SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
สิทธิผบริโภค
      ู้

               กธ. 301 ธุรกิจกับสังคมและชุมชน
                           สฤณี อาชวานันทกุล
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (1)
         ้
สิทธิผบริโภคสากล ๘ ประการ ตาม Consumers International (CI)
      ู้
 ประการที่ ๑ สิทธิทจะได้รบสินค้าและบริการทีจาเป็ นต่อการ
                         ่ี       ั              ่
    ดารงชีวต (THE RIGHT TO ACCESS) อันได้แก่ อาหาร
             ิ
    เครืองนุ่งห่ม ทีอยูอาศัย การเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษา
         ่          ่ ่
 ประการที่ ๒ สิทธิทจะได้รบความปลอดภัยจากการใช้สนค้าและ
                            ่ี      ั                     ิ
    บริการ (THE RIGHT TO SAFETY) หมายถึง สิทธิทจะได้รบความ
                                                       ่ี   ั
    ปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ กรรมวิธผลิตและบริการทีเป็ นอันตรายต่อ
                                          ี         ่
    คุณภาพและชีวตสิทธิทจะได้รบความปลอดภัย ครอบคลุมถึง
                     ิ         ่ี       ั
    ประโยชน์ในระยะยาวของผูบริโภคด้วย ไม่ได้หมายเพียงแค่ความ
                                      ้
    ต้องการในระยะสัน   ้
                                                                2
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (2)
         ้
   ประการที่ ๓ สิทธิทจะได้รบการคุมครองจากการหลอกลวงของ
                            ่ี     ั        ้
    โฆษณา หรือการแจ้งประกาศทีก่อให้เกิดความเข้าใจผิด หรือสิทธิท่ี
                                       ่
    จะได้รบข้อมูลข่าวสารทีจาเป็ นต่อการตัดสินใจเลือกซือ (THE
           ั                     ่                    ้
    RIGHT TO BE INFORMED)
   หมายถึง สิทธิทจะได้รบข้อเท็จจริงทีจะเลือกและตัดสินใจ สิทธิน้ี
                   ่ี          ั              ่
    ครอบคลุมมิให้มการคดโกง คุมครองการโฆษณา ฉลากสินค้า และ
                        ี            ้
    การกระทาอื่นๆ ทีทาให้เกิดความเข้าใจผิด ผูบริโภคจะต้องได้รบ
                          ่                     ้             ั
    ข้อมูลเพียงพอทีจะทาให้เขาได้ซอสินค้า และบริการอย่างฉลาด และ
                      ่                  ้ื
    ด้วยความรับผิดชอบ
                                                                    3
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (3)
         ้
   ประการที่ ๔ สิทธิทจะได้เลือกซือสินค้าและบริการในราคายุตธรรม
                        ่ี        ้                                ิ
    (THE RIGHT TO CHOOSE) หมายถึงสิทธิทจะเลือกสินค้าและ
                                                 ่ี
    บริการได้หลายๆ อย่าง ในราคาทีแข่งขันกัน และในกรณีทมการ
                                    ่                         ่ี ี
    ผูกขาดสินค้าก็จะวางใจได้วา จะได้รบสินค้าและบริการทีมคุณภาพ
                                ่     ั                   ่ ี
    เป็ นทีพอใจ และในราคายุตธรรม
           ่                  ิ
   สิทธิทจะเลือกนี้ มีความหมายด้วยว่า เป็ นสิทธิทจะได้รบสินค้าและ
             ่ี                                     ่ี  ั
    บริการในระดับพืนฐาน ทังนี้เพราะว่าสิทธิทจะเลือกอย่างไม่มยบยัง
                     ้      ้                 ่ี                     ี ั ้
    ของกลุ่มผูบริโภคส่วนน้อย อาจเป็ นสิงทีกลุ่มผูบริโภคส่วนใหญ่ไม่
                ้                       ่ ่       ้
    เห็นด้วยก็ได้
                                                                             4
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (4)
         ้
   ประการที่ ๕ สิทธิทจะแสดงความคิดเห็นในฐานะตัวแทนผูบริโภค
                      ่ี                              ้
    เพือให้ได้รบประโยชน์ทพงได้ (THE RIGHT TO BE HEARD)
       ่       ั         ่ี ึ
    รวมทังกาหนดหลักเกณฑ์รวมกับรัฐบาลในการบริหารจัดการ
          ้                   ่
    หมายถึงสิทธิทจะเป็นตัวแทนเพือประโยชน์ทผบริโภคจะได้รบการ
                  ่ี                 ่     ่ี ู้        ั
    พิจารณาอย่างเข้าใจในการตังกฎเกณฑ์ และดาเนินเกียวกับนโยบาย
                                ้                  ่
    เศรษฐกิจ หมายรวมถึง สิทธิทจะได้รองเรียนและเป็นตัวแทนในการ
                                  ่ี     ้
    พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการก่อนทีจะมีการผลิตหรือทาการใดๆ ไม่
                                       ่
    แต่นโยบายของรัฐ แต่ในทางเศรษฐกิจด้านอื่นๆ ด้วย


                                                                5
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (5)
         ้
   ประการที่ ๖ สิทธิทจะได้รบค่าชดเชย ในกรณีทถูกละเมิด หลอกลวง
                      ่ี    ั                  ่ี
    ให้ได้รบสินค้าและบริการทีไม่มคุณภาพ (THE RIGHT TO
           ั                    ่ ี
    REDRESS) หมายถึงสิทธิทจะได้รบความเป็ นธรรมในการตัดสิน
                                 ่ี     ั
    เรืองราวทีรองเรียนอย่างถูกต้อง ซึงหมายรวมถึงสิทธิทจะได้รบการ
      ่       ่้                      ่               ่ี    ั
    ชดใช้เมือได้รบสินค้าและบริการทีบกพร่อง หรือเสียหาย หรือการ
             ่ ั                    ่
    ช่วยเหลือ หรือการชดใช้อ่นๆื




                                                                   6
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (6)
         ้
   ประการที่ ๗ สิทธิทจะได้รบความรูอนจาเป็ นต่อการบริโภคอย่างเท่า
                       ่ี    ั        ้ ั
    ทัน (THE RIGHT TO CONSUMER EDUCATION) หมายถึงสิทธิ
    ทีจะได้รบความรูและฝึกทักษะให้เป็ นผูบริโภคทีมความรูในเรืองราว
      ่      ั     ้                      ้      ่ ี    ้ ่
    ต่างๆ ทีควรรูตลอดชีวต
               ่ ้        ิ
   สิทธิน้ีหมายรวมถึง สิทธิทจะได้รบความรูทควรรู้ ควรมี ทีมี
                               ่ี   ั       ้ ่ี          ่
    ผลกระทบต่อการตัดสินใจของผูบริโภค
                                  ้




                                                                    7
สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (7)
         ้
   ประการที่ ๘ สิทธิทจะดารงชีวตอยูในสิงแวดล้อมทีดี และยังชีพได้
                             ่ี          ิ ่ ่     ่
    อย่างปลอดภัย (THE RIGHT TO HEALTHY ENVIROMENT)
    หมายถึง สิทธิทจะได้อยูในสิงแวดล้อมทีทาให้คุณภาพชีวตดีขน ซึง
                     ่ี           ่ ่          ่           ิ ้ึ ่
    หมายรวมถึงสิทธิทจะได้รบการป้องกันจากปญหาสิงแวดล้อมที่
                          ่ี         ั           ั       ่
    ผูบริโภคแต่ละคนไม่สามารถควบคุมได้เอง สิทธิน้ีตองยอมรับถึง
      ้                                                ้
    ความต้องการทีจะได้รบการคุมครองและปรับปรุงสิงแวดล้อม ตลอด
                   ่            ั      ้             ่
    ชัวอายุเราไปจนชัวอายุลกหลานอีกด้วย
        ่               ่          ู



                                                                    8
สิทธิของผูบริโภคในกฎหมายไทย (1)
         ้
   พระราชบัญญัตคมครองผูบริโภค พ​.​ศ​. 2522 และแก้ไขเพิมเติม พ​.​ศ​.
                    ิ ุ้     ้                           ่
    2541 ได้รับรองสิทธิผูบริโภคไว้ 5 ประการคือ
                         ้
   สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทังคาพรรณนาคุณภาพที่ถกต้องและ
                                   ้                       ู
    เพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่สทธิทจะได้รับการ
                                              ิ ่ี
    โฆษณา หรือการแสดงฉลากตามความเป็ นจริงและปราศจากพิษภัย
    แก่ผูบริโภค รวมตลอดถึงสิทธิทจะได้รับข้อมูลเกียวกับสินค้าและ
         ้                           ่ี          ่
    บริการ อย่างถูกต้องเพียงพอทีจะไม่หลงผิด ในการซือสินค้าและรับ
                                 ่                    ้
    บริการโดยไม่เป็ นธรรม
   สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่สทธิทจะ
                                                             ิ ่ี
    เลือกซือสินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผูบริโภคและปราศ
            ้                                       ้
    จากการชักจูงใจอันไม่เป็ นธรรม
                                                                       9
สิทธิของผูบริโภคในกฎหมายไทย (2)
         ้
   สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ ได้
    แก่ สิทธิทจะได้รับสินค้าหรือบริการที่ ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพ
               ่ี
    ได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวต ิ
    ร่างกายหรือทรัพย์สน ในกรณีใช้ตามคาแนะนาหรือระมัดระวังตาม
                        ิ
    สภาพของสินค้าและบริการนันแล้ว
                                ้
   สิทธิที่จะได้รับความเป็ นธรรมในการทาสัญญา ได้แก่ สิทธิทจะ ่ี
    ได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจ
                                                  ้
   สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่สทธิ     ิ
    ทีจะได้รับการคุมครองและชดเชยความเสียหาย เมือมีการละเมิด
      ่             ้                                ่
    สิทธิของผูบริโภค ตามข้อ 1 , 2 ,3 และ 4 ดังกล่าว
                  ้
                                                                     10

Contenu connexe

Similaire à Consumer Rights

ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
krunimsocial
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
pronprom11
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
Naresuan University Library
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
atit604
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
praphol
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัน พัน
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
thanaporn
 
เจตนารมณ์
เจตนารมณ์เจตนารมณ์
เจตนารมณ์
joansr9
 

Similaire à Consumer Rights (20)

ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protection
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ Baby boomer
งานนำเสนอ Baby boomerงานนำเสนอ Baby boomer
งานนำเสนอ Baby boomer
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
เจตนารมณ์
เจตนารมณ์เจตนารมณ์
เจตนารมณ์
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul

Plus de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Consumer Rights

  • 1. สิทธิผบริโภค ู้ กธ. 301 ธุรกิจกับสังคมและชุมชน สฤณี อาชวานันทกุล
  • 2. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (1) ้ สิทธิผบริโภคสากล ๘ ประการ ตาม Consumers International (CI) ู้  ประการที่ ๑ สิทธิทจะได้รบสินค้าและบริการทีจาเป็ นต่อการ ่ี ั ่ ดารงชีวต (THE RIGHT TO ACCESS) อันได้แก่ อาหาร ิ เครืองนุ่งห่ม ทีอยูอาศัย การเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษา ่ ่ ่  ประการที่ ๒ สิทธิทจะได้รบความปลอดภัยจากการใช้สนค้าและ ่ี ั ิ บริการ (THE RIGHT TO SAFETY) หมายถึง สิทธิทจะได้รบความ ่ี ั ปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ กรรมวิธผลิตและบริการทีเป็ นอันตรายต่อ ี ่ คุณภาพและชีวตสิทธิทจะได้รบความปลอดภัย ครอบคลุมถึง ิ ่ี ั ประโยชน์ในระยะยาวของผูบริโภคด้วย ไม่ได้หมายเพียงแค่ความ ้ ต้องการในระยะสัน ้ 2
  • 3. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (2) ้  ประการที่ ๓ สิทธิทจะได้รบการคุมครองจากการหลอกลวงของ ่ี ั ้ โฆษณา หรือการแจ้งประกาศทีก่อให้เกิดความเข้าใจผิด หรือสิทธิท่ี ่ จะได้รบข้อมูลข่าวสารทีจาเป็ นต่อการตัดสินใจเลือกซือ (THE ั ่ ้ RIGHT TO BE INFORMED)  หมายถึง สิทธิทจะได้รบข้อเท็จจริงทีจะเลือกและตัดสินใจ สิทธิน้ี ่ี ั ่ ครอบคลุมมิให้มการคดโกง คุมครองการโฆษณา ฉลากสินค้า และ ี ้ การกระทาอื่นๆ ทีทาให้เกิดความเข้าใจผิด ผูบริโภคจะต้องได้รบ ่ ้ ั ข้อมูลเพียงพอทีจะทาให้เขาได้ซอสินค้า และบริการอย่างฉลาด และ ่ ้ื ด้วยความรับผิดชอบ 3
  • 4. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (3) ้  ประการที่ ๔ สิทธิทจะได้เลือกซือสินค้าและบริการในราคายุตธรรม ่ี ้ ิ (THE RIGHT TO CHOOSE) หมายถึงสิทธิทจะเลือกสินค้าและ ่ี บริการได้หลายๆ อย่าง ในราคาทีแข่งขันกัน และในกรณีทมการ ่ ่ี ี ผูกขาดสินค้าก็จะวางใจได้วา จะได้รบสินค้าและบริการทีมคุณภาพ ่ ั ่ ี เป็ นทีพอใจ และในราคายุตธรรม ่ ิ  สิทธิทจะเลือกนี้ มีความหมายด้วยว่า เป็ นสิทธิทจะได้รบสินค้าและ ่ี ่ี ั บริการในระดับพืนฐาน ทังนี้เพราะว่าสิทธิทจะเลือกอย่างไม่มยบยัง ้ ้ ่ี ี ั ้ ของกลุ่มผูบริโภคส่วนน้อย อาจเป็ นสิงทีกลุ่มผูบริโภคส่วนใหญ่ไม่ ้ ่ ่ ้ เห็นด้วยก็ได้ 4
  • 5. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (4) ้  ประการที่ ๕ สิทธิทจะแสดงความคิดเห็นในฐานะตัวแทนผูบริโภค ่ี ้ เพือให้ได้รบประโยชน์ทพงได้ (THE RIGHT TO BE HEARD) ่ ั ่ี ึ รวมทังกาหนดหลักเกณฑ์รวมกับรัฐบาลในการบริหารจัดการ ้ ่ หมายถึงสิทธิทจะเป็นตัวแทนเพือประโยชน์ทผบริโภคจะได้รบการ ่ี ่ ่ี ู้ ั พิจารณาอย่างเข้าใจในการตังกฎเกณฑ์ และดาเนินเกียวกับนโยบาย ้ ่ เศรษฐกิจ หมายรวมถึง สิทธิทจะได้รองเรียนและเป็นตัวแทนในการ ่ี ้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการก่อนทีจะมีการผลิตหรือทาการใดๆ ไม่ ่ แต่นโยบายของรัฐ แต่ในทางเศรษฐกิจด้านอื่นๆ ด้วย 5
  • 6. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (5) ้  ประการที่ ๖ สิทธิทจะได้รบค่าชดเชย ในกรณีทถูกละเมิด หลอกลวง ่ี ั ่ี ให้ได้รบสินค้าและบริการทีไม่มคุณภาพ (THE RIGHT TO ั ่ ี REDRESS) หมายถึงสิทธิทจะได้รบความเป็ นธรรมในการตัดสิน ่ี ั เรืองราวทีรองเรียนอย่างถูกต้อง ซึงหมายรวมถึงสิทธิทจะได้รบการ ่ ่้ ่ ่ี ั ชดใช้เมือได้รบสินค้าและบริการทีบกพร่อง หรือเสียหาย หรือการ ่ ั ่ ช่วยเหลือ หรือการชดใช้อ่นๆื 6
  • 7. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (6) ้  ประการที่ ๗ สิทธิทจะได้รบความรูอนจาเป็ นต่อการบริโภคอย่างเท่า ่ี ั ้ ั ทัน (THE RIGHT TO CONSUMER EDUCATION) หมายถึงสิทธิ ทีจะได้รบความรูและฝึกทักษะให้เป็ นผูบริโภคทีมความรูในเรืองราว ่ ั ้ ้ ่ ี ้ ่ ต่างๆ ทีควรรูตลอดชีวต ่ ้ ิ  สิทธิน้ีหมายรวมถึง สิทธิทจะได้รบความรูทควรรู้ ควรมี ทีมี ่ี ั ้ ่ี ่ ผลกระทบต่อการตัดสินใจของผูบริโภค ้ 7
  • 8. สิทธิของผูบริโภคในมาตรฐานสากล (7) ้  ประการที่ ๘ สิทธิทจะดารงชีวตอยูในสิงแวดล้อมทีดี และยังชีพได้ ่ี ิ ่ ่ ่ อย่างปลอดภัย (THE RIGHT TO HEALTHY ENVIROMENT) หมายถึง สิทธิทจะได้อยูในสิงแวดล้อมทีทาให้คุณภาพชีวตดีขน ซึง ่ี ่ ่ ่ ิ ้ึ ่ หมายรวมถึงสิทธิทจะได้รบการป้องกันจากปญหาสิงแวดล้อมที่ ่ี ั ั ่ ผูบริโภคแต่ละคนไม่สามารถควบคุมได้เอง สิทธิน้ีตองยอมรับถึง ้ ้ ความต้องการทีจะได้รบการคุมครองและปรับปรุงสิงแวดล้อม ตลอด ่ ั ้ ่ ชัวอายุเราไปจนชัวอายุลกหลานอีกด้วย ่ ่ ู 8
  • 9. สิทธิของผูบริโภคในกฎหมายไทย (1) ้  พระราชบัญญัตคมครองผูบริโภค พ​.​ศ​. 2522 และแก้ไขเพิมเติม พ​.​ศ​. ิ ุ้ ้ ่ 2541 ได้รับรองสิทธิผูบริโภคไว้ 5 ประการคือ ้  สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทังคาพรรณนาคุณภาพที่ถกต้องและ ้ ู เพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่สทธิทจะได้รับการ ิ ่ี โฆษณา หรือการแสดงฉลากตามความเป็ นจริงและปราศจากพิษภัย แก่ผูบริโภค รวมตลอดถึงสิทธิทจะได้รับข้อมูลเกียวกับสินค้าและ ้ ่ี ่ บริการ อย่างถูกต้องเพียงพอทีจะไม่หลงผิด ในการซือสินค้าและรับ ่ ้ บริการโดยไม่เป็ นธรรม  สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่สทธิทจะ ิ ่ี เลือกซือสินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผูบริโภคและปราศ ้ ้ จากการชักจูงใจอันไม่เป็ นธรรม 9
  • 10. สิทธิของผูบริโภคในกฎหมายไทย (2) ้  สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ ได้ แก่ สิทธิทจะได้รับสินค้าหรือบริการที่ ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพ ่ี ได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวต ิ ร่างกายหรือทรัพย์สน ในกรณีใช้ตามคาแนะนาหรือระมัดระวังตาม ิ สภาพของสินค้าและบริการนันแล้ว ้  สิทธิที่จะได้รับความเป็ นธรรมในการทาสัญญา ได้แก่ สิทธิทจะ ่ี ได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจ ้  สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่สทธิ ิ ทีจะได้รับการคุมครองและชดเชยความเสียหาย เมือมีการละเมิด ่ ้ ่ สิทธิของผูบริโภค ตามข้อ 1 , 2 ,3 และ 4 ดังกล่าว ้ 10