SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
“การเป็ นพลเมืองดี” ของธุรกิจ
(good corporate citizenship)
              สฤณี อาชวานันทกุล
           http://www.fringer.org/
               21 ตุลาคม 2011


     งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                           ั
     โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
          ้                  ้
      กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
            ่ี        ้                                                      ั                             ้
“พลเมือง” กับ “พลเมืองดี”
                 ั           ิ
• “พลเมือง” มี “สงกัด” และ “สทธิ” ในชุมชนและสงคม ั
                     ่ ่       ่     ่
• “พลเมืองดี” คือคนทีรวมทุกข์รวมสุข ชวยเหลือเจือจาน
   ั                             ิ     ่ ิ
  สงคมหรือชุมชนทีตนเป็ นสมาชก ไม่ใชคดถึงแต่ตวเอง
                   ่                           ั




                ทีมา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html
                  ่
                                                                                              2
ธุรกิจเป็ น “พลเมือง” ในแง่ใดบ ้าง? (1)
              ่         ั              ั
• ธุรกิจเป็ นสวนหนึงของสงคม ธุรกิจขาดสงคมไม่ได ้เหมือนกับทีคน
                   ่                                       ่
                             ั
  ขาดน้ าและอากาศไม่ได ้ แต่สงคมก็พงพาธุรกิจด ้วย
                                    ึ่
             ่                                     ื
• ธุรกิจไม่ใชพลเมืองแบบทีคนเป็ นพลเมือง – ไม่มหนังสอเดินทาง
                           ่                  ี
       ี ิ       ี              ี ิ
  ไม่มสทธิออกเสยงเลือกตัง แต่มสทธิบางอย่างเหมือนกับคน เชน
                         ้                                ่
    ิ
  สทธิในการบริจาคเงินอุดหนุนพรรคการเมือง


มุมมอง 3 มุมเกียวกับ “การเป็ นพลเมืองของธุรกิจ”
               ่
1) มุมจากัด (limited view) – การเป็ นพลเมือง หมายถึงการทีธรกิจ ่ ุ
   ทาการกุศล (corporate philanthropy) ในชุมชนทีตนประกอบ
                                                     ่
   ธุรกิจ ทาตัวเป็ น “พลเมืองดี” ด ้วยการบริจาคเงินให ้กับองค์กรการ
                                       ึ
   กุศล จัดงานแข่งกีฬา แจกทุนการศกษา ฯลฯ
                                                                      3
ธุรกิจเป็ น “พลเมือง” ในแง่ใดบ ้าง? (2)
2) มุมเท่าเทียม (equivalent view) – “การเป็ นพลเมือง” ของธุรกิจ
   หมายถึงการแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (ซ ี
                                                  ั
                   ั                      ่          ื่ ่
   เอสอาร์) ปั จจุบนบริษัท นักวิเคราะห์ ทีปรึกษา และสอสวนใหญ่
   มองการเป็ นพลเมืองของธุรกิจในมุมนี้ โดยมองว่าการเป็ น
                                   ่          ี
   พลเมืองดีของธุรกิจมี 4 ระดับเชนเดียวกับซเอสอาร์ นั่นคือ มี
   ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรม และการกุศล
3) มุมขยาย (extended view) – มอง “การเป็ นพลเมือง” จากมุม
                   ่          ิ
   ทางการเมือง เชน การอ ้างสทธิพลเมืองของภาคธุรกิจ การให ้
            ่
   ธุรกิจมีสวนร่วมในกลไกธรรมาภิบาลโลก หรือการเปิ ดให ้ธุรกิจ
                                        ิ
   ร่วมกับรัฐในการคุ ้มครองและหนุนเสริมสทธิพลเมืองของปั จเจก
   ผู ้เชยวชาญบางท่านเรียกการเป็ นพลเมืองในมุมนีวา “ไกลกว่าซ ี
         ี่                                     ้ ่
                                  ี
   เอสอาร์” (beyond CSR) หรือ “ซเอสอาร์ทางการเมือง”               4
ก่อนหน ้านีมแนวคิดทีหลากหลาย...
           ้ ี      ่
                              ้            ่
• “การเป็ นพลเมืองดี” มักถูกใชในความหมาย “ชวยเหลือ
   ั      ่             ิ่         ่
  สงคม” เชน บริจาคเงิน/สงของ/ลงแรงชวงวิกฤติน้ าท่วม
    ี                ้                    ่ ั
• “ซเอสอาร์” มักถูกใชในความหมาย “คืนกาไรสูสงคม/
  ชุมชน” เพียงมิตเดียว เน ้นการทากิจกรรมการกุศลต่างๆ
                 ิ
  โดยเฉพาะในชุมชนทีไม่ไว ้วางใจธุรกิจ
                   ่
                            ้
• “ธุรกิจทียั่งยืน” มักถูกใชในความหมาย “การทาธุรกิจที่
           ่
  สอดคล ้องกับหลักการพัฒนาทียั่งยืน” คือไม่ลดรอน
                            ่               ิ
         ี ิ                         ิ่
  คุณภาพชวตของคนรุนหลัง  เน ้นด ้านสงแวดล ้อม
                  ่
                                                         5
…แต่ปัจจุบนกาลังหลอมรวมและยกระดับ
          ั
รายงาน "Corporate citizenship: Profiting from a
sustainable business" ปี 2008 โดย Economist
Intelligence Unit นิยาม “การเป็ นพลเมืองของธุรกิจ” ว่า

      “การก้าวข้ามการกุศล (philanthropy) และการปฏิบตตาม
                                                     ั ิ
    กฎหมาย (compliance) ไปสูการจัดการกับผลกระทบต่อสังคม
                                ่
    และสิงแวดล้อมของธุรกิจ รวมถึงการมีสวนร่วมทางเศรษฐกิจ
         ่                               ่
   “พลเมืองภาคธุรกิจ” ไม่เพียงแต่มความรับผิดต่อผูถอหุนเท่านัน
                                    ี            ้ ื ้      ้
     หากแต่ยงมีความรับผิดต่อผูมสวนได้เสียอื่นๆ อาทิ พนักงาน
               ั               ้ ี่
           ผูบริโภค คูคา ชุมชนท้องถิน และสังคมส่วนรวม”
             ้        ่ ้             ่

                                                                6
จาก CSR สู่ CSV (creating shared value)
                    CSR                                                             CSV
 คุณค่า: การทาดี                                              คุณค่า: ประโยชน์ต่อสังคมและ
                                                                   สิงแวดล้อมเทียบกับต้นทุนทีเสียไป
                                                                     ่                         ่
 การเป็ นพลเมือง, การกุศล, ความยังยืน 
                                  ่                                ธุรกิจกับชุมชนสร้างคุณค่าร่วมกัน
 ทาตามอาเภอใจ หรือเป็ นปฏิกรยาต่อแรง 
                              ิิ                                   เป็ นหัวใจของความสามารถในการ
  กดดันจากภายนอก                                                   แข่งขัน
 แยกจากการมุงทากาไรสูงสุด
               ่                                                  เป็ นหัวใจของการทากาไรสูงสุด
 วาระถูกกาหนดด้วยภาระการรายงานและ                                วาระถูกกาหนดจากภายในองค์กร
  รสนิยมส่วนตัว
 ผลกระทบถูกจากัดด้วยรอยเท้าธุรกิจและ  ปรับเปลียนงบการลงทุนและการใช้จาย
                                                ่                     ่
  งบซีเอสอาร์                           ของทังบริษท
                                             ้    ั
ทีมา: ผู ้เขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January-
  ่
                                                                                                                   7
      February 2011. ดาวน์โหลดได ้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx
จาก “การจัดการ” สู่ “การร่วมมือ”
  การจัดการผูมีส่วนได้เสีย
            ้                            การร่วมมือกับผูมีส่วนได้เสีย
                                                       ้
 ไม่เป็ นเอกภาพ แบ่งตามสายงาน          บูรณาการทังองค์กร
                                                   ้
 เน้นการบริหารจัดการความสัมพันธ์       เน้นการสร้างความสัมพันธ์
 เน้นการบริหารความเสียงและลดแรง
                      ่                 เน้นการสร้างโอกาสและผลประโยชน์
  กดดันจากภายนอก                         ร่วมกัน
 เชื่อมโยงกับเป้าหมายทางธุรกิจระยะสัน  เชื่อมโยงกับเป้าหมายทางธุรกิจระยะยาว
                                     ้
                                 ่
 ปฏิบตอย่างไม่เป็ นเอกภาพ เช่น ฝาย
         ั ิ                            มีแนวทางปฏิบตเป็ นเอกภาพทังองค์กร
                                                        ั ิ           ้
  ลูกค้าสัมพันธ์ดแลลูกค้าด้วยแนวทาง
                 ู                       ผลักดันด้วยเป้าหมายทางธุรกิจ พันธกิจ
             ่
  หนึ่ง ฝายชุมชนสัมพันธ์ดแลชุมชนด้วย
                           ู             ทางสังคม และคุณค่าขององค์กร
  อีกแนวหนึ่ง ขึนอยูกบความสนใจของแต่
                ้ ่ ั
       ่
  ละฝายและสไตล์ของผูจดการแต่ละคน
                       ้ั
                                                                            8
ั
ธุรกิจทียงยืน: “สมดุล” / “สงกัด” / “ผูกพัน”
        ่ ั่




                                          9
ึ
กรณีศกษา “good corporate citizen”




                                    10
วิถ ี “ไตรกาไรสุทธิ” ของ Novo Nordisk
• ก่อตังปี 1923 ทีเดนมาร์ก ปั จจุบนเป็ นผู ้นาโลกด ้านการ
       ้            ่             ั
  ดูแลผู ้ป่ วยโรคเบาหวาน
• พนักงาน 30,000 คน มีสานั กงานใน 76 ประเทศทั่วโลก
• โครงการ Changing Diabetes ต่อกรกับเบาหวานใน
  ประเทศกาลังพัฒนา เน ้นด ้านการป้ องกันและเข ้าถึงยา




                                                            11
วิถของ Novo Nordisk (ต่อ)
   ี




            • โครงการ TakeAction! สนับสนุนให ้
              พนักงานของบริษัททางานอาสาในเวลา
              งาน โดยเฉพาะด ้านการให ้ความรู ้เรืองการ
                                                 ่
              ป้ องกันโรคเบาหวานในชุมชนท ้องถิน    ่
                                                         12
CEMEX: บ ้านเพือคนจน
               ่
• CEMEX บริษัทขายวัสดุกอสร ้างทีใหญ่ทสด
                               ่   ่       ี่ ุ
  ในโลก ริเริมโครงการ “Patrimonio Hoy”
              ่
  ในปี 1998 เพือบุกตลาดผู ้มีรายได ้น ้อย
                  ่
      ้                              ่
• ใชนวัตกรรม “วงจรออม-กู ้” และชวยเรือง  ่
    ่                    ่
  ชางและสถาปนิก ชวยให ้คนจนสร ้างบ ้านได ้
  เร็วกว่าปกติ 3 เท่า และถูกกว่า 3 เท่า
• ในเวลา 1 ทศวรรษ ปล่อยกู ้ไมโครเครดิต
                ่
  $135 ล ้าน ชวยให ้คนกว่า 1.3 ล ้านคนใน
  ทวีปอเมริกาใต ้มีบ ้านทีมคณภาพ
                           ่ ี ุ
                       ้
• 29% ของลูกค ้าใชบ ้านทาธุรกิจขนาดเล็ก
• ได ้รับรางวัล 2006 World Business Award
  จาก the International Chamber of
  Commerce และ United Nations
  HABITAT Business Award ในปี 2009                13
Campbell Soup: ซุปโซเดียมตา
                          ่
           ่ ่            ่
• อาหารทีใสเกลือมากมีสวนก่อให ้เกิด
                        ่        ี่
  ความดันโลหิตสูง เพิมความเสยงทีจะ    ่
  เป็ นโรคหัวใจ
• Campbell Soup ยักษ์ ใหญ่ใน
  อุตสาหกรรมอาหาร ร่วมโครงการร่วม
  ระหว่างภาครัฐกับเอกชนชอ     ื่
  “National Salt Reduction
  Initiative” ตังเป้ าลดระดับเกลือใน
                ้
  อาหาร
• บริษัทเปิ ดเผยข ้อมูลโภชนาการอย่าง
  ละเอียด และประกาศเป้ าหมายรายได ้
  จากการขายซุปโซเดียมตา     ่
• ปั จจุบนรายได ้จากซุปโซเดียมตาของ
         ั                          ่
  บริษัทคิดเป็ น 30% ของรายได ้รวม        14
Odwalla: ความรับผิดชอบต่อปั ญหา
                                  ื้
 บริษัทอาหาร เน ้นน้ าผลไม ้ ถูกซอกิจการโดยโคคา-โคลาในปี 2001
 วันที่ 30 ต.ค. 1996 เจ ้าหน ้าทีกระทรวงสาธารณสุขแจ ้งบริษัทว่าพบ
                                  ่
           ื่
  ความเชอมโยงระหว่างแบคทีเรียอีโคไล กับน้ าแอปเปิ ลของบริษัท
                                                         ้
  ต่อมายืนยันในวันที่ 5 พฤศจิกายน ว่าสาเหตุมาจากการใชแอปเปิ ลเน่า
  (น้ าผลไม ้ไม่ได ้ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไรซ ์ เพราะผลิตน้ าผลไม ้สด)
 หลังจากนันมีเด็กคนหนึงทีดมน้ าแอปเปิ ลตาย คนอีก 60 กว่าคนทีดม
             ้            ่ ่ ื่                             ่ ื่
  น้ าผลไม ้ของบริษัทล ้มป่ วย ยอดขายบริษัทตกลง 90% และราคาหุ ้นดิง
                                                                  ่
  34% มีผู ้บริโภคยืนฟ้ องบริษัท 20 คดี
                    ่
                                                      ื้
 ก่อนทีจะได ้รับการยืนยันจากทางการว่าน้ าแอปเปิ ลมีเชออีโคไล
        ่
                                 ี ี                        ั่
  Odwalla รับมือกับปั ญหาทันที ซอโอ Stephen Williamson สงเรียก
                         ่ ี ่
  คืนผลิตภัณฑ์ทังหมดทีมสวนผสมของน้ าแอปเปิ ลและแครอท
                  ้
  ครอบคลุมร ้านค ้าปลีกกว่า 4,600 แห่งใน 7 มลรัฐ
                            ี     ้
 การเรียกคืนครังนี้บริษัทเสยค่าใชจ่าย 6.5 ล ้านเหรียญสหรัฐ เรียกคืน
                ้
  ทังหมดภายใน 48 ชวโมง
    ้                  ั่                                               15
Odwalla: ความรับผิดชอบต่อปั ญหา (ต่อ)
                                                      ี ี
 บริษัทไม่เคยปฏิเสธหรือบ่ายเบียงความรับผิดชอบ ซอโอแสดง
                                    ่
             ี                                    ั
  ความเสยใจต่อผู ้บริโภคทีได ้รับผลกระทบและสญญาว่าบริษัทจะ
                              ่
                    ้
  รับผิดชอบค่าใชจ่ายด ้านการรักษาพยาบาลทังหมด   ้
                                            ิ
 ยอมรับว่ากระบวนการผลิตผิดพลาด ตัดสนใจเปลียนกระบวนการ
                                                    ่
  ผลิตน้ าผลไม ้ทันที ไปใช ้ “flash pasteurization” เพือฆ่าเชอโรค
                                                       ่     ื้
  ขณะทีรักษารสชาติของน้ าผลไม ้เอาไว ้
         ่
 หลังจากเกิดเรืองเพียงไม่กเดือน บริษัทก็มระบบการตรวจสอบ
                  ่              ี่           ี
                                         ี่
  คุณภาพและความปลอดภัยใหม่ ผู ้เชยวชาญบางคนมองว่าเป็ น
  ระบบทีครอบคลุมและดีทสดในอุตสาหกรรมน้าผลไม ้
           ่                ี่ ุ
 เริมขายน้ าแอปเปิ ลใหม่ต ้นเดือน ธ.ค. ต่อมาจ่ายค่าปรับ 1.5 ล ้าน
     ่
  เหรียญสหรัฐ ในคดีอาญาข ้อหาขายน้าผลไม ้ปนเปื้ อนแบคทีเรีย
                 ่ ี ี ิ              ื่
 บิดาของเด็กทีเสยชวตกล่าวกับสอว่า “ผมไม่โทษบริษัท ...พวก
  เขาทาทุกอย่างเท่าทีทาได ้แล ้ว”
                       ่
                                                                     16
The Body Shop: business as activist




                                      17
The Body Shop: business as activist
                                     “All through history, there have always
                                     been movements where business was
                                       not just about the accumulation of
                                     proceeds but also for the public good.”
                                                 - Anita Roddick




 “I want to work for a company
that contributes to and is part of
     the community. I want
something not just to invest in. I
 want something to believe in.”
         - Anita Roddick
                                                                           18
Interface: “mission zero”
                                 ั้
• บริษัทพรมแบบ modular ชนนาของโลก เริมเปลียน    ่ ่
  โมเดลธุรกิจให ้เป็ นธุรกิจทียั่งยืนในปี 1994
                              ่
• ตังเป้ าหมาย zero footprint ภายในปี 2020 ณ ปลายปี
    ้
  2010 ทาได ้แล ้วประมาณ 60%
• พลังงานหมุนเวียน 30% + ประสทธิภาพในการใช ้
                                      ิ
  พลังงาน  ลดพลังงานต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ลงได ้
  43% และลดคาร์บอน 35% ตังแต่ปี 1996้
• เอาเงินทีประหยัดได ้ไปลงทุนกับการวิจัยและพัฒนา ทา
            ่
  Life Cycle Assessment กับผลิตภัณฑ์ทกชนิด ฯลฯุ
      ้ ั                               ิ
• ใชซงข ้าวโพดทาพรม + เพิมประสทธิภาพในการใชวัสดุ
                                  ่                 ้
               ี
   ลดของเสยจากโรงงานได ้ 76% ตังแต่ปี 1996้
                                                        19
Interface: ผู ้นาด ้านความยังยืน
                              ่
                                              ยอดขายและกาไรจากการดาเนินงานโตปี ละ 10%+




                                                                             “The new course we're on
                                                                             at Interface ... is to pioneer
                                                                             the next Industrial
                                                                             Revolution: one that is
                                                                             kinder and gentler to the
                                                                             earth.” – Ray Anderson
ที่ มา: The Sustainability Survey 2009, Globescan: http://www.globescan.com/news_archives/tss_release01/   20
เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ
             ี
Planetary Boundaries:




                                                                                                21
         ที่ มา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
“Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส
                      ้
               ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ
           5 ประเด็นร ้อน                       ่       ี
                                       5 ผู ้มีสวนได ้เสย
                                       สาคัญทีผลักดัน
                                                  ่
       ภาวะสภาพภูมอากาศ
                  ิ                                ่ ่
                                       ผู ้บริโภคทีใสใจ
          เปลียนแปลง
              ่                             ิ่
                                           สงแวดล ้อม
        มลพิษและอันตราย                   ผู ้ถือหุ ้นนัก
           ต่อสุขภาพ                เคลือนไหว/เอ็นจีโอ
                                        ่
         การต่อต ้านโลกาภิ            ภาคประชาสังคม/
         วัตน์ทไม่เป็ นธรรม
               ี่                        เอ็นจีโอ
           วิกฤตพลังงาน             ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/
                                        นักวิทยาศาสตร์
        ความไว ้วางใจของ                   ประชาชน
         ประชาชนในภาค
                 ื่
         ธุรกิจเสอมถอย

ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
                                                                                                            22
     Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
“Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว
                                            ี่ ั่
                                                                                                            เสือผ้ า
                                                                                                                ้
                             50%                                                                           ออร์ แกนิก
อ ัตราการเติบโตต่อปี (%)




                                                                                                           $583 ล้ าน
                             40%                                                                สินค้ า
                                                                                               แฟร์ เทรด
                             30%                                                                 $2.2
                                                                          ไมโคร                พันล้ าน
                             20%           อาหารปลอด                     ไฟแนนซ์
                                             สารพิษ                     $7 พันล้ าน
                             10%          $15.5 พันล้ าน



                                                             รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
                           ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
                             ่                                                                                          23
“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน
• ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า
    ่           ่ ี      ่
  $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน 
  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก
                    ี
• ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็
                 ่  ั
  จะได ้กาไรและชวยสงคม
      ่
  (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน




                                       24
“Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน
                           ่
                       ั
การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible
          ่
investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทัวโลก
                                  ่               ่
• $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน –
  เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา
                             ่        ่ ่
• ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้
  อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ)
                                      ่            ้
• มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป
• กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย
• ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล
  ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว –
                                              ่
  Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini
  Social Index
                                                                25
่ ุ
สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”?
“ In the 19th century, we were making money
  with money. In the 21st century, I believe and
  hope that we will use values to create value.”
     - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of
       Cortal (a subsidiary of BNP Paribas)

“[There is] No Place To Hide for the Irresponsible
 Business”
     - Financial Times headline,
       29 September 2003
                                                     26
“You never change things by fighting the
               existing reality.
  To change something, build a new model
  that makes the existing model obsolete.”

            - R. Buckminster Fuller -

    “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ
            ี       ่
                    ความจริงทีเป็ นอยู่
                              ่
ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่
                  ่
              ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย”
                ่

           - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ -
                                                 27

Contenu connexe

En vedette

2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจPanadda Lmn
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาThawiwat Khongtor
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวBanbatu Mittraphap
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)yuiops
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017The Top Skills That Can Get You Hired in 2017
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017LinkedIn
 

En vedette (11)

2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
คู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Preziคู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Prezi
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียว
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017The Top Skills That Can Get You Hired in 2017
The Top Skills That Can Get You Hired in 2017
 

Similaire à Good Corporate Citizenship

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศHigh performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศmaruay songtanin
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)Pongsa Pongsathorn
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 

Similaire à Good Corporate Citizenship (20)

Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศHigh performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
 
Triple Bottom Line
Triple Bottom LineTriple Bottom Line
Triple Bottom Line
 
SROI of Community Development
SROI of Community DevelopmentSROI of Community Development
SROI of Community Development
 
ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
TH Developing communication target
TH Developing communication targetTH Developing communication target
TH Developing communication target
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)
 
Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1
 
Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Good Corporate Citizenship

  • 1. “การเป็ นพลเมืองดี” ของธุรกิจ (good corporate citizenship) สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ 21 ตุลาคม 2011 งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. “พลเมือง” กับ “พลเมืองดี” ั ิ • “พลเมือง” มี “สงกัด” และ “สทธิ” ในชุมชนและสงคม ั ่ ่ ่ ่ • “พลเมืองดี” คือคนทีรวมทุกข์รวมสุข ชวยเหลือเจือจาน ั ิ ่ ิ สงคมหรือชุมชนทีตนเป็ นสมาชก ไม่ใชคดถึงแต่ตวเอง ่ ั ทีมา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html ่ 2
  • 3. ธุรกิจเป็ น “พลเมือง” ในแง่ใดบ ้าง? (1) ่ ั ั • ธุรกิจเป็ นสวนหนึงของสงคม ธุรกิจขาดสงคมไม่ได ้เหมือนกับทีคน ่ ่ ั ขาดน้ าและอากาศไม่ได ้ แต่สงคมก็พงพาธุรกิจด ้วย ึ่ ่ ื • ธุรกิจไม่ใชพลเมืองแบบทีคนเป็ นพลเมือง – ไม่มหนังสอเดินทาง ่ ี ี ิ ี ี ิ ไม่มสทธิออกเสยงเลือกตัง แต่มสทธิบางอย่างเหมือนกับคน เชน ้ ่ ิ สทธิในการบริจาคเงินอุดหนุนพรรคการเมือง มุมมอง 3 มุมเกียวกับ “การเป็ นพลเมืองของธุรกิจ” ่ 1) มุมจากัด (limited view) – การเป็ นพลเมือง หมายถึงการทีธรกิจ ่ ุ ทาการกุศล (corporate philanthropy) ในชุมชนทีตนประกอบ ่ ธุรกิจ ทาตัวเป็ น “พลเมืองดี” ด ้วยการบริจาคเงินให ้กับองค์กรการ ึ กุศล จัดงานแข่งกีฬา แจกทุนการศกษา ฯลฯ 3
  • 4. ธุรกิจเป็ น “พลเมือง” ในแง่ใดบ ้าง? (2) 2) มุมเท่าเทียม (equivalent view) – “การเป็ นพลเมือง” ของธุรกิจ หมายถึงการแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (ซ ี ั ั ่ ื่ ่ เอสอาร์) ปั จจุบนบริษัท นักวิเคราะห์ ทีปรึกษา และสอสวนใหญ่ มองการเป็ นพลเมืองของธุรกิจในมุมนี้ โดยมองว่าการเป็ น ่ ี พลเมืองดีของธุรกิจมี 4 ระดับเชนเดียวกับซเอสอาร์ นั่นคือ มี ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรม และการกุศล 3) มุมขยาย (extended view) – มอง “การเป็ นพลเมือง” จากมุม ่ ิ ทางการเมือง เชน การอ ้างสทธิพลเมืองของภาคธุรกิจ การให ้ ่ ธุรกิจมีสวนร่วมในกลไกธรรมาภิบาลโลก หรือการเปิ ดให ้ธุรกิจ ิ ร่วมกับรัฐในการคุ ้มครองและหนุนเสริมสทธิพลเมืองของปั จเจก ผู ้เชยวชาญบางท่านเรียกการเป็ นพลเมืองในมุมนีวา “ไกลกว่าซ ี ี่ ้ ่ ี เอสอาร์” (beyond CSR) หรือ “ซเอสอาร์ทางการเมือง” 4
  • 5. ก่อนหน ้านีมแนวคิดทีหลากหลาย... ้ ี ่ ้ ่ • “การเป็ นพลเมืองดี” มักถูกใชในความหมาย “ชวยเหลือ ั ่ ิ่ ่ สงคม” เชน บริจาคเงิน/สงของ/ลงแรงชวงวิกฤติน้ าท่วม ี ้ ่ ั • “ซเอสอาร์” มักถูกใชในความหมาย “คืนกาไรสูสงคม/ ชุมชน” เพียงมิตเดียว เน ้นการทากิจกรรมการกุศลต่างๆ ิ โดยเฉพาะในชุมชนทีไม่ไว ้วางใจธุรกิจ ่ ้ • “ธุรกิจทียั่งยืน” มักถูกใชในความหมาย “การทาธุรกิจที่ ่ สอดคล ้องกับหลักการพัฒนาทียั่งยืน” คือไม่ลดรอน ่ ิ ี ิ ิ่ คุณภาพชวตของคนรุนหลัง  เน ้นด ้านสงแวดล ้อม ่ 5
  • 6. …แต่ปัจจุบนกาลังหลอมรวมและยกระดับ ั รายงาน "Corporate citizenship: Profiting from a sustainable business" ปี 2008 โดย Economist Intelligence Unit นิยาม “การเป็ นพลเมืองของธุรกิจ” ว่า “การก้าวข้ามการกุศล (philanthropy) และการปฏิบตตาม ั ิ กฎหมาย (compliance) ไปสูการจัดการกับผลกระทบต่อสังคม ่ และสิงแวดล้อมของธุรกิจ รวมถึงการมีสวนร่วมทางเศรษฐกิจ ่ ่ “พลเมืองภาคธุรกิจ” ไม่เพียงแต่มความรับผิดต่อผูถอหุนเท่านัน ี ้ ื ้ ้ หากแต่ยงมีความรับผิดต่อผูมสวนได้เสียอื่นๆ อาทิ พนักงาน ั ้ ี่ ผูบริโภค คูคา ชุมชนท้องถิน และสังคมส่วนรวม” ้ ่ ้ ่ 6
  • 7. จาก CSR สู่ CSV (creating shared value) CSR CSV  คุณค่า: การทาดี  คุณค่า: ประโยชน์ต่อสังคมและ สิงแวดล้อมเทียบกับต้นทุนทีเสียไป ่ ่  การเป็ นพลเมือง, การกุศล, ความยังยืน  ่ ธุรกิจกับชุมชนสร้างคุณค่าร่วมกัน  ทาตามอาเภอใจ หรือเป็ นปฏิกรยาต่อแรง  ิิ เป็ นหัวใจของความสามารถในการ กดดันจากภายนอก แข่งขัน  แยกจากการมุงทากาไรสูงสุด ่  เป็ นหัวใจของการทากาไรสูงสุด  วาระถูกกาหนดด้วยภาระการรายงานและ  วาระถูกกาหนดจากภายในองค์กร รสนิยมส่วนตัว  ผลกระทบถูกจากัดด้วยรอยเท้าธุรกิจและ  ปรับเปลียนงบการลงทุนและการใช้จาย ่ ่ งบซีเอสอาร์ ของทังบริษท ้ ั ทีมา: ผู ้เขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January- ่ 7 February 2011. ดาวน์โหลดได ้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx
  • 8. จาก “การจัดการ” สู่ “การร่วมมือ” การจัดการผูมีส่วนได้เสีย ้ การร่วมมือกับผูมีส่วนได้เสีย ้  ไม่เป็ นเอกภาพ แบ่งตามสายงาน  บูรณาการทังองค์กร ้  เน้นการบริหารจัดการความสัมพันธ์  เน้นการสร้างความสัมพันธ์  เน้นการบริหารความเสียงและลดแรง ่  เน้นการสร้างโอกาสและผลประโยชน์ กดดันจากภายนอก ร่วมกัน  เชื่อมโยงกับเป้าหมายทางธุรกิจระยะสัน  เชื่อมโยงกับเป้าหมายทางธุรกิจระยะยาว ้ ่  ปฏิบตอย่างไม่เป็ นเอกภาพ เช่น ฝาย ั ิ  มีแนวทางปฏิบตเป็ นเอกภาพทังองค์กร ั ิ ้ ลูกค้าสัมพันธ์ดแลลูกค้าด้วยแนวทาง ู ผลักดันด้วยเป้าหมายทางธุรกิจ พันธกิจ ่ หนึ่ง ฝายชุมชนสัมพันธ์ดแลชุมชนด้วย ู ทางสังคม และคุณค่าขององค์กร อีกแนวหนึ่ง ขึนอยูกบความสนใจของแต่ ้ ่ ั ่ ละฝายและสไตล์ของผูจดการแต่ละคน ้ั 8
  • 9. ั ธุรกิจทียงยืน: “สมดุล” / “สงกัด” / “ผูกพัน” ่ ั่ 9
  • 11. วิถ ี “ไตรกาไรสุทธิ” ของ Novo Nordisk • ก่อตังปี 1923 ทีเดนมาร์ก ปั จจุบนเป็ นผู ้นาโลกด ้านการ ้ ่ ั ดูแลผู ้ป่ วยโรคเบาหวาน • พนักงาน 30,000 คน มีสานั กงานใน 76 ประเทศทั่วโลก • โครงการ Changing Diabetes ต่อกรกับเบาหวานใน ประเทศกาลังพัฒนา เน ้นด ้านการป้ องกันและเข ้าถึงยา 11
  • 12. วิถของ Novo Nordisk (ต่อ) ี • โครงการ TakeAction! สนับสนุนให ้ พนักงานของบริษัททางานอาสาในเวลา งาน โดยเฉพาะด ้านการให ้ความรู ้เรืองการ ่ ป้ องกันโรคเบาหวานในชุมชนท ้องถิน ่ 12
  • 13. CEMEX: บ ้านเพือคนจน ่ • CEMEX บริษัทขายวัสดุกอสร ้างทีใหญ่ทสด ่ ่ ี่ ุ ในโลก ริเริมโครงการ “Patrimonio Hoy” ่ ในปี 1998 เพือบุกตลาดผู ้มีรายได ้น ้อย ่ ้ ่ • ใชนวัตกรรม “วงจรออม-กู ้” และชวยเรือง ่ ่ ่ ชางและสถาปนิก ชวยให ้คนจนสร ้างบ ้านได ้ เร็วกว่าปกติ 3 เท่า และถูกกว่า 3 เท่า • ในเวลา 1 ทศวรรษ ปล่อยกู ้ไมโครเครดิต ่ $135 ล ้าน ชวยให ้คนกว่า 1.3 ล ้านคนใน ทวีปอเมริกาใต ้มีบ ้านทีมคณภาพ ่ ี ุ ้ • 29% ของลูกค ้าใชบ ้านทาธุรกิจขนาดเล็ก • ได ้รับรางวัล 2006 World Business Award จาก the International Chamber of Commerce และ United Nations HABITAT Business Award ในปี 2009 13
  • 14. Campbell Soup: ซุปโซเดียมตา ่ ่ ่ ่ • อาหารทีใสเกลือมากมีสวนก่อให ้เกิด ่ ี่ ความดันโลหิตสูง เพิมความเสยงทีจะ ่ เป็ นโรคหัวใจ • Campbell Soup ยักษ์ ใหญ่ใน อุตสาหกรรมอาหาร ร่วมโครงการร่วม ระหว่างภาครัฐกับเอกชนชอ ื่ “National Salt Reduction Initiative” ตังเป้ าลดระดับเกลือใน ้ อาหาร • บริษัทเปิ ดเผยข ้อมูลโภชนาการอย่าง ละเอียด และประกาศเป้ าหมายรายได ้ จากการขายซุปโซเดียมตา ่ • ปั จจุบนรายได ้จากซุปโซเดียมตาของ ั ่ บริษัทคิดเป็ น 30% ของรายได ้รวม 14
  • 15. Odwalla: ความรับผิดชอบต่อปั ญหา ื้  บริษัทอาหาร เน ้นน้ าผลไม ้ ถูกซอกิจการโดยโคคา-โคลาในปี 2001  วันที่ 30 ต.ค. 1996 เจ ้าหน ้าทีกระทรวงสาธารณสุขแจ ้งบริษัทว่าพบ ่ ื่ ความเชอมโยงระหว่างแบคทีเรียอีโคไล กับน้ าแอปเปิ ลของบริษัท ้ ต่อมายืนยันในวันที่ 5 พฤศจิกายน ว่าสาเหตุมาจากการใชแอปเปิ ลเน่า (น้ าผลไม ้ไม่ได ้ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไรซ ์ เพราะผลิตน้ าผลไม ้สด)  หลังจากนันมีเด็กคนหนึงทีดมน้ าแอปเปิ ลตาย คนอีก 60 กว่าคนทีดม ้ ่ ่ ื่ ่ ื่ น้ าผลไม ้ของบริษัทล ้มป่ วย ยอดขายบริษัทตกลง 90% และราคาหุ ้นดิง ่ 34% มีผู ้บริโภคยืนฟ้ องบริษัท 20 คดี ่ ื้  ก่อนทีจะได ้รับการยืนยันจากทางการว่าน้ าแอปเปิ ลมีเชออีโคไล ่ ี ี ั่ Odwalla รับมือกับปั ญหาทันที ซอโอ Stephen Williamson สงเรียก ่ ี ่ คืนผลิตภัณฑ์ทังหมดทีมสวนผสมของน้ าแอปเปิ ลและแครอท ้ ครอบคลุมร ้านค ้าปลีกกว่า 4,600 แห่งใน 7 มลรัฐ ี ้  การเรียกคืนครังนี้บริษัทเสยค่าใชจ่าย 6.5 ล ้านเหรียญสหรัฐ เรียกคืน ้ ทังหมดภายใน 48 ชวโมง ้ ั่ 15
  • 16. Odwalla: ความรับผิดชอบต่อปั ญหา (ต่อ) ี ี  บริษัทไม่เคยปฏิเสธหรือบ่ายเบียงความรับผิดชอบ ซอโอแสดง ่ ี ั ความเสยใจต่อผู ้บริโภคทีได ้รับผลกระทบและสญญาว่าบริษัทจะ ่ ้ รับผิดชอบค่าใชจ่ายด ้านการรักษาพยาบาลทังหมด ้ ิ  ยอมรับว่ากระบวนการผลิตผิดพลาด ตัดสนใจเปลียนกระบวนการ ่ ผลิตน้ าผลไม ้ทันที ไปใช ้ “flash pasteurization” เพือฆ่าเชอโรค ่ ื้ ขณะทีรักษารสชาติของน้ าผลไม ้เอาไว ้ ่  หลังจากเกิดเรืองเพียงไม่กเดือน บริษัทก็มระบบการตรวจสอบ ่ ี่ ี ี่ คุณภาพและความปลอดภัยใหม่ ผู ้เชยวชาญบางคนมองว่าเป็ น ระบบทีครอบคลุมและดีทสดในอุตสาหกรรมน้าผลไม ้ ่ ี่ ุ  เริมขายน้ าแอปเปิ ลใหม่ต ้นเดือน ธ.ค. ต่อมาจ่ายค่าปรับ 1.5 ล ้าน ่ เหรียญสหรัฐ ในคดีอาญาข ้อหาขายน้าผลไม ้ปนเปื้ อนแบคทีเรีย ่ ี ี ิ ื่  บิดาของเด็กทีเสยชวตกล่าวกับสอว่า “ผมไม่โทษบริษัท ...พวก เขาทาทุกอย่างเท่าทีทาได ้แล ้ว” ่ 16
  • 17. The Body Shop: business as activist 17
  • 18. The Body Shop: business as activist “All through history, there have always been movements where business was not just about the accumulation of proceeds but also for the public good.” - Anita Roddick “I want to work for a company that contributes to and is part of the community. I want something not just to invest in. I want something to believe in.” - Anita Roddick 18
  • 19. Interface: “mission zero” ั้ • บริษัทพรมแบบ modular ชนนาของโลก เริมเปลียน ่ ่ โมเดลธุรกิจให ้เป็ นธุรกิจทียั่งยืนในปี 1994 ่ • ตังเป้ าหมาย zero footprint ภายในปี 2020 ณ ปลายปี ้ 2010 ทาได ้แล ้วประมาณ 60% • พลังงานหมุนเวียน 30% + ประสทธิภาพในการใช ้ ิ พลังงาน  ลดพลังงานต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ลงได ้ 43% และลดคาร์บอน 35% ตังแต่ปี 1996้ • เอาเงินทีประหยัดได ้ไปลงทุนกับการวิจัยและพัฒนา ทา ่ Life Cycle Assessment กับผลิตภัณฑ์ทกชนิด ฯลฯุ ้ ั ิ • ใชซงข ้าวโพดทาพรม + เพิมประสทธิภาพในการใชวัสดุ ่ ้ ี  ลดของเสยจากโรงงานได ้ 76% ตังแต่ปี 1996้ 19
  • 20. Interface: ผู ้นาด ้านความยังยืน ่ ยอดขายและกาไรจากการดาเนินงานโตปี ละ 10%+ “The new course we're on at Interface ... is to pioneer the next Industrial Revolution: one that is kinder and gentler to the earth.” – Ray Anderson ที่ มา: The Sustainability Survey 2009, Globescan: http://www.globescan.com/news_archives/tss_release01/ 20
  • 21. เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ ี Planetary Boundaries: 21 ที่ มา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
  • 22. “Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส ้ ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นร ้อน ่ ี 5 ผู ้มีสวนได ้เสย สาคัญทีผลักดัน ่ ภาวะสภาพภูมอากาศ ิ ่ ่ ผู ้บริโภคทีใสใจ เปลียนแปลง ่ ิ่ สงแวดล ้อม มลพิษและอันตราย ผู ้ถือหุ ้นนัก ต่อสุขภาพ เคลือนไหว/เอ็นจีโอ ่ การต่อต ้านโลกาภิ ภาคประชาสังคม/ วัตน์ทไม่เป็ นธรรม ี่ เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว ้วางใจของ ประชาชน ประชาชนในภาค ื่ ธุรกิจเสอมถอย ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social 22 Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 23. “Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว ี่ ั่ เสือผ้ า ้ 50% ออร์ แกนิก อ ัตราการเติบโตต่อปี (%) $583 ล้ าน 40% สินค้ า แฟร์ เทรด 30% $2.2 ไมโคร พันล้ าน 20% อาหารปลอด ไฟแนนซ์ สารพิษ $7 พันล้ าน 10% $15.5 พันล้ าน รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 23
  • 24. “Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน • ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า ่ ่ ี ่ $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก ี • ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็ ่ ั จะได ้กาไรและชวยสงคม ่ (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน 24
  • 25. “Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน ่ ั การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible ่ investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทัวโลก ่ ่ • $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน – เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา ่ ่ ่ • ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้ อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ) ่ ้ • มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป • กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย • ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว – ่ Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini Social Index 25
  • 26. ่ ุ สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”? “ In the 19th century, we were making money with money. In the 21st century, I believe and hope that we will use values to create value.” - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of Cortal (a subsidiary of BNP Paribas) “[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business” - Financial Times headline, 29 September 2003 26
  • 27. “You never change things by fighting the existing reality. To change something, build a new model that makes the existing model obsolete.” - R. Buckminster Fuller - “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ ี ่ ความจริงทีเป็ นอยู่ ่ ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่ ่ ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย” ่ - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ - 27