนเชื้อเพลิงที่กอใหเกิดปฏิกิริยาลูกโซในหัวสมองหรือจิตใจของอัจฉริยะบุคคลผูนี้อีก นับตั้งแตตนป 1920 เปนตนไป ไอนสไตนไดเขาสูยุคของการคิดคนหาทฤษฎีเอกภาพ The Unified Theory หรือ ทฤษฎีสรรพสิ่ง The Theory of Everything พระเจาไมเลนลูกเตา ไอนสไตนเชื่อมั่นเหลือเกินวา ความเถรตรงของคณิตศาสตรเทานั้นที่สามารถอธิบายและ ใหคําตอบแกทุกสิ่งทุกอยางในจักรวาลได จะสามารถรวมความรูทั้งหมดของจักรวาลเขาเปนหนึ่ง เดียว รวมไปถึงการอธิบายวาพระเจาสรางจักรวาลนี้ไดอยางไร ดังที่ไอนสไตนพูดวา “ขาพเจาตองการรูวาพระเจาสรางโลกนี้อยางไร ขาพเจาไมไดสนใจปรากฏการณนั้นนี้วา มันเปนของธาตุนั้นหรือธาตุนี้ สิ่งเหลานี้เปนเพียงรายละเอียดเทานั้น ขาพเจาตองการรูความคิดของ พระเจาตางหาก” ทฤษฎีเอกภาพนี้จึงเปรียบเหมือนการหาสมการทางคณิตศาสตรที่สามารถอานจิตใจของพระ เจาและงานศิลปะการสรางโลกและมนุษยของพระเจานั่นเอง ซึ่งเปนความคิดที่เต็มไปดวยความ ทะเยอทะยานมาก ในเดือนเมษายน 1955 ไอนสไตนลมปวยและเขารับการรักษาในโรงพยาบาล ปรินซตัน รัฐนิวเจอซี่ อันเปนเมืองที่เขาอยูในชวงบั้นปลายของชีวิต ไอนสไตนก็ยังไมลดละที่จะ คิดคนสูตรทางคณิตศาสตรที่เขาหาอยูในชวงสามสิบปที่ผานมา เขามักมีกระดาษ ดินสอ อยูกับตัว และขีดเขียนตัวเลข เครื่องหมาย และสมการทางคณิตศาสตรตาง ๆ อยูเสมอ ซึ่งพยาบาลคนหนึ่งที่ ดูแลเขาอยูไดหามาให จึงมีโอกาสไดเห็นพูดคุยสนทนากับไอนสไตน จึงรูวาไอนสไตนยังคงพยายาม อานหัวสมองของพระเจาอยู พยาบาลรูสึกเห็นใจ อยากใหไอนสไตนพักผอนอยางเต็มที่ วันหนึ่ง พยาบาลจึงพูดกับไอนสไตนอยางออนโยนและเปนหวงเปนใยวา บางที พระเจาทานอาจจะไมอยากใหเราอานจิตใจของทานก็ไดนะ Maybe God doesn’t want us to know his mind. ทั้ง ๆ ที่ยังเจ็บไขไดปวยอยู ไอนสไตนพูดสวนกลับทันทีอยางดื้อรั้นพรอมกับสั่นศรีษะไปมาวา พระเจาไมเลนลูกเตาหรอก คุณพยาบาล! God doesn’t play dice, nurse! ซึ่งเปนการพูดพาดพิงอยางดูหมิ่นถึงเรื่องกลศาสตรควอนตัมที่มีผล “อาจจะเปนไปได” หรือ อนิจจัง นั่นเอง ประวัติศาสตรจึงไดจารึกเหตุการณในชวง ๓๐ ปสุดทายของไอนสไตนในฐานะบุคคลที่ ลมเหลว จมปรักอยูในโลกของวิทยาศาสตรที่ลาหลัง โดดเดี่ยวเดียวดาย เพราะภายในแวดวง นักวิทยาศาสตรชาวฟสิกสดวยกันแลว ตางรูวาทฤษฎีเอกภาพนี้เปนเรื่องเพอฝนของไอนสไตนเทา นั้นเอง ไมมีทางจะเปนความจริงไดเลย การแสวงหาของไอนสไตนไรผลอยางสิ้นเชิง อัจฉริยะบุคคล ผูนี้จึงไดจากโลกนี้ไปในวันที่ ๑๘ เมษายน ๑๙๕๕ ในขณะที่ในมือยังกําแผนกระดาษที่ขีดเขียน สมการทางคณิตศาสตรอยู โดยที่ยังไมไดพบคําตอบที่เขาตองการหาแตอยางใด ซึ่งเปนเรื่องนาเสียดายมาก หากไอนสไตนสามารถอานความคิดของพระเจาไดแลว เขา อาจจะสามารถตอบคําถามมากมายที่ยาวเปนหางวาวที่ขึ้นตนดวยคําวา “ทําไม” เชน ทําไมพระเจาจึง