SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
การให้บริการทางการเงินอย่างรับผิดชอบ
              / การเงินทียังยืน
(Responsible Finance / Sustainable Finance)
                            สฤณี อาชวานันทกุล
                            Fringer | คนชายขอบ
                           http://www.fringer.org/
นําเสนอในงานเสวนา “การใช้และให้บริการทางการเงินอย่างรับผิดชอบเพือการเติบโตอย่างยังยืน”
               วันที 12 มิถุนายน 2552 ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

                      งานนีเผยแพร่ภายใต้ลขสิทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
                                             ิ
                      nc-sa) โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซํา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึงของงานนี
                                   ้               ํ
                      ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นําไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้
                                                 ี         ้
                      ลิขสิทธิเดียวกันนีเท่านัน
หัวข้อนําเสนอ
   ธุรกิจการเงินในกรอบคิดการพัฒนาอย่างยังยืน
   หน้าทีของนักการเงิน (fiduciary duty)
   ตัวอย่างสถาบันการเงินและกลไกสนับสนุ น “บริการ
   อย่างรับผิดชอบ” ในต่างประเทศ
   เหตุผลทางธุรกิจ และโครงสร้างเชิงสถาบันทีจําเป็ น


                                                      2
โมเดลผูมสวนได้สวนเสียของธุรกิจ (stakeholder model)
       ้ ี่    ่




                                                     3
กรอบคิด “การพัฒนาอย่างยังยืน”
  “การพัฒนาอย่างยังยืน หมายถึงวิถีการพัฒนาทีสามารถตอบสนอง
ความต้องการของปัจจุบนโดยไม่ลิดรอนความสามารถของคนรุ่นหลังใน
                     ั
           การตอบสนองความต้องการของพวกเขา”
                     - Brundtland Report -
   ลักษณะสําคัญบางประการของ “การพัฒนาอย่างยังยืน”
      ให้ความสําคัญกับความเท่าเทียมกัน (equity) และความยุตธรรม (fairness)
                                                           ิ
      มีมมมองระยะยาว (long-term view) ภายใต้หลักความรอบคอบ
          ุ
      (precautionary principle) ผูเชียวชาญบางคนเสนอว่า ตราบใดทีคนรุนหนึง
                                  ้                                 ่
      คิดถึงคนรุนต่อไป (ประมาณ 50 ปี ) ก็แปลว่าคนทุกรุนจะได้รบการดูแล
                ่                                     ่      ั
      คิดแบบเป็ นระบบ (systems thinking) ซึงต้องอาศัยความเข้าใจในความ
      เชือมโยงระหว่างสิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
่
ความต้องการของผูมสวนได้เสียแต่ละฝายไม่เหมือนกัน
                ้ ี่
  ผูถอหุน : ผลตอบแทนทางการเงิน ความเป็ นมืออาชีพ
    ้ ื ้
  ผูฝากเงิน : อัตราดอกเบียเงินฝากสูง เงือนไขทีเป็ นธรรมและโปร่งใส
     ้
  (เช่น ไม่ซ่อนค่าธรรมเนียม) ความสะดวกในการใช้บริการ
  ลูกหนี : อัตราดอกเบียเงินกูตํา เงือนไขทีเป็ นธรรมและโปร่งใส (เช่น
                              ้
  เปิ ดเผยอัตราดอกเบียต่อปี ) ความเท่าเทียมกันในการให้บริการ (เช่น
  ไม่เอือประโยชน์ให้กบพวกพ้องของผูบริหาร)
                      ั               ้
                                                        เรืองใหม่
  รัฐ : เงินภาษี ความประพฤติทถูกต้องตามกฎหมาย
                                ี
  สังคม : กิจกรรมทีสนับสนุ น “การพัฒนาอย่างยังยืน” เช่น ไม่ปล่อย
  สินเชือให้กบโครงการทีทําลายธรรมชาติหรือชุมชนโดยไร้มาตรการ
              ั
  ฟืนฟูหรือชดเชย, ไม่สงเสริมพฤติกรรมเก็งกําไร/กระพือฟองสบู่
                        ่
หน้าทีพืนฐานของนักการเงิน (fiduciary duty)
   นักการเงินมี “หน้าทีพืนฐาน” (fiduciary duty) บางประการทีจะต้อง
   ปฏิบติ ก่อนทีจะพูดถึง “ความรับผิดชอบ” ในระดับทีกว้างกว่า
        ั
   กล่าวโดยสรุป หน้าทีพืนฐานของนักการเงิน คือการรักษาผลประโยชน์
   ของลูกค้า และไม่ทาให้ตวเองต้องตกอยูในสถานการณ์ดงต่อไปนี
                     ํ     ั             ่             ั
      มีผลประโยชน์ทบซ้อน ระหว่างผลประโยชน์ของตัวเองกับของลูกค้า
                    ั
      มีผลประโยชน์ทบซ้อน ระหว่างผลประโยชน์ของลูกค้าสองรายหรือมากกว่า
                      ั
      (เพราะจะไม่สามารถทํางานเพือผลประโยชน์สงสุดของทุกรายได้)
                                                ู
      แสวงหาประโยชน์จากอํานาจหน้าทีโดยทีลูกค้าไม่รบรูหรือยินยอม หรือ
                                                     ั ้
      ในทางทีเอาเปรียบผูเล่นรายอืนในตลาด เช่น ลงทุนดักหน้าดักหลังกองทุนที
                        ้
      ตนทํางานให้ (การรับสินบนจากลูกค้าก็เข้าข่ายข้อนีด้วย)
การให้บริการทางการเงินที “รับผิดชอบ” หรือ “ยังยืน”
   สถาบันการเงินที “ให้บริการอย่างรับผิดชอบ” ต้องมีกลไกทีทําให้พนักงานของ
   ตนทุกระดับปฏิบตตนตาม “หน้าทีพืนฐาน”
                   ั ิ
   นอกจากนัน ก็ยงมีลกษณะหลักๆ อีกสองประการ (อาจมีอย่างใดอย่างหนึง
                  ั ั
   หรือทังสองอย่าง)
       ดําเนินธุรกิจในทางทีแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิงแวดล้อม เช่น มีโครงการรี
       ไซเคิลทรัพยากรในสํานักงาน สนับสนุ นงานประเพณีในชุมชน ปรับปรุงการบริหาร
       จัดการทรัพยากรบุคคล เพิมระดับเงินบริจาค ฯลฯ
       ผนวกรวมแนวคิด “การพัฒนาอย่างยังยืน” เข้าไปในธุรกิจหลัก ด้วยการผสาน
       ผลประโยชน์ต่อสังคมและสิงแวดล้อมเข้าไปในขันตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์ พันธ
       กิจและกลยุทธ์องค์กร เช่น นําหลักเกณฑ์ดานสังคมและสิงแวดล้อมมาเป็ นเงือนไขใน
                                               ้
       การปล่อยสินเชือ (socially responsible lending) และกลยุทธ์การลงทุน (socially
       responsible investment) และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีช่วยให้ธุรกิจทียังยืนสามารถ
       เข้าถึงทุนได้งายขึน
                     ่
ตัวอย่างสถาบันการเงินและกลไกสนับสนุ นในต่างประเทศ
  สถาบันการเงินกระแสหลัก
     Deutsche Bank
  สถาบันการเงินกระแสรอง
     Triodos Bank
     Root Capital
  กลไกสนับสนุ น
     Equator Principles
     FT & IFC “Sustainable Bank” awards
Triodos Bank (ยุโรป) : สินเชือเพือการพัฒนาทียังยืน
Root Capital (US) : สินเชือเพือผูประกอบการรากหญ้า
                                 ้
Equator Principles (http://www.equator-principles.com/)
   หลักการปล่อยสินเชือโครงการใหญ่ (project finance) อย่างยังยืน 10 ข้อ
                                                               ั ั
   บุกเบิกโดย IFC ร่วมกับธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ในปี 2002 ปจจุบนมี
   สถาบันการเงินเข้าร่วมเป็ นสมาชิก 68 แห่งทัวโลก ปล่อยสินเชือรวมกันกว่า
   75% ของสินเชือโครงการใหญ่ทวโลก ั
                 ั ั
   หลักการชุดปจจุบน (เวอร์ชนปี 2006) ใช้สาหรับโครงการขนาด $10 ล้านขึน
                             ั             ํ
   ไป ครอบคลุมทุกอุตสาหรรม โดยใช้หลักเกณฑ์เชิงสังคมในการกลันกรอง
   โครงการ (social screening criteria) ของ IFC, ระบุเงือนไขด้านสังคมและ
   สิงแวดล้อมในสัญญาเงินกู้ (เช่น ผูขอกูจะต้องทําตาม Action Plan ทีบริหาร
                                    ้ ้
   จัดการความเสียงด้านสังคมและสิงแวดล้อม) และมีกลไกร้องทุกข์
   ยังเน้นแค่วธการประเมินและบรรเทาความเสียหาย (reactive approach) ไม่ใช่
              ิี
   proactive approach แบบบูรณาการทีสนับสนุ นการพัฒนาอย่างยังยืน
เหตุผลทางธุรกิจ และโครงสร้างเชิงสถาบันทีจําเป็ น
  เหตุผลทางธุรกิจสร้างแรงจูงใจได้ดทสุด
                                  ี ี
     บุกเบิก “ตลาดใหม่” ทีสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยังยืน อาทิเช่น เทคโนโลยี
     สะอาด สินค้าแฟร์เทรด สินเชือเพือคนจน ฯลฯ
     ลดความเสียงจากลูกค้าทีทําธุรกิจอย่างไม่ยงยืน (ทําลายสิงแวดล้อม ฯลฯ)
                                              ั
     เสียงเรียกร้องจากผูบริโภค สังคม และสือ (โดยเฉพาะหลังเกิดวิกฤตซับไพรม)
                        ้
     แรงกดดันจากลูกค้าต่างชาติทประกาศดําเนินธุรกิจแบบยังยืน
                                  ี
  ยิงสภาพแวดล้อมในประเทศยังไม่ “สร้าง” เหตุผลทางธุรกิจทีจูงใจเพียงใด ยิงต้อง
  ใช้กลไกเชิงสถาบันช่วยผลักดัน เช่น กฎหมาย และมาตรฐานการเปิ ดเผยข้อมูล
  เพือ “บังคับ” ให้สถาบันการเงินรับผิดชอบในระดับ “หน้าทีพืนฐาน” และ
  “สนับสนุ น” ให้รบผิดชอบในระดับทีกว้างกว่า เช่น ปล่อยสินเชือ soft loan ให้กบ
                  ั                                                         ั
  บริษทหรือผูประกอบการทีทําธุรกิจอย่างยังยืน ธุรกิจเพือสังคม ฯลฯ
       ั       ้

Contenu connexe

Similaire à Responsible / Sustainable Finance

Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopMary Prath, home!
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0maruay songtanin
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2Vivace Narasuwan
 

Similaire à Responsible / Sustainable Finance (20)

CSR and Labor
CSR and LaborCSR and Labor
CSR and Labor
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
SROI of Community Development
SROI of Community DevelopmentSROI of Community Development
SROI of Community Development
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
บทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหาบทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหา
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Test
TestTest
Test
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Responsible / Sustainable Finance

  • 1. การให้บริการทางการเงินอย่างรับผิดชอบ / การเงินทียังยืน (Responsible Finance / Sustainable Finance) สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ นําเสนอในงานเสวนา “การใช้และให้บริการทางการเงินอย่างรับผิดชอบเพือการเติบโตอย่างยังยืน” วันที 12 มิถุนายน 2552 ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งานนีเผยแพร่ภายใต้ลขสิทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- ิ nc-sa) โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซํา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึงของงานนี ้ ํ ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นําไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ ี ้ ลิขสิทธิเดียวกันนีเท่านัน
  • 2. หัวข้อนําเสนอ ธุรกิจการเงินในกรอบคิดการพัฒนาอย่างยังยืน หน้าทีของนักการเงิน (fiduciary duty) ตัวอย่างสถาบันการเงินและกลไกสนับสนุ น “บริการ อย่างรับผิดชอบ” ในต่างประเทศ เหตุผลทางธุรกิจ และโครงสร้างเชิงสถาบันทีจําเป็ น 2
  • 4. กรอบคิด “การพัฒนาอย่างยังยืน” “การพัฒนาอย่างยังยืน หมายถึงวิถีการพัฒนาทีสามารถตอบสนอง ความต้องการของปัจจุบนโดยไม่ลิดรอนความสามารถของคนรุ่นหลังใน ั การตอบสนองความต้องการของพวกเขา” - Brundtland Report - ลักษณะสําคัญบางประการของ “การพัฒนาอย่างยังยืน” ให้ความสําคัญกับความเท่าเทียมกัน (equity) และความยุตธรรม (fairness) ิ มีมมมองระยะยาว (long-term view) ภายใต้หลักความรอบคอบ ุ (precautionary principle) ผูเชียวชาญบางคนเสนอว่า ตราบใดทีคนรุนหนึง ้ ่ คิดถึงคนรุนต่อไป (ประมาณ 50 ปี ) ก็แปลว่าคนทุกรุนจะได้รบการดูแล ่ ่ ั คิดแบบเป็ นระบบ (systems thinking) ซึงต้องอาศัยความเข้าใจในความ เชือมโยงระหว่างสิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
  • 5. ่ ความต้องการของผูมสวนได้เสียแต่ละฝายไม่เหมือนกัน ้ ี่ ผูถอหุน : ผลตอบแทนทางการเงิน ความเป็ นมืออาชีพ ้ ื ้ ผูฝากเงิน : อัตราดอกเบียเงินฝากสูง เงือนไขทีเป็ นธรรมและโปร่งใส ้ (เช่น ไม่ซ่อนค่าธรรมเนียม) ความสะดวกในการใช้บริการ ลูกหนี : อัตราดอกเบียเงินกูตํา เงือนไขทีเป็ นธรรมและโปร่งใส (เช่น ้ เปิ ดเผยอัตราดอกเบียต่อปี ) ความเท่าเทียมกันในการให้บริการ (เช่น ไม่เอือประโยชน์ให้กบพวกพ้องของผูบริหาร) ั ้ เรืองใหม่ รัฐ : เงินภาษี ความประพฤติทถูกต้องตามกฎหมาย ี สังคม : กิจกรรมทีสนับสนุ น “การพัฒนาอย่างยังยืน” เช่น ไม่ปล่อย สินเชือให้กบโครงการทีทําลายธรรมชาติหรือชุมชนโดยไร้มาตรการ ั ฟืนฟูหรือชดเชย, ไม่สงเสริมพฤติกรรมเก็งกําไร/กระพือฟองสบู่ ่
  • 6. หน้าทีพืนฐานของนักการเงิน (fiduciary duty) นักการเงินมี “หน้าทีพืนฐาน” (fiduciary duty) บางประการทีจะต้อง ปฏิบติ ก่อนทีจะพูดถึง “ความรับผิดชอบ” ในระดับทีกว้างกว่า ั กล่าวโดยสรุป หน้าทีพืนฐานของนักการเงิน คือการรักษาผลประโยชน์ ของลูกค้า และไม่ทาให้ตวเองต้องตกอยูในสถานการณ์ดงต่อไปนี ํ ั ่ ั มีผลประโยชน์ทบซ้อน ระหว่างผลประโยชน์ของตัวเองกับของลูกค้า ั มีผลประโยชน์ทบซ้อน ระหว่างผลประโยชน์ของลูกค้าสองรายหรือมากกว่า ั (เพราะจะไม่สามารถทํางานเพือผลประโยชน์สงสุดของทุกรายได้) ู แสวงหาประโยชน์จากอํานาจหน้าทีโดยทีลูกค้าไม่รบรูหรือยินยอม หรือ ั ้ ในทางทีเอาเปรียบผูเล่นรายอืนในตลาด เช่น ลงทุนดักหน้าดักหลังกองทุนที ้ ตนทํางานให้ (การรับสินบนจากลูกค้าก็เข้าข่ายข้อนีด้วย)
  • 7. การให้บริการทางการเงินที “รับผิดชอบ” หรือ “ยังยืน” สถาบันการเงินที “ให้บริการอย่างรับผิดชอบ” ต้องมีกลไกทีทําให้พนักงานของ ตนทุกระดับปฏิบตตนตาม “หน้าทีพืนฐาน” ั ิ นอกจากนัน ก็ยงมีลกษณะหลักๆ อีกสองประการ (อาจมีอย่างใดอย่างหนึง ั ั หรือทังสองอย่าง) ดําเนินธุรกิจในทางทีแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิงแวดล้อม เช่น มีโครงการรี ไซเคิลทรัพยากรในสํานักงาน สนับสนุ นงานประเพณีในชุมชน ปรับปรุงการบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคล เพิมระดับเงินบริจาค ฯลฯ ผนวกรวมแนวคิด “การพัฒนาอย่างยังยืน” เข้าไปในธุรกิจหลัก ด้วยการผสาน ผลประโยชน์ต่อสังคมและสิงแวดล้อมเข้าไปในขันตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์ พันธ กิจและกลยุทธ์องค์กร เช่น นําหลักเกณฑ์ดานสังคมและสิงแวดล้อมมาเป็ นเงือนไขใน ้ การปล่อยสินเชือ (socially responsible lending) และกลยุทธ์การลงทุน (socially responsible investment) และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีช่วยให้ธุรกิจทียังยืนสามารถ เข้าถึงทุนได้งายขึน ่
  • 8. ตัวอย่างสถาบันการเงินและกลไกสนับสนุ นในต่างประเทศ สถาบันการเงินกระแสหลัก Deutsche Bank สถาบันการเงินกระแสรอง Triodos Bank Root Capital กลไกสนับสนุ น Equator Principles FT & IFC “Sustainable Bank” awards
  • 9.
  • 10. Triodos Bank (ยุโรป) : สินเชือเพือการพัฒนาทียังยืน
  • 11. Root Capital (US) : สินเชือเพือผูประกอบการรากหญ้า ้
  • 12. Equator Principles (http://www.equator-principles.com/) หลักการปล่อยสินเชือโครงการใหญ่ (project finance) อย่างยังยืน 10 ข้อ ั ั บุกเบิกโดย IFC ร่วมกับธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ในปี 2002 ปจจุบนมี สถาบันการเงินเข้าร่วมเป็ นสมาชิก 68 แห่งทัวโลก ปล่อยสินเชือรวมกันกว่า 75% ของสินเชือโครงการใหญ่ทวโลก ั ั ั หลักการชุดปจจุบน (เวอร์ชนปี 2006) ใช้สาหรับโครงการขนาด $10 ล้านขึน ั ํ ไป ครอบคลุมทุกอุตสาหรรม โดยใช้หลักเกณฑ์เชิงสังคมในการกลันกรอง โครงการ (social screening criteria) ของ IFC, ระบุเงือนไขด้านสังคมและ สิงแวดล้อมในสัญญาเงินกู้ (เช่น ผูขอกูจะต้องทําตาม Action Plan ทีบริหาร ้ ้ จัดการความเสียงด้านสังคมและสิงแวดล้อม) และมีกลไกร้องทุกข์ ยังเน้นแค่วธการประเมินและบรรเทาความเสียหาย (reactive approach) ไม่ใช่ ิี proactive approach แบบบูรณาการทีสนับสนุ นการพัฒนาอย่างยังยืน
  • 13.
  • 14. เหตุผลทางธุรกิจ และโครงสร้างเชิงสถาบันทีจําเป็ น เหตุผลทางธุรกิจสร้างแรงจูงใจได้ดทสุด ี ี บุกเบิก “ตลาดใหม่” ทีสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยังยืน อาทิเช่น เทคโนโลยี สะอาด สินค้าแฟร์เทรด สินเชือเพือคนจน ฯลฯ ลดความเสียงจากลูกค้าทีทําธุรกิจอย่างไม่ยงยืน (ทําลายสิงแวดล้อม ฯลฯ) ั เสียงเรียกร้องจากผูบริโภค สังคม และสือ (โดยเฉพาะหลังเกิดวิกฤตซับไพรม) ้ แรงกดดันจากลูกค้าต่างชาติทประกาศดําเนินธุรกิจแบบยังยืน ี ยิงสภาพแวดล้อมในประเทศยังไม่ “สร้าง” เหตุผลทางธุรกิจทีจูงใจเพียงใด ยิงต้อง ใช้กลไกเชิงสถาบันช่วยผลักดัน เช่น กฎหมาย และมาตรฐานการเปิ ดเผยข้อมูล เพือ “บังคับ” ให้สถาบันการเงินรับผิดชอบในระดับ “หน้าทีพืนฐาน” และ “สนับสนุ น” ให้รบผิดชอบในระดับทีกว้างกว่า เช่น ปล่อยสินเชือ soft loan ให้กบ ั ั บริษทหรือผูประกอบการทีทําธุรกิจอย่างยังยืน ธุรกิจเพือสังคม ฯลฯ ั ้