SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
คาดการณแนวโนมโลก ผาน “ความมังคังปฏิวัติ” และนัย
                                ่่
              ตอการทองเที่ยวไทย
                         สฤณี อาชวานันทกุล
                         Fringer | คนชายขอบ
                        http://www.fringer.org/
           นําเสนอในงานเสวนา “เปดมุมมอง ทองเที่ยวไทย” ครั้งที่ 4/2552
               วันที่ 7 เมษายน 2552 ณ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

                   งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
                   nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทาซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้
                                                 ํ
                   ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต
                                                                     ํ
                   ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
หัวขอนําเสนอ
   ความมังคั่งปฏิวัติ
          ่
   นัยของความมังคั่งปฏิวัตตอการทองเที่ยวไทย
                 ่        ิ
   ตัวอยางการทองเที่ยวอยางยังยืน: ระบบจายตรงใน
                               ่
   กัมพูชา




                                                     2
ความมั่งคั่งปฏิวัติ
สรุปบางประเด็นจาก “ความมังคั่งปฏิวัต”
                         ่          ิ
              1. “ระบอบความมั่งคั่ง” ประกอบดวยระบบเงินตรา
                 และระบบนอกเงินตรา (นอกตลาด) ที่ผานมา นัก
                 เศรษฐศาสตรมองเห็นแตระบบแรกเทานั้น
              2. คลื่นลูกที่สาม (เศรษฐกิจขอมูล) มอบอํานาจ
                 มหาศาลใหกับผูผลิต-บริโภค (prosumers) ทําให
                 ระบบนอกตลาดทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ
              3. เราตองหาวิธีตอบแทนผูผลิต-บริโภค สรางกลไก
                 เชื่อมโยงระหวางระบบตลาดและนอกตลาด
              4. เราจะตองมองเห็น “ปจจัยพื้นฐานลึกซึ้ง” ที่
                 ขับเคลือนความมั่งคั่ง เพื่อรับมือกับอนาคต และ
                         ่
                 จัดการกับ “การปะทะระหวางคลื่น”                 4
บทนํา
  สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ กําลังเปลี่ยนผานไปสู “เศรษฐกิจ
  ขอมูล” ที่ขับเคลื่อนดวยพลังสมอง
  บทบาทของความรูในการสรางความมั่งคั่งทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ
  กอนที่ความมั่งคั่งจะปฏิวัติอยางแทจริง มันจะตองเปลี่ยนรูปไปกอน
  ทั้งแงปริมาณและวิธีที่ถูกสราง รวมทั้งระดับความมั่งคั่งที่เปน
  นามธรรมหรือรูปธรรมก็ตองเปลียนดวย
                                   ่
  แมวาเราทุกคนจะใชชีวิตอยูในเศรษฐกิจเงินตรา แตความมั่งคั่งไมใช
  เรื่องเงินเพียงอยางเดียว แตยังมีเศรษฐกิจคูขนานที่เราไดสิ่งที่
  ตองการโดยไดตองใชเงินดวย
  ระบบเงินตราและนอกเงินตรารวมกันเรียกวา “ระบบความมั่งคั่ง”
อนาคตของความมังคั่ง
              ่
  “ความมั่งคั่ง” หมายถึงอะไรก็ตามที่ตอบสนองความปรารถนา
  หนังสือ “ความมั่งคั่งปฏิวัติ” พยายามมองอนาคตของความมั่งคั่ง ทั้ง
  ที่มองเห็นและมองไมเห็น เกี่ยวกับความมั่งคั่งรูปแบบใหมที่ปฏิวัติรูป
  แบบเดิมๆ ซึ่งจะออกแบบชีวิต บริษัท และโลกใหม
  ความมั่งคั่งปฏิวัติเปดประตูสูโอกาส แตในขณะเดียวกันก็เปดสูความ
  เสี่ยงที่มากขึ้นและอันตรายกวาเดิมดวย
  นักเศรษฐศาสตรมักอธิบายเรื่อง “พื้นฐานทางธุรกิจ” แตไมคอยพูด
  เรื่อง “พื้นฐานลึกซึง” อันไดแก พื้นที่ เวลา และความรู
                      ้
  การมองใหเห็น “พื้นฐานลึกซึ้ง” จะทําใหมองเห็นความตองการใหมๆ
  และภาคธุรกิจใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น เชน อุตสาหกรรมความเหงา
อนาคตของความมังคั่ง (ตอ)
              ่
   การพยากรณความมั่งคั่ง นอกจากจะตองดูมูลคาของงานที่ทําเพื่อ
   เงินแลว ตองมองถึงงานที่ทําในฐานะ “ผูผลิต-บริโภค” และ “งานที่
                                          
   สาม” ดวย มิเชนนันจะไมสามารถเขาใจความเปนไปในชีวิตสวนตัว
                       ้
   ของคน ทั้งในปจจุบันและอนาคตไดอยางลึกซึ้ง
   ระบบความมั่งคั่งใหม มาพรอมกับวิถีชีวิต, อารยธรรม, ศิลปะ ฯลฯ
   แบบใหมๆ โดยมีสหรัฐอเมริกาเปนผูนาการเปลี่ยนแปลง
                                        ํ
   ประเทศอื่นๆ ตางหวาดระแวงอเมริกา เพราะระบบที่อเมริกาพัฒนา
   อยูนั้น กําลังคุกคามเครือขายผลประโยชนทางการเงินและการเมืองที่
   ฝงรากลึกอยูทั่วโลก
อนาคตของความมังคั่ง (ตอ)
              ่
   สวนผสมระหวางความมั่งคั่งปฏิวัติและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
   และวัฒนธรรม อาจมาจากลัทธิไมชอบอเมริกัน
   แตความมั่งคั่งปฏิวัติไมไดเปนระบบที่อเมริกาสามารถ “ผูกขาด” ไว
   เพียงเจาเดียวอีกตอไป
   การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของแรงงานเปน “จุดเปลี่ยน” จาก
   ระบอบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเปนหลัก ไปสูเศรษฐกิจที่
   ใชความรูหรือมันสมองเปนหลัก สวนวัฒนธรรม การเมือง และ
   บทบาทตางๆ ก็เริ่มเปลี่ยนไปเชนกัน
   ความมั่งคั่งปฏิวัติกําลังทําลายพรมแดนระหวางชีวิตที่บานกับที่
   ทํางาน พรมแดนทางเพศ รวมทั้งพรมแดนทางวิชาการอีกดวย
การปลูกฝงความรูและเครื่องมือทุนเพื่อความรู
   สิ่งที่กําลังเกิดขึ้นควบคูไปกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทและพรมแดน
   ตางๆ ในสังคม คือการเปลี่ยนแปลงที่เร็วยิ่งกวาของสาธารณูปโภค
   พื้นฐานของความรู
   การปฏิวัติทางวิทยาศาสตรก็กําลังเกิดขึ้นอยางรุนแรง ทําใหปจจุบัน
   เราเห็นเครื่องมือทุนที่สรางเครื่องมือทุนเองดวย
   เชน ในอนาคตเครื่องจักรนาโนจะ “ผลิตซ้ํา” ตัวเองได
   ยิ่งมีนวัตกรรมใหมๆ ที่หลากหลายมากเพียงใด ศักยภาพที่จะผนวก
   ความกาวหนาเหลานี้เขาดวยกัน ใหเกิดผลลัพธมหาศาลก็ย่ิงสูงขึ้น
   ดวย เราจะเห็นการโนมเขาหากันลักษณะนีมากขึ้นเรื่อยๆ
                                               ้
คลื่นความมังคั่งสามลูก
           ่
   คลื่นลูกแรกของความมั่งคังคืออารยธรรมเกษตร ซึ่งนําไปสูการแบงงานกันทํา
                             ่
   การคา การแลกเปลียน ่
   คลื่นลูกที่สองคือเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม ที่ทําใหเกิดความแตกตางระหวาง
   “ประเทศพัฒนาแลว” และ “ประเทศดอยพัฒนา”
   คลื่นลูกที่สาม มาเปลี่ยนปจจัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม – ที่ดิน แรงงาน และ
   ทุน ไปเปนความรูที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงและลึกซึ้ง และทําลาย “ความเปน
   แมส” ของกระบวนการผลิต ตลาด และสังคม ที่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมทําไว
   รวมทั้งเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกรใหกลายเปนแนวราบ
   การเปลี่ยนแปลงเหลานี้เกิดขึ้นควบคูกบความเสื่อมโทรม นวัตกรรม และการ
                                        ั
   ทดลอง สวนสังคมและวัฒนธรรมก็ถูกสั่นคลอนเมื่อมีการปะทะกันของระบบ
   ความมั่งคังสองระบบขึนไป
               ่          ้
ปจจัยพื้นฐานลึกซึง
                  ้
   “ปจจัยพื้นฐานลึกซึง” ที่ผานมาถูกละเลย ทําใหมองไมเห็นการ
                         ้
   เปลี่ยนแปลงที่ดําเนินไปและปญหาการ “ผิดจังหวะ”
   ปจจัยพื้นฐานลึกซึงไดแก เวลา พื้นที่ ความรู
                       ้
   เวลาเรงเร็วกวาเดิม และ “เปนสวนตัว” กวาเดิม
   เศรษฐกิจขอมูลสราง “พื้นที่มูลคาเพิ่มสูง”, อินเทอรเน็ตสราง “พื้นที่
   เสมือน” , การแปลงเปนดิจิตัลขยาย “เอื้อมทางกายภาพ”
   ความรูเปน “น้ํามัน” ของอนาคต แตตองจัดการและกรองอยางถูกตอง
   ภาคสวนตางๆ เดินดวยจังหวะเร็วชาไมเทากัน ทําใหเกิดปญหาการ
   “ผิดจังหวะ” โดยเฉพาะในภาคที่สถาบันยังทํางานดวยกระบวนทัศน
   ของยุคอุตสาหกรรม (ผลิตทุกอยางเปนแมส) เชน การศึกษา
ระบบนอกเงินตรา : ภาคเศรษฐกิจผลิต-บริโภค
  เราทุกคนลวนเปนผูผลิต-บริโภค เพราะความตองการและความอยาก
                         
  ไดที่เปนเรื่องสวนตัวมากๆ หลายอยางเปนสิ่งที่ตลาดยังไมมีหรือ
  ตอบสนองไมได เชน การเลี้ยงดูบุตร
  ภาคผลิต-บริโภคมีขนาดใหญ แตไมมีใครติดตาม ไมมีใครจาย
  คาตอบแทน
  เศรษฐกิจเงินตราจะอยูไมได ถาขาดระบบเศรษฐกิจผลิต-บริโภค
  นักเขียน-นักกิจกรรม ฮาเซล เฮนเดอรสัน เรียกวา “กาวสังคม”
  แกรี่ เบ็กเกอร ชี้วา “เวลาที่คนไมไดใชทํางาน อาจสําคัญตอสวัสดิการ
  ทางเศรษฐกิจมากกวาเวลาที่ใชในที่ทํางาน แตนักเศรษฐศาสตรกลับ
  ใหความสําคัญกับประเด็นหลังนอยกวาประเด็นแรกมาก”
ระบบนอกเงินตรา : ภาคเศรษฐกิจผลิต-บริโภค (ตอ)
  นักเศรษฐศาสตรมักนิยาม “มูลคาทางเศรษฐกิจ” แบบดั้งเดิมเทานั้น
  สาเหตุหลักเปนเพราะเงินเปนสิ่งที่นับงาย และการผลิต-บริโภคอยู
  นอกเหนือขอบเขตที่พวกเขาศึกษา
  ดังนั้น เครื่องมืออยางผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) นาจะ
  ถูกเรียกวา “ผลิตผลที่เบี่ยงเบนมหาศาล” มากกวา เพราะไมนับ
  กิจกรรมในระบบนอกเงินตรา
  บทบาทของผูบริโภคกําลังเปลียนไป และบทบาทของผูผลิต-บริโภค
                                ่                     
  จะขยายใหญขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ระบบเศรษฐกิจขอมูลทวีความสําคัญ
  ตัวอยาง: “ผูผลิต-บริโภคสุขภาพ” สามารถเขาถึงขอมูลดานสุขภาพ
                
  ไดมากขึ้น และซือเครื่องมือตรวจวัดโรคหลายอยางไดดวยตัวเอง
                    ้
“งานที่สาม” ของผูผลิต-บริโภค
   นอกจากงานที่ทําแลวไดเงิน งานบานที่ไมไดเงิน ปจจุบนคนเรายัง
                                                          ั
   ทํางานที่สาม (ที่ไมไดเงิน) เชน การติดตามพัสดุผานอินเทอรเน็ต
   หรือฝากเงินผานเอทีเอ็ม งานเหลานี้ทําใหบริษัทตางๆ จางแรงงาน
   ลดลงมาก
   อาสาสมัครเพื่อสังคม และมือสมัครเลน เปนผูผลิต-บริโภครายสําคัญ
                                                
   การผลิต-บริโภคที่เพิ่มขึ้นเพิ่มแรงผลักดันไปสูการ “ผลักตนทุน” จาก
   บริษัทไปยังผูบริโภค
   คนจะพึ่งพาตัวเองมากขึ้น (Do-It-Yourself หรือ DIY)
   ผูผลิต-บริโภคไมเพียงแตสามารถแปลงงานอดิเรกใหเปนธุรกิจ
     
   เทานั้น แตยังสามารถริเริ่มอุตสาหกรรมใหมๆ ทั้งอุตสาหกรรม
ความเชื่อมโยงระหวางระบบตลาด กับระบบนอกตลาด
  ตัวอยาง - แนปสเตอร (Napster) เปนซอฟตแวรที่ทําใหคนได
  แลกเปลี่ยนเพลงระหวางกัน แตมันถูกบริษัทเพลงฟองใหปดกิจการไป
  แลวกลับมาใหมในฐานะบริการที่เก็บเงิน คือเขาสูเศรษฐกิจเงินตรา
  เวลาที่เร็วขึ้น พื้นที่ขยายกวางขึ้น และความรูทางเทคนิค ทําใหเกิด
  การพัฒนา “อาวุธอานุภาพทําลายลางตลาดสูง”
  ทําใหเห็นความเปนไปไดวา กลุมคนเล็กๆ อาจสามารถยายกิจกรรม
  ปริมาณมหาศาลออกจากเศรษฐกิจเงินตราไปสูเศรษฐกิจไมใชเงินได
  เรากําลังพัฒนาปฏิสัมพันธที่หนาแนนขึ้นเรื่อยๆ ระหวางเศรษฐกิจ
  เงินตราและเศรษฐกิจไมใชเงิน
  มูลคาของการผลิต-บริโภคอาจถูก “แปลง” เปนมูลคาที่เปนตัวเงิน
คุณปการของผูผลิต-บริโภค
   ู
  ผูผลิต-บริโภคทํางานที่ไมไดรับคาตอบแทนดวยการทํา “งานที่สาม”
    
  และกิจกรรมที่ทําใหกับตัวเอง
  ผูผลิต-บริโภคซื้อสินคาทุนจากเศรษฐกิจเงินตรา
      
  ผูผลิต-บริโภคใหผูใชในระบอบเศรษฐกิจเงินตรายืมเครื่องมือและทุน
        
  ไปใช นับเปน “ขาวเที่ยงฟรี” อีกหนึ่งจาน
  ผูผลิต-บริโภคปรับปรุงที่อยูอาศัย สงผลกระทบตอตัวแปรตางๆ ใน
          
  เศรษฐกิจเงินตรา
  ผูผลิต-บริโภค “สรางตลาด” ใหกับสินคา บริการ และทักษะตางๆ
            
  ผูผลิต-บริโภค “ทลายตลาด” สินคาหรือบริการดวยเชนกัน
              
  ผูผลิต-บริโภคสรางมูลคาในฐานะอาสาสมัคร
                
คุณปการของผูผลิต-บริโภค (ตอ)
   ู
   ผูผลิต-บริโภคนําสงขอมูลที่มีมูลคาฟรีๆ ใหกับบริษัทที่แสวงหากําไร
     
   เชน เวลาตองทําแบบทดสอบการตลาด
   ผูผลิต-บริโภคเพิ่มพลังของผูบริโภคในระบอบเศรษฐกิจเงินตรา โดย
       
   การแบงปนขอมูลกัน
   ผูผลิต-บริโภคเรงนวัตกรรม โดยทําหนาที่เปนกูรูที่ไมมีใครจาง ซึ่ง
         
   เปนการเรงอัตราการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและเพิ่มพูนผลิต
   ภาพ กลาวคือ ไมใชแคเพิ่มผลิตภาพเพียงอยางเดียว แตเพิ่ม “ผลิ
   ภาพ” (producivity) ดวย
   ผูผลิต-บริโภคสรางความรู กระจายความรู และเก็บความรูนั้นในไซ
           
   เบอรสเปซอยางรวดเร็วเพื่อใชในเศรษฐกิจที่ตั้งอยูบนความรู
หลังยุคเสื่อมโทรม
   เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของระบบความมั่งคั่ง เราก็มองเห็นการฟนฟู
   คุณคา ในฐานะแกนที่เราใหความสําคัญ
   “การระเบิดเขาขางใน” ของสถาบันตางๆ และ “ระบบคุณคาของ
   วันวาน” ลาสมัยไปแลว
   การยายคุณคาเปนผลพวงของความตองการแรงงานที่ลดนอยลง
   และความสําคัญของคุณคาที่เปนนามธรรม (values)
   การเติบโตของกิจการเพื่อสังคม เชน ธนาคารกรามีน (Grameen
   Bank) – ธนาคารเพื่อคนจนแหงแรกในโลก
   การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ควบคูกับการ
   เปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความหลากหลายสูงขึ้น นําไปสูอารยธรรม
   ใหมที่ตั้งอยูบนความมั่งคั่งปฏิวัติ
อนาคตของทุนนิยม
  ระบบทีเปลี่ยนแปลงทรัพยสินเปนทุนได ประกอบดวยฐานความรูขนาดมหึมาที่
          ่
  เปลี่ยนแปลงอยางไมหยุดยัง ชวยเพิมมูลคาของทรัพยสิน
                             ้       ่
  ในระบอบเศรษฐกิจกาวหนา (คลื่นลูกที่สาม) ความเปน “นามธรรม” เชน
  ความรู ในฐานทรัพยสนของสังคมกําลังยกระดับขึ้นเรื่อยๆ และผูผลิตรายใหญ
                        ิ
  ก็ตองพึงพาปจจัยการผลิตทีเปนนามธรรมมากขึ้นเรือยๆ
     ่                        ่                    ่
  “นามธรรมสองชั้น” คือนามธรรมที่ตดกับทรัพยสินทีเปนนามธรรมตั้งแตแรก
                                   ิ              ่
  ดังนั้น ทรัพยสนจึงมีสองรูปแบบหลักๆ คือทรัพยสินที่มีมิตทางนามธรรม
                 ิ                                        ิ
  แวดลอมแกนทีเปนรูปธรรม และทรัพยสิน “นามธรรมสองชัน” ที่แกนของมัน
                   ่                                        ้
  เปนนามธรรมเหมือนกัน (เชน สินคาความรูที่ตอยอดทรัพยสินทางปญญา)
                                              
  ถาเอามารวมกัน ก็จะไดความเขาใจใหมๆ ใน “กระบวนการแปลงเปน
  นามธรรม” ที่มาพรอมกับความกาวหนาสูระบบความมั่งคังที่ตงอยูบนความรู
                                                         ่ ั้ 
อนาคตของทุนนิยม (ตอ)
  อัตราเรงที่พบไดในความสัมพันธระหวางเรากับปจจัยเวลา ทําให
  ตลาดมีลักษณะชั่วคราวมากขึ้น ทําใหบริษัทตองคิดคนนวัตกรรม
  และตองขยับการผลิตไปสูระดับที่สรางมูลคาเพิ่มขึ้นอยางเปนระบบ
  นามธรรมทั้งสองประเภทจะเปนสัดสวนของฐานทรัพยสินที่ใหญขึ้น
  เรื่อยๆ ในสังคม
  อุตสาหกรรมจํานวนมากตองเผชิญหนากับความตาย เมื่อเทคโนโลยี
  ใหมๆ ทําใหวิธีคุมครองทรัพยสินทางปญญาแบบเดิมๆ ใชไมไดผล
  การยายไปสูนามธรรมปฏิวัติเปนเพียงกาวแรกในการปรับเปลี่ยนทุน
  นิยมอยางสุดขั้วที่กําลังดําเนินอยู
  ทุนนิยมที่เรารูจักจะเปลี่ยนโฉมหนาไป
กําเนิดของ “ตลาดที่เปนไปไมได”
   ในอดีต บรรพบุรุษลวนเปนผูผลิต-บริโภค ตลาดที่ดินมีนอย ยิ่งตลาด
                              
   การเงินไมตองพูดถึง
   การปฏิวัติอุตสาหกรรม เปนตัวนําคลื่นความมั่งคั่งปฏิวัติลูกที่สอง
   คือเปลียนความสัมพันธระหวางตลาด นักการตลาด และคนธรรมดา
           ่
   เปลี่ยนผูผลิต-บริโภคนอกเศรษฐกิจเงินตรา ใหกลายเปนผูผลิตและ
                                                           
   ผูบริโภคในเศรษฐกิจเงินตรา ทําใหตองพึ่งพิงระบบตลาด
   พัฒนาการของตลาดแมสถูกผลักดันดวย การแปลงเปนเมือง,
   สื่อมวลชนแบบแมส นวัตกรรมในเทคโนโลยีการผลิตและการตลาด
   คลื่นการเปลี่ยนแปลงที่เรียกวาปฏิวัติอุตสาหกรรม ไดขยายบทบาท
   ของตลาดในชีวิตประจําวัน
กําเนิดของ “ตลาดที่เปนไปไมได” (ตอ)
   เมื่อความเร็วเรงอัตราขึ้น อายุขัยของสินคาก็จะสั้นลง การเขาจังหวะ
   ตางๆ เปนเรื่องจําเปนเรงดวน และการยายพื้นที่ไปสูตลาดโลกก็เพิ่ม
   คูแขงตางชาตินอกเหนือจากคูแขงชาติเดียวกัน แขงขันกันคิดคน
   สินคาในตลาดใหมๆ ที่มีอายุสั้นจนนาจะเรียกวา “ตลาดวูบวาบ”
   (flash markets)
   ผูบริโภคเองก็มีขอมูลมากขึ้น และเรียกรองสิทธิตางๆ มากขึ้น
   ผลพวงจากการผลิตแบบตอบสนองความตองการสวนตัว
   (customization) คือ กระบวนการตั้งราคาในตลาดแบบสวนตัว
   เนื่องจากมีตนทุนการผลิตหรือเสนอขายแตกตางกัน
   กระบวนการสรางตลาดและสลายตลาดดําเนินไปควบคูกัน
การจัดการเงินแหงอนาคต
  เงินตราไมตางจากองคประกอบหลักอื่นๆ ของทุนนิยม ตรงที่มันเขา
  สูการปฏิวัติเร็วที่สุดและลึกซึ้งที่สุดในรอบหลายศตวรรษ การจะสราง
  เงินตรารูปแบบใหมๆ วิธีการจายและรับแบบใหม และโอกาสทาง
  ธุรกิจมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ไมใชเงินเลย
  การบริหารจัดการเงินหรือระบบเงินตรานั้น เพิ่มตนทุนมหาศาล
  ใหกับสังคมและกระเปาเงินของแตละคน ตนทุนเหลานี้จะถูกสงตอให
  ลูกคา เหมือนเปน “ภาษีซอนเรน” ที่ตองจายเปนคาตอบแทนความ
  สะดวกสบายในการใชเงิน
  การเริ่มใชบัตรเครดิต เปนจุดแรกของการกาวกระโดดไปสู “เงิน
  คูขนาน” และเทคโนโลยีใหมๆ ก็กําลังหลั่งไหลเขามา
การจัดการเงินแหงอนาคต (ตอ)
   “เงินคูขนาน” อาทิ บัตรเครดิต สามารถทําใหจายเงินเร็วขึ้นหรือชาลงได
   ระบบความมั่งคั่งใหมที่กําลังอุบตขึ้นเปดทางสูการเปลี่ยนแปลงสุดขั้วในวิธการ
                                     ัิ                                     ี
   และกําหนดเวลาที่เราไดรับคาตอบแทนจากการทํางาน
   นวัตกรรมที่เรงเร็วเหลานี้นําไปสูคําพยากรณถง “ความตายของเงิน”
                                                  ึ
   การเติบโตของเงินคูขนาน, การเติบโตของการแลกเปลี่ยนสินคา, การเติบโต
   ของระดับการทดแทนได, การแพรกระจายของเครือขายการเงินโลกที่ซับซอน
   ขึ้นเรื่อยๆ, เทคโนโลยีกาวหนาสุดขัวที่กําลังจะนํามาใช แลวมองมันในบริบท
                                         ้
   ของเศรษฐกิจโลกที่ใชเงินคนอืนตอยอดสูงมากและถูกสั่นคลอนดวยการเก็ง
                                   ่
   กําไรที่ไรการกํากับดูแล ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงอยางสุดขัวในโครงสราง
                                                               ้
   ภูมิศาสตรการเมืองโลกทีจะกินเวลานานหลายทศวรรษ – ทั้งหมดนี้บงชีวาเงิน
                            ่                                           ้
   ยุคอุตสาหกรรมอาจกลายเปนของหายากในอนาคต
การแปลงกิจกรรมผลิต-บริโภคใหเปนเงิน
  เริ่มมีการทดลองระดับยอยกับสกุลเงินทางเลือกในระดับชุมชน สวน
  ใหญใชการแลกเปลียนสินคาเปนสวนผสม
                    ่
  โครงการทั้งหมดนี้พยายามรับรูและแปลงมูลคาของกิจกรรมผลิต-
  บริโภคบางสวนใหเปนเงิน
  อยางไรก็ตาม คําถามที่ตองเผชิญไมไดเปนเรื่องชะตากรรมของเงิน
  เพียงอยางเดียว แตเปนชะตากรรมของทรัพยสิน ทุน ตลาด และ
  ปฏิสัมพันธระหวางปจจัยเหลานี้
นัยของความมั่งคังปฏิวัติตอการทองเที่ยวไทย
                ่
การทองเที่ยวเปนแหลงรายไดสําคัญของไทย
   รายไดจากการทองเที่ยวของคนตางชาติมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นทุกป และ
   เปนแหลงรายไดหลักของบางจังหวัด
      คิดเปนประมาณรอยละ 5-6 ของ GDP ประเทศไทย
   ประเทศไทยมีศักยภาพและความพรอมในการพัฒนาอุตสาหกรรม
   ทองเที่ยวสูง
      ทรัพยากรทองเทียวทังดานวัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และความนาดึงดูดใจดาน
                     ่้
      อื่นมีสูง
      คนไทยมีจตสํานึกในการใหบริการสูง และมีทศนคติที่ดตอนักทองเทียว
                 ิ                            ั       ี          ่
      ในความคิดของชาวตางชาติ ประเทศไทยเปนแหลงทองเทียวชั้นนําระดับ
                                                         ่
      โลกอยูแลว
               
      เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่ประเทศไทยสามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติ
การทองเที่ยวในประเทศไทยกําลังขยับลงสูตลาดลาง
                                      
                                                                   การใชจายตอนักทองเที่ยวแทบจะ
สถิติการใชจายของนักทองเที่ยวตางชาติตอทริป (2543-2547)
                                        
                                                                   ไมมีการเติบโตเลย โดยมีอัตรา
พันบาท                                                พันบาท
                                                                   เฉลี่ยเติบโตตอปเพียงรอยละ 2.40
(กราฟแทง)                                            (เสน)
                                                                   เทานั้น
 35                                                            5

 30
                                                                   แมวารายไดจากการทองเที่ยวจะ
                                                               4
 25
                                                                   เพิ่มคอนขางสูงในชวงเวลา
                                                               3
 20
                                                                   เดียวกัน (รอยละ 7.74 ตอป)
 15
                                                                   หมายความวาประเทศไทยรับ
                                                               2

 10
                                                                   นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น แต
                                                               1
  5
                                                                   นักทองเที่ยวแตละคนใชเงินลดลง
  0                                                            0

                                                                   แปลวาการทองเที่ยวของไทย
          2000           2001         2002   2003   2004


                                                                   กําลังขยับลงสูตลาดลาง
 LHS: กราฟแทง รายไดตอนักทองเที่ยวตอทริป
 RHS: กราฟเสน รายไดตอนักทองเที่ยวตอวัน
 ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย,
ปญหาของการทองเที่ยวไทยในมุมมองของไมเคิล พอรเตอร
  ประเทศไทยมีองคประกอบหลายสวนที่จําเปนตอการสราง “คลัส
  เตอรการทองเที่ยว” ที่ดี
  แตรัฐบาลยังไมมีแผนแมบทสําหรับคลัสเตอรนี้ แมวาจะมีองคกร
  หรือสมาคมที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวมากมาย มีแผนกลยุทธการ
  ทองเที่ยวจํานวนมากและหลากหลาย
  การขาดแผนแมบทที่จะกําหนดกลยุทธอยางชัดเจน เปนปจจัยสําคัญ
  ที่ทําใหคลัสเตอรนี้ไมสามารถเพิ่มมูลคาจากนักทองเที่ยวได
  ผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาไมไดรบการอบรมใน
                                                  ั
  กิจกรรมที่จําเปนตอธุรกิจการทองเที่ยว เชน วิชาที่เกี่ยวของกับ
  การทองเที่ยวกวารอยละ 40 เตรียมนักศึกษาสําหรับตําแหนง
  ผูบริหาร ทั้งๆ ที่ตําแหนงผูบริหารเพียงรอยละ 3 เทานั้น
จาก Shareholder Model สู Stakeholder Model
“นักทองเที่ยวคุณภาพ” ยุคคลื่นลูกที่สาม
1. รับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับคนตางเชื้อชาติตางวัฒนธรรมไดอยาง
   มหาศาลอยูแลวจากอินเทอรเน็ตและสื่อตางๆ ดังนั้นจึงนาจะตองการ
   ความ “จริง” ของประสบการณ (authenticity) และ “ปฏิสัมพันธ”
   (interaction) มากกวาเดิมเวลาไปเที่ยว – ไมอยาก “ดู” เฉยๆ
2. ยินดีจายเพิ่มแลกกับการไมตองเจอคนพลุกพลานและบริการแบบแมส
3. ยินดีจายเงินแลกกับ “คุณคา” ที่หาไมไดในถิ่นตัวเอง เชน การปฏิบัติ
   ธรรม ประสบการณการทํานา การทําอาหารพื้นบาน
4. ความแปลกแยกและเปลียวเหงาที่ทวีความรุนแรง นาจะทําให
                             ่
   “อุตสาหกรรมความเหงา” ดึงดูดนักทองเที่ยวได – ประเทศไทยมีฐานที่
   ดีอยูแลวในธุรกิจ longstay และ homestay                               31
“ภาพใหญ” ของการทองเที่ยวไทยที่สราง “พื้นที่มลคาสูง” ได
                                               ู
   อสังหาริมทรัพย      สุขภาพ & สันทนาการ    การทองเที่ยว & สื่อ
  อพารตเมนทใหเชา      โรงพยาบาล เภสัช     ทองเทียวเชิงนิเวศ
                                                      ่
                                                 ทองเทียวเชิง
                                                        ่
                          รีสอรต สปา กีฬา
  บานพัก longstay
                                                  วัฒนธรรม
                          สถานปฏิบัติธรรม
      โฮมสเตย                                   สื่อ & โฆษณา
                         แพทยแผนทางเลือก
   เกษตรกรรม
  ผลิตภัณฑสขภาพ
            ุ               การศึกษา         ทุนวัฒนธรรม / สังคม
                                             • สถาบันศาสนา
                          แพทย / โรงแรม
  อาหารเพื่อสุขภาพ
                                             • ภูมิปญญาพื้นบาน
   (เกษตรอินทรีย)          สิ่งแวดลอม      • วัฒนธรรมทองถิ่น
                                             • องคกรภาคประชาชน
                            สังคมศาสตร
  ตลาดตางประเทศ
ตลาดหลักใน “ภาพใหญ” เติบโตสูงมาก
                       ตลาดหลัก         ขนาดตลาด     สวนแบง   อัตราการเติบโต
                                          ปจจุบัน การตลาดของ ของตลาดโลก
                                         (ลานบาท) ไทย (รอยละ) (รอยละตอป)
ทองเทียวเชิงสุขภาพ
       ่              เอเชีย อเมริกา    1,800,000       1.3          20-30
เกษตรอินทรีย         อเมริกา ยุโรป      800,000    ต่ํากวา 0.01     20
                         ญี่ปุน
สปา                      อเมริกา        1,600,000       0.2           30
สมุนไพร / ยาแผน       อเมริกา ยุโรป     2,600,000   ต่ํากวา 0.01    10-20
ทางเลือก
Longstay              อเมริกา ญี่ปุน      N/A          N/A          10-20
                      สแกนดิเนเวีย
รัฐ / ททท. ควรสงเสริมการทองเที่ยวแบบบูรณาการ
   เพื่อสรางทั้งมูลคาเพิ่มใหกับการทองเที่ยวไทย และสราง “พื้นที่
   มูลคาเพิ่มสูง” ใหมๆ
   เนนการทองเที่ยวแบบยั่งยืน (sustainable tourism) เชน
      การทองเทียวเชิงนิเวศ
                ่
      การทองเทียวเชิงวัฒนธรรม
                  ่
      การทองเทียวเชิงสุขภาพ
                    ่
   พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว อาทิ การศึกษา
   ประวัติศาสตรทองถิ่น และกลไกการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม
                 
   เพิ่มการกระจายรายไดสูทองถิ่นและสงเสริมโครงสรางที่ยั่งยืน ดวย
   การ “แปลง” กิจกรรมที่มีมูลคาในภาคการผลิต-บริโภค (อาทิ การดูแล
   รักษาปาชุมชน การดูแลผูชรา) ใหเปนเงินตรา
รัฐมีนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศตั้งแตป 2544
    รัฐบาลชุดทีแลวมีนโยบายสงเสริมการทองเทียวเชิงนิเวศแลวตังแตป 2544 แตไม
               ่                             ่                ้
    เคยผลักดันอยางจริงจัง
    กรอบนโยบายรัฐบาลในดานนี้:
จุดประสงค
    เพื่อพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน และรักษาไวซึ่งทรัพยากรอันสําคัญของประเทศ
ประเด็นนโยบายที่สาคัญ
                  ํ
    การจัดการกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางการทองเที่ยว
    การใหการศึกษาและความรูกับประชาชนในเรื่องของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ
    การไดรับความรวมมือจากประชาชนในทองถิ่น
    การจัดการดานการตลาดและการนําเที่ยว
    การจัดทําโครงสรางการบริการพื้นฐานเพื่อใหสามารถมีการใหบริการได
    การสงเสริมการลงทุนและการสงเสริมดานอื่นๆ ทีจัดทําโดยภาครัฐ
                                                  ่
แผนแมบทการทองเที่ยวเชิงนิเวศยังไมเกิดผลเปนรูปธรรม
  รัฐบาลพรรคไทยรักไทยไดอนุมัติแผนแมบทการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (2545-2549) เพื่อ
  สงเสริมอุตสาหกรรมนี้ โดยมีลักษณะทีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                     ่
  ฉบับที่ 9 แบงออกเปน 14 แผนยอยใน 37 โครงการ
  หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงตอแผนนี้มีทั้งสิ้น 3 หนวยงาน
        กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
        กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
        องคกรบริหารสวนตําบล ในฐานะผูมอานาจดูแลทรัพยากรทองถิ่น
                                         ีํ
  อยางไรก็ดี สภาพความเปนจริงที่เกิดขึ้นคือ รัฐบาลยังไมใหความสําคัญดานการทองเที่ยวเชิง
  นิเวศอยางจริงจัง
        ประเทศไทยยังมีชื่อเสียงระดับโลกเรือง full-moon party ซึ่งไมใชการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และจะ
                                          ่
        กอใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในระยะยาวอยางแนนอน
        การบุกรุกล้ําที่ในเขตสงวนยังเปนไปอยางอุกอาจ ไรการจับกุมหรือการปองกันใดๆ
        การตัดไมทําลายปาโดยผูมีอิทธิพลในทองถิ่นยังคงดําเนินตอไปอยางไมหยุดยั้ง
                                
Longstay เปนธุรกิจที่ยังมีขนาดเล็กแตมีศักยภาพสูง
 แนวโนมการทองเทียวแบบพํานักระยะยาว (longstay) เปนที่นิยมมากขึ้น
                  ่
         จํานวนประชากรผูสูงอายุของโลกเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งคนเหลานีนยมยายถิ่นฐานในฤดูหนาวเพื่อหลบอากาศเย็น
                                                                ้ิ
         นักทองเที่ยวระยะยาวรอยละประมาณ 60 จะใชเวลาพักอยูในประเทศไทยประมาณ 1-2 เดือน สวนใหญเปนชาว
         อังกฤษ ญี่ปุน เยอรมันและสหรัฐอเมริกา
 เมืองไทยมีอากาศอบอุน และคนไทยมีความถนัดดานงานบริการ
                    
         เหมาะแกชาวตางชาติที่ตองการใชชีวิตบั้นปลายในการทองเที่ยว มารักษาสุขภาพและพักฟน
         หรือตองการหลบสภาพอากาศที่รุนแรงในประเทศของตน
         ปจจุบันมีสถานที่และบริการทองเที่ยวแบบระยะยาวโดยเฉพาะอยูประมาณ 100 แหง มีทั้ง
         แบบโรงแรม อพารตเมนต หรือโฮมสเตย
 สิ่งที่นาจับตามองคือรอยละ 70 ของคนที่มา longstay เปนผูชาย และบอยครั้งจะมี
 ภรรยาหรือเมียเชาเปนคนไทย รัฐบาลควรมีความระมัดระวังในเรืองนี้่
 ปจจุบนประเทศไทยยังไมมีบริการ longstay แบบครบวงจร โดยทั่วไปจะใหบริการ
          ั
 ดานที่พกเทานัน ยังไมมีบริการดานสุขภาพ ทัวรวฒนธรรม สปา ฯลฯ
            ั    ้                               ั
 ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
ตลาดการทองเที่ยวเพื่อสุขภาพขยายตัวเร็วและมีมูลคาสูง
  ปจจุบันประเทศไทยมีโรงพยาบาลมากกวา 30 แหงที่สามารถรองรับและใหบริการชาว
  ตางประเทศได จากโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดกวา 470 แหง
        การทองเที่ยวทางการแพทย มีมูลคาเพิ่มสูงมาก โดยปกตินักทองเที่ยวจะใชเงินเฉลี่ยประมาณ 362 USD
        ตอวัน ในขณะที่ถามาเที่ยวตามปกติจะใชเงินเฉลี่ยวันละ 100 USD
  ประเทศไทยเปนผูนําในการบริการทางการแพทยในบางดานอยูแลว เชน โรคเมืองรอน หรือ
  การผาตัดแปลงเพศ
  ตลาดการทองเที่ยวทางการแพทยเติบโตอยางรวดเร็วในเมืองไทย
        ในป 2547 มีนกทองเที่ยวมากกวา 600,000 คนใชปริการทางการแพทย ทํารายไดใหประเทศกวา 20,000
                     ั
        ลานบาท
        ในป 2549 กระทรวงสาธารณสุขคาดวา จะมีนกทองเที่ยวทางการแพทยกวา 1 ลานคน และสรางรายได
                                                 ั
        ใหแกประเทศกวา 27,000 ลานบาท
  ตลาดทองเที่ยวทางการแพทยในเอเชียยังคงเติบโตตอเนื่องในอัตรารอยละ 20-30 ตอป
        ภายในป 2555 คาดวาจะมีการใชจายสําหรับการทองเที่ยวทางการแพทยในเอเชีย (ไทย มาเลเซีย
        สิงคโปร และ อินเดีย) ปละ 4.4 พันลาน USD หรือกวา 176,000 ลานบาท
  ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข, Abacus International
…แตประเทศไทยยังมีอปสรรคหลายประการ
                   ุ
  ประเทศไทยมีจุดดอยดานภาษาของบุคลากรเมื่อเทียบกับประเทศ
  คูแขง เชน สิงคโปร หรืออินเดีย
  ประเทศไทยยังไมมีศูนยการประสานงานดานการประกันสุขภาพ
  ในขณะที่ประเทศคูแขงมีหนวยงานนี้แลว
  ปญหาดานวีซาของนักทองเที่ยวที่อยูนานกวา 90 วันไมได ทําให
  ผูปวยโรคเรื้อรังเลือกที่จะรับการรักษาในประเทศอื่น
  โรงพยาบาลในประเทศไทยยังไมเปนที่รูจักหรือไวเนื้อเชือใจเทากับ
                                                        ่
  คูแขงในประเทศอื่นที่มีการทําการตลาดมานาน

  ที่มา: กรมสงเสริมการสงออก
ลักษณะของธุรกิจการทองเที่ยวที่ “ยั่งยืน”
1. อนุรักษ ดูแล และฟนฟูสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง
2. อนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น สรางรายไดใหชุมชนในทางที่สงเสริมความ
   ภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ไมใชการทองเที่ยวแบบฉาบฉวย (“แตงชุด
   ประจําเผาใหนักทองเที่ยวถายรูป”)
3. มี “สมดุล” ระหวางระบบเงินตรา และระบบนอกเงินตราที่เกี่ยวของกับ
   การทองเที่ยว (เชน ปาชุมชน โครงการอาสาสมัครเก็บขยะ) โดยไม
   เอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน ผูใหบริการไมผลักภาระใหรัฐหรือ
   ชุมชนรับผิดชอบถายเดียว
4. สราง “มูลคาเพิ่ม” ใหกับทุกฝาย
                                                                       40
ตัวอยางการทองเที่ยวอยางยั่งยืน: ระบบจายตรงใน
กัมพูชา

(ขอขอบคุณขอมูลจาก คุณเพชร มโนปวิตร รองผูอํานวยการ สมาคม
อนุรักษสตวปา (WCS) ประเทศไทย ผูเขียนคอลัมน “โลกสีเขียว” ใน
         ั
โอเพนออนไลน : http://www.onopen.com/?cat=81)
ระบบการจายตรง
  ระบบการจายตรง (Direct Payment) เปนการสรางแรงจูงใจทาง
  เศรษฐกิจใหชุมชนทองถิ่นหันมาอนุรักษธรรมชาติแทนการทําลาย มี
  หลายรูปแบบและกอใหเกิดผลโดยตรงกับการอนุรักษแตกตางกัน
  ออกไป
     การจายคาตอบแทนใหคนในชุมชนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ เชน จางพราน
     ใหมาเปนเจาหนาที่อนุรักษ
     การสนับสนุนงบประมาณใหหนวยงานที่ดแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
                                                ู
     การสรางรายไดใหชุมชนผานชองทาง “การทองเทียวเชิงอนุรักษ”
                                                       ่
     การครอบครองกรรมสิทธิ์ในการบริหารจัดการพื้นที่นั้น ๆ เชน การระดม
     ทุนซื้อพื้นที่ธรรมชาติเพื่อนํามาจัดตังเปนเขตอนุรักษเอกชนหรือศูนยศึกษา
                                          ้
     ธรรมชาติ                                                                   42
โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา
           ั
  Northern Plains เปนทุงหญาธรรมชาติผสม
  ปาเต็งรังและพื้นที่ชุมน้ําอันอุดมสมบูรณ
  ขนาดใหญอยูในประเทศกัมพูชา และยังเปน
  แหลงอาศัยและวางไขของนกหายากใกล
  สูญพันธุหลายชนิด โดยเฉพาะนกชอนหอยดํา
  (White-Shouldered Ibis) และนกชอนหอยใหญ (Giant Ibis) ที่ใกลสูญพันธและ
  มีอยูที่นท่เดียวเทานั้นในโลก
            ี่ ี
  ตังแตปลาย 1990 เริ่มมีการกอตัวอยางเงียบ ๆ ของโครงการ Ecotourism
    ้
  หลายโครงการ หนึ่งในนั้นคือโครงการทองเทียวเชิงอนุรักษนกหายาก
                                               ่
  (Tmatboey Ibis Tourism Site) โดยจัดตังคณะกรรมการหมูบานอันประกอบไป
                                             ้
  ดวยตัวแทนที่มาจากการเลือกตัง 9 คน มีหนาที่หลักคือจัดการ “กองทุนพัฒนา
                                     ้
  หมูบาน” ในนามของชุมชน                                                    43
โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ)
           ั
  ดําเนินโครงการหลัก 2 โครงการ
     โครงการทองเทียวเชิงอนุรักษ โดยจัดใหพ้นที่
                    ่                        ื
     บริเวณนั้นเปนแหลงทองเที่ยว สําหรับนักดูนก
     โดยไกดทองถิ่นไดผลตอบแทนจากการพา
     นักทองเที่ยวไปดูนก และเก็บคาบริการจาก
     ที่พัก (Home stay), อาหารและเครื่องดื่ม
     โครงการปกปองรังนก (Bird Nest Production
     Program) เนื่องจากการเก็บไขนกมาขายเปนภัย
     คุกคามทีสําคัญทีสุดตอความอยูรอดของนก
               ่      ่
     ในโครงการนี้รัฐจึงใหเงินตอบแทนแกชาวบานที่
     พบรังนกและดูแลรักษารังนกไปจนกวาลูกนกจะ
     ออกจากรัง รวมทั้งมีเจาหนาที่ 2 คนคอยดูแลตรวจสอบและติดตามผลงานเต็มเวลา   44
โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ)
           ั
  เมื่อถึงป 2004 รัฐจึงออกกฎใหพ้นที่แหงนี้เปน
                                    ื
  พื้นที่อนุรักษ หามลาสัตว
  ถาสมาชิกคนใดไมเคารพกฎการรักษารังนกหรือฝา
  ฝนลานก แผนการทองเที่ยวทั้งหมดจะถูกยกเลิก
  ทันที หรือไมผูฝาฝนจะตองถูกตัดสิทธิจากการ
  ไดรับผลประโยชนตาง ๆ
  หลังจากดําเนินการมาระยะหนึ่ง โครงการนี้เริ่มเปน
  ที่รูจักมากขึ้นในกลุมนักดูนก นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
  และมีแนวโนมวาจะใชเวลาทองเทียวนานขึนทุกป
                                      ่       ้
  ทําใหเกิดรายไดหมุนเวียนในชุมชนมากขึ้น
  เฉพาะป 2006 – 2007 การทองเที่ยวสรางรายได
  ใหกับชุมชนกวา $7,000 ซึ่งเมื่อเทียบกับรายได
  50 เซนตตอวันของชาวกัมพูชาแลว นี่ถือเปนความ
  แตกตางอยางมีนยสําคัญ
                     ั                                    45
ผลของโครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา
                ั
  ประชากรนกมีจํานวนเพิ่มขึ้น ปญหาการลานกลด
  ลงอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งยังสรางทัศนคติใน
  เรื่องการอยูรวมกับนกของชาวบานใหดขึ้น
                                        ี
  เพราะสมาชิกชุมชนรูวานกและสัตวปาอื่นๆ เปน
  แมเหล็กดึงดูดนักทองเที่ยว
  รายไดจากโครงการนี้กวา 80 เปอรเซ็นตตกอยู
  กับชาวบานโดยตรง เปนการสงเสริมการสราง
  รายไดอยางถูกกฎหมายใหชาวบาน แทนที่
  จะตองเสี่ยงหารายไดจากการลาหรือขโมยลูกนก
  ซึ่งผิดกฎหมาย
                                                  46
ผลของโครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ)
                ั
  สรางความเขาใจเกี่ยวกับการจัดสรร
  พื้นที่เพื่อการอนุรักษใหกับชาวบาน
  ถือเปนวิธีแกปญหาที่เสียตนทุนนอยและ
  มีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับวิธีอื่น ๆ
  ปจจุบันคณะกรรมการหมูบานสามารถรับผิดชอบ
  ดูแล และจัดการการทองเที่ยวไดดวยตัวเองเกือบทั้งหมดแลว
  จุดแข็งของทั้งสองโครงการอยูที่การเชื่อมโยงเปาหมายการอนุรักษ
  เขากับแนวทางการดําเนินงานโดยตรง และมีระบบการสํารวจ
  ติดตามประชากรนกที่ชัดเจน
  ใช “เงิน” สรางแรงจูงใจในทางที่เอื้อตอการอนุรักษอยางยั่งยืน   47

Contenu connexe

Tendances

Tendances (17)

Creative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free CultureCreative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free Culture
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลัก
 
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
 
KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008
 
No phone on the road
No phone on the roadNo phone on the road
No phone on the road
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Cashew Resize
Cashew ResizeCashew Resize
Cashew Resize
 
NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThGoogle Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
 
1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac
 
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานโบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
 
Grassroot Media
Grassroot MediaGrassroot Media
Grassroot Media
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Plus de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Revolutionary Wealth and Implications on Tourism

  • 1. คาดการณแนวโนมโลก ผาน “ความมังคังปฏิวัติ” และนัย ่่ ตอการทองเที่ยวไทย สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ นําเสนอในงานเสวนา “เปดมุมมอง ทองเที่ยวไทย” ครั้งที่ 4/2552 วันที่ 7 เมษายน 2552 ณ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทาซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ ํ ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต ํ ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
  • 2. หัวขอนําเสนอ ความมังคั่งปฏิวัติ ่ นัยของความมังคั่งปฏิวัตตอการทองเที่ยวไทย ่ ิ ตัวอยางการทองเที่ยวอยางยังยืน: ระบบจายตรงใน ่ กัมพูชา 2
  • 4. สรุปบางประเด็นจาก “ความมังคั่งปฏิวัต” ่ ิ 1. “ระบอบความมั่งคั่ง” ประกอบดวยระบบเงินตรา และระบบนอกเงินตรา (นอกตลาด) ที่ผานมา นัก เศรษฐศาสตรมองเห็นแตระบบแรกเทานั้น 2. คลื่นลูกที่สาม (เศรษฐกิจขอมูล) มอบอํานาจ มหาศาลใหกับผูผลิต-บริโภค (prosumers) ทําให ระบบนอกตลาดทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ 3. เราตองหาวิธีตอบแทนผูผลิต-บริโภค สรางกลไก เชื่อมโยงระหวางระบบตลาดและนอกตลาด 4. เราจะตองมองเห็น “ปจจัยพื้นฐานลึกซึ้ง” ที่ ขับเคลือนความมั่งคั่ง เพื่อรับมือกับอนาคต และ ่ จัดการกับ “การปะทะระหวางคลื่น” 4
  • 5. บทนํา สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ กําลังเปลี่ยนผานไปสู “เศรษฐกิจ ขอมูล” ที่ขับเคลื่อนดวยพลังสมอง บทบาทของความรูในการสรางความมั่งคั่งทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ กอนที่ความมั่งคั่งจะปฏิวัติอยางแทจริง มันจะตองเปลี่ยนรูปไปกอน ทั้งแงปริมาณและวิธีที่ถูกสราง รวมทั้งระดับความมั่งคั่งที่เปน นามธรรมหรือรูปธรรมก็ตองเปลียนดวย ่ แมวาเราทุกคนจะใชชีวิตอยูในเศรษฐกิจเงินตรา แตความมั่งคั่งไมใช เรื่องเงินเพียงอยางเดียว แตยังมีเศรษฐกิจคูขนานที่เราไดสิ่งที่ ตองการโดยไดตองใชเงินดวย ระบบเงินตราและนอกเงินตรารวมกันเรียกวา “ระบบความมั่งคั่ง”
  • 6. อนาคตของความมังคั่ง ่ “ความมั่งคั่ง” หมายถึงอะไรก็ตามที่ตอบสนองความปรารถนา หนังสือ “ความมั่งคั่งปฏิวัติ” พยายามมองอนาคตของความมั่งคั่ง ทั้ง ที่มองเห็นและมองไมเห็น เกี่ยวกับความมั่งคั่งรูปแบบใหมที่ปฏิวัติรูป แบบเดิมๆ ซึ่งจะออกแบบชีวิต บริษัท และโลกใหม ความมั่งคั่งปฏิวัติเปดประตูสูโอกาส แตในขณะเดียวกันก็เปดสูความ เสี่ยงที่มากขึ้นและอันตรายกวาเดิมดวย นักเศรษฐศาสตรมักอธิบายเรื่อง “พื้นฐานทางธุรกิจ” แตไมคอยพูด เรื่อง “พื้นฐานลึกซึง” อันไดแก พื้นที่ เวลา และความรู ้ การมองใหเห็น “พื้นฐานลึกซึ้ง” จะทําใหมองเห็นความตองการใหมๆ และภาคธุรกิจใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น เชน อุตสาหกรรมความเหงา
  • 7. อนาคตของความมังคั่ง (ตอ) ่ การพยากรณความมั่งคั่ง นอกจากจะตองดูมูลคาของงานที่ทําเพื่อ เงินแลว ตองมองถึงงานที่ทําในฐานะ “ผูผลิต-บริโภค” และ “งานที่  สาม” ดวย มิเชนนันจะไมสามารถเขาใจความเปนไปในชีวิตสวนตัว ้ ของคน ทั้งในปจจุบันและอนาคตไดอยางลึกซึ้ง ระบบความมั่งคั่งใหม มาพรอมกับวิถีชีวิต, อารยธรรม, ศิลปะ ฯลฯ แบบใหมๆ โดยมีสหรัฐอเมริกาเปนผูนาการเปลี่ยนแปลง ํ ประเทศอื่นๆ ตางหวาดระแวงอเมริกา เพราะระบบที่อเมริกาพัฒนา อยูนั้น กําลังคุกคามเครือขายผลประโยชนทางการเงินและการเมืองที่ ฝงรากลึกอยูทั่วโลก
  • 8. อนาคตของความมังคั่ง (ตอ) ่ สวนผสมระหวางความมั่งคั่งปฏิวัติและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม อาจมาจากลัทธิไมชอบอเมริกัน แตความมั่งคั่งปฏิวัติไมไดเปนระบบที่อเมริกาสามารถ “ผูกขาด” ไว เพียงเจาเดียวอีกตอไป การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของแรงงานเปน “จุดเปลี่ยน” จาก ระบอบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเปนหลัก ไปสูเศรษฐกิจที่ ใชความรูหรือมันสมองเปนหลัก สวนวัฒนธรรม การเมือง และ บทบาทตางๆ ก็เริ่มเปลี่ยนไปเชนกัน ความมั่งคั่งปฏิวัติกําลังทําลายพรมแดนระหวางชีวิตที่บานกับที่ ทํางาน พรมแดนทางเพศ รวมทั้งพรมแดนทางวิชาการอีกดวย
  • 9. การปลูกฝงความรูและเครื่องมือทุนเพื่อความรู สิ่งที่กําลังเกิดขึ้นควบคูไปกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทและพรมแดน ตางๆ ในสังคม คือการเปลี่ยนแปลงที่เร็วยิ่งกวาของสาธารณูปโภค พื้นฐานของความรู การปฏิวัติทางวิทยาศาสตรก็กําลังเกิดขึ้นอยางรุนแรง ทําใหปจจุบัน เราเห็นเครื่องมือทุนที่สรางเครื่องมือทุนเองดวย เชน ในอนาคตเครื่องจักรนาโนจะ “ผลิตซ้ํา” ตัวเองได ยิ่งมีนวัตกรรมใหมๆ ที่หลากหลายมากเพียงใด ศักยภาพที่จะผนวก ความกาวหนาเหลานี้เขาดวยกัน ใหเกิดผลลัพธมหาศาลก็ย่ิงสูงขึ้น ดวย เราจะเห็นการโนมเขาหากันลักษณะนีมากขึ้นเรื่อยๆ ้
  • 10. คลื่นความมังคั่งสามลูก ่ คลื่นลูกแรกของความมั่งคังคืออารยธรรมเกษตร ซึ่งนําไปสูการแบงงานกันทํา ่ การคา การแลกเปลียน ่ คลื่นลูกที่สองคือเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม ที่ทําใหเกิดความแตกตางระหวาง “ประเทศพัฒนาแลว” และ “ประเทศดอยพัฒนา” คลื่นลูกที่สาม มาเปลี่ยนปจจัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม – ที่ดิน แรงงาน และ ทุน ไปเปนความรูที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงและลึกซึ้ง และทําลาย “ความเปน แมส” ของกระบวนการผลิต ตลาด และสังคม ที่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมทําไว รวมทั้งเปลี่ยนแปลงโครงสรางองคกรใหกลายเปนแนวราบ การเปลี่ยนแปลงเหลานี้เกิดขึ้นควบคูกบความเสื่อมโทรม นวัตกรรม และการ ั ทดลอง สวนสังคมและวัฒนธรรมก็ถูกสั่นคลอนเมื่อมีการปะทะกันของระบบ ความมั่งคังสองระบบขึนไป ่ ้
  • 11. ปจจัยพื้นฐานลึกซึง ้ “ปจจัยพื้นฐานลึกซึง” ที่ผานมาถูกละเลย ทําใหมองไมเห็นการ ้ เปลี่ยนแปลงที่ดําเนินไปและปญหาการ “ผิดจังหวะ” ปจจัยพื้นฐานลึกซึงไดแก เวลา พื้นที่ ความรู ้ เวลาเรงเร็วกวาเดิม และ “เปนสวนตัว” กวาเดิม เศรษฐกิจขอมูลสราง “พื้นที่มูลคาเพิ่มสูง”, อินเทอรเน็ตสราง “พื้นที่ เสมือน” , การแปลงเปนดิจิตัลขยาย “เอื้อมทางกายภาพ” ความรูเปน “น้ํามัน” ของอนาคต แตตองจัดการและกรองอยางถูกตอง ภาคสวนตางๆ เดินดวยจังหวะเร็วชาไมเทากัน ทําใหเกิดปญหาการ “ผิดจังหวะ” โดยเฉพาะในภาคที่สถาบันยังทํางานดวยกระบวนทัศน ของยุคอุตสาหกรรม (ผลิตทุกอยางเปนแมส) เชน การศึกษา
  • 12. ระบบนอกเงินตรา : ภาคเศรษฐกิจผลิต-บริโภค เราทุกคนลวนเปนผูผลิต-บริโภค เพราะความตองการและความอยาก  ไดที่เปนเรื่องสวนตัวมากๆ หลายอยางเปนสิ่งที่ตลาดยังไมมีหรือ ตอบสนองไมได เชน การเลี้ยงดูบุตร ภาคผลิต-บริโภคมีขนาดใหญ แตไมมีใครติดตาม ไมมีใครจาย คาตอบแทน เศรษฐกิจเงินตราจะอยูไมได ถาขาดระบบเศรษฐกิจผลิต-บริโภค นักเขียน-นักกิจกรรม ฮาเซล เฮนเดอรสัน เรียกวา “กาวสังคม” แกรี่ เบ็กเกอร ชี้วา “เวลาที่คนไมไดใชทํางาน อาจสําคัญตอสวัสดิการ ทางเศรษฐกิจมากกวาเวลาที่ใชในที่ทํางาน แตนักเศรษฐศาสตรกลับ ใหความสําคัญกับประเด็นหลังนอยกวาประเด็นแรกมาก”
  • 13. ระบบนอกเงินตรา : ภาคเศรษฐกิจผลิต-บริโภค (ตอ) นักเศรษฐศาสตรมักนิยาม “มูลคาทางเศรษฐกิจ” แบบดั้งเดิมเทานั้น สาเหตุหลักเปนเพราะเงินเปนสิ่งที่นับงาย และการผลิต-บริโภคอยู นอกเหนือขอบเขตที่พวกเขาศึกษา ดังนั้น เครื่องมืออยางผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) นาจะ ถูกเรียกวา “ผลิตผลที่เบี่ยงเบนมหาศาล” มากกวา เพราะไมนับ กิจกรรมในระบบนอกเงินตรา บทบาทของผูบริโภคกําลังเปลียนไป และบทบาทของผูผลิต-บริโภค ่  จะขยายใหญขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ระบบเศรษฐกิจขอมูลทวีความสําคัญ ตัวอยาง: “ผูผลิต-บริโภคสุขภาพ” สามารถเขาถึงขอมูลดานสุขภาพ  ไดมากขึ้น และซือเครื่องมือตรวจวัดโรคหลายอยางไดดวยตัวเอง ้
  • 14. “งานที่สาม” ของผูผลิต-บริโภค นอกจากงานที่ทําแลวไดเงิน งานบานที่ไมไดเงิน ปจจุบนคนเรายัง ั ทํางานที่สาม (ที่ไมไดเงิน) เชน การติดตามพัสดุผานอินเทอรเน็ต หรือฝากเงินผานเอทีเอ็ม งานเหลานี้ทําใหบริษัทตางๆ จางแรงงาน ลดลงมาก อาสาสมัครเพื่อสังคม และมือสมัครเลน เปนผูผลิต-บริโภครายสําคัญ  การผลิต-บริโภคที่เพิ่มขึ้นเพิ่มแรงผลักดันไปสูการ “ผลักตนทุน” จาก บริษัทไปยังผูบริโภค คนจะพึ่งพาตัวเองมากขึ้น (Do-It-Yourself หรือ DIY) ผูผลิต-บริโภคไมเพียงแตสามารถแปลงงานอดิเรกใหเปนธุรกิจ  เทานั้น แตยังสามารถริเริ่มอุตสาหกรรมใหมๆ ทั้งอุตสาหกรรม
  • 15. ความเชื่อมโยงระหวางระบบตลาด กับระบบนอกตลาด ตัวอยาง - แนปสเตอร (Napster) เปนซอฟตแวรที่ทําใหคนได แลกเปลี่ยนเพลงระหวางกัน แตมันถูกบริษัทเพลงฟองใหปดกิจการไป แลวกลับมาใหมในฐานะบริการที่เก็บเงิน คือเขาสูเศรษฐกิจเงินตรา เวลาที่เร็วขึ้น พื้นที่ขยายกวางขึ้น และความรูทางเทคนิค ทําใหเกิด การพัฒนา “อาวุธอานุภาพทําลายลางตลาดสูง” ทําใหเห็นความเปนไปไดวา กลุมคนเล็กๆ อาจสามารถยายกิจกรรม ปริมาณมหาศาลออกจากเศรษฐกิจเงินตราไปสูเศรษฐกิจไมใชเงินได เรากําลังพัฒนาปฏิสัมพันธที่หนาแนนขึ้นเรื่อยๆ ระหวางเศรษฐกิจ เงินตราและเศรษฐกิจไมใชเงิน มูลคาของการผลิต-บริโภคอาจถูก “แปลง” เปนมูลคาที่เปนตัวเงิน
  • 16. คุณปการของผูผลิต-บริโภค ู ผูผลิต-บริโภคทํางานที่ไมไดรับคาตอบแทนดวยการทํา “งานที่สาม”  และกิจกรรมที่ทําใหกับตัวเอง ผูผลิต-บริโภคซื้อสินคาทุนจากเศรษฐกิจเงินตรา  ผูผลิต-บริโภคใหผูใชในระบอบเศรษฐกิจเงินตรายืมเครื่องมือและทุน  ไปใช นับเปน “ขาวเที่ยงฟรี” อีกหนึ่งจาน ผูผลิต-บริโภคปรับปรุงที่อยูอาศัย สงผลกระทบตอตัวแปรตางๆ ใน  เศรษฐกิจเงินตรา ผูผลิต-บริโภค “สรางตลาด” ใหกับสินคา บริการ และทักษะตางๆ  ผูผลิต-บริโภค “ทลายตลาด” สินคาหรือบริการดวยเชนกัน  ผูผลิต-บริโภคสรางมูลคาในฐานะอาสาสมัคร 
  • 17. คุณปการของผูผลิต-บริโภค (ตอ) ู ผูผลิต-บริโภคนําสงขอมูลที่มีมูลคาฟรีๆ ใหกับบริษัทที่แสวงหากําไร  เชน เวลาตองทําแบบทดสอบการตลาด ผูผลิต-บริโภคเพิ่มพลังของผูบริโภคในระบอบเศรษฐกิจเงินตรา โดย  การแบงปนขอมูลกัน ผูผลิต-บริโภคเรงนวัตกรรม โดยทําหนาที่เปนกูรูที่ไมมีใครจาง ซึ่ง  เปนการเรงอัตราการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและเพิ่มพูนผลิต ภาพ กลาวคือ ไมใชแคเพิ่มผลิตภาพเพียงอยางเดียว แตเพิ่ม “ผลิ ภาพ” (producivity) ดวย ผูผลิต-บริโภคสรางความรู กระจายความรู และเก็บความรูนั้นในไซ  เบอรสเปซอยางรวดเร็วเพื่อใชในเศรษฐกิจที่ตั้งอยูบนความรู
  • 18. หลังยุคเสื่อมโทรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของระบบความมั่งคั่ง เราก็มองเห็นการฟนฟู คุณคา ในฐานะแกนที่เราใหความสําคัญ “การระเบิดเขาขางใน” ของสถาบันตางๆ และ “ระบบคุณคาของ วันวาน” ลาสมัยไปแลว การยายคุณคาเปนผลพวงของความตองการแรงงานที่ลดนอยลง และความสําคัญของคุณคาที่เปนนามธรรม (values) การเติบโตของกิจการเพื่อสังคม เชน ธนาคารกรามีน (Grameen Bank) – ธนาคารเพื่อคนจนแหงแรกในโลก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ควบคูกับการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความหลากหลายสูงขึ้น นําไปสูอารยธรรม ใหมที่ตั้งอยูบนความมั่งคั่งปฏิวัติ
  • 19. อนาคตของทุนนิยม ระบบทีเปลี่ยนแปลงทรัพยสินเปนทุนได ประกอบดวยฐานความรูขนาดมหึมาที่ ่ เปลี่ยนแปลงอยางไมหยุดยัง ชวยเพิมมูลคาของทรัพยสิน ้ ่ ในระบอบเศรษฐกิจกาวหนา (คลื่นลูกที่สาม) ความเปน “นามธรรม” เชน ความรู ในฐานทรัพยสนของสังคมกําลังยกระดับขึ้นเรื่อยๆ และผูผลิตรายใหญ ิ ก็ตองพึงพาปจจัยการผลิตทีเปนนามธรรมมากขึ้นเรือยๆ ่ ่ ่ “นามธรรมสองชั้น” คือนามธรรมที่ตดกับทรัพยสินทีเปนนามธรรมตั้งแตแรก ิ ่ ดังนั้น ทรัพยสนจึงมีสองรูปแบบหลักๆ คือทรัพยสินที่มีมิตทางนามธรรม ิ ิ แวดลอมแกนทีเปนรูปธรรม และทรัพยสิน “นามธรรมสองชัน” ที่แกนของมัน ่ ้ เปนนามธรรมเหมือนกัน (เชน สินคาความรูที่ตอยอดทรัพยสินทางปญญา)  ถาเอามารวมกัน ก็จะไดความเขาใจใหมๆ ใน “กระบวนการแปลงเปน นามธรรม” ที่มาพรอมกับความกาวหนาสูระบบความมั่งคังที่ตงอยูบนความรู ่ ั้ 
  • 20. อนาคตของทุนนิยม (ตอ) อัตราเรงที่พบไดในความสัมพันธระหวางเรากับปจจัยเวลา ทําให ตลาดมีลักษณะชั่วคราวมากขึ้น ทําใหบริษัทตองคิดคนนวัตกรรม และตองขยับการผลิตไปสูระดับที่สรางมูลคาเพิ่มขึ้นอยางเปนระบบ นามธรรมทั้งสองประเภทจะเปนสัดสวนของฐานทรัพยสินที่ใหญขึ้น เรื่อยๆ ในสังคม อุตสาหกรรมจํานวนมากตองเผชิญหนากับความตาย เมื่อเทคโนโลยี ใหมๆ ทําใหวิธีคุมครองทรัพยสินทางปญญาแบบเดิมๆ ใชไมไดผล การยายไปสูนามธรรมปฏิวัติเปนเพียงกาวแรกในการปรับเปลี่ยนทุน นิยมอยางสุดขั้วที่กําลังดําเนินอยู ทุนนิยมที่เรารูจักจะเปลี่ยนโฉมหนาไป
  • 21. กําเนิดของ “ตลาดที่เปนไปไมได” ในอดีต บรรพบุรุษลวนเปนผูผลิต-บริโภค ตลาดที่ดินมีนอย ยิ่งตลาด  การเงินไมตองพูดถึง การปฏิวัติอุตสาหกรรม เปนตัวนําคลื่นความมั่งคั่งปฏิวัติลูกที่สอง คือเปลียนความสัมพันธระหวางตลาด นักการตลาด และคนธรรมดา ่ เปลี่ยนผูผลิต-บริโภคนอกเศรษฐกิจเงินตรา ใหกลายเปนผูผลิตและ   ผูบริโภคในเศรษฐกิจเงินตรา ทําใหตองพึ่งพิงระบบตลาด พัฒนาการของตลาดแมสถูกผลักดันดวย การแปลงเปนเมือง, สื่อมวลชนแบบแมส นวัตกรรมในเทคโนโลยีการผลิตและการตลาด คลื่นการเปลี่ยนแปลงที่เรียกวาปฏิวัติอุตสาหกรรม ไดขยายบทบาท ของตลาดในชีวิตประจําวัน
  • 22. กําเนิดของ “ตลาดที่เปนไปไมได” (ตอ) เมื่อความเร็วเรงอัตราขึ้น อายุขัยของสินคาก็จะสั้นลง การเขาจังหวะ ตางๆ เปนเรื่องจําเปนเรงดวน และการยายพื้นที่ไปสูตลาดโลกก็เพิ่ม คูแขงตางชาตินอกเหนือจากคูแขงชาติเดียวกัน แขงขันกันคิดคน สินคาในตลาดใหมๆ ที่มีอายุสั้นจนนาจะเรียกวา “ตลาดวูบวาบ” (flash markets) ผูบริโภคเองก็มีขอมูลมากขึ้น และเรียกรองสิทธิตางๆ มากขึ้น ผลพวงจากการผลิตแบบตอบสนองความตองการสวนตัว (customization) คือ กระบวนการตั้งราคาในตลาดแบบสวนตัว เนื่องจากมีตนทุนการผลิตหรือเสนอขายแตกตางกัน กระบวนการสรางตลาดและสลายตลาดดําเนินไปควบคูกัน
  • 23. การจัดการเงินแหงอนาคต เงินตราไมตางจากองคประกอบหลักอื่นๆ ของทุนนิยม ตรงที่มันเขา สูการปฏิวัติเร็วที่สุดและลึกซึ้งที่สุดในรอบหลายศตวรรษ การจะสราง เงินตรารูปแบบใหมๆ วิธีการจายและรับแบบใหม และโอกาสทาง ธุรกิจมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ไมใชเงินเลย การบริหารจัดการเงินหรือระบบเงินตรานั้น เพิ่มตนทุนมหาศาล ใหกับสังคมและกระเปาเงินของแตละคน ตนทุนเหลานี้จะถูกสงตอให ลูกคา เหมือนเปน “ภาษีซอนเรน” ที่ตองจายเปนคาตอบแทนความ สะดวกสบายในการใชเงิน การเริ่มใชบัตรเครดิต เปนจุดแรกของการกาวกระโดดไปสู “เงิน คูขนาน” และเทคโนโลยีใหมๆ ก็กําลังหลั่งไหลเขามา
  • 24. การจัดการเงินแหงอนาคต (ตอ) “เงินคูขนาน” อาทิ บัตรเครดิต สามารถทําใหจายเงินเร็วขึ้นหรือชาลงได ระบบความมั่งคั่งใหมที่กําลังอุบตขึ้นเปดทางสูการเปลี่ยนแปลงสุดขั้วในวิธการ ัิ ี และกําหนดเวลาที่เราไดรับคาตอบแทนจากการทํางาน นวัตกรรมที่เรงเร็วเหลานี้นําไปสูคําพยากรณถง “ความตายของเงิน” ึ การเติบโตของเงินคูขนาน, การเติบโตของการแลกเปลี่ยนสินคา, การเติบโต ของระดับการทดแทนได, การแพรกระจายของเครือขายการเงินโลกที่ซับซอน ขึ้นเรื่อยๆ, เทคโนโลยีกาวหนาสุดขัวที่กําลังจะนํามาใช แลวมองมันในบริบท ้ ของเศรษฐกิจโลกที่ใชเงินคนอืนตอยอดสูงมากและถูกสั่นคลอนดวยการเก็ง ่ กําไรที่ไรการกํากับดูแล ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงอยางสุดขัวในโครงสราง ้ ภูมิศาสตรการเมืองโลกทีจะกินเวลานานหลายทศวรรษ – ทั้งหมดนี้บงชีวาเงิน ่  ้ ยุคอุตสาหกรรมอาจกลายเปนของหายากในอนาคต
  • 25. การแปลงกิจกรรมผลิต-บริโภคใหเปนเงิน เริ่มมีการทดลองระดับยอยกับสกุลเงินทางเลือกในระดับชุมชน สวน ใหญใชการแลกเปลียนสินคาเปนสวนผสม ่ โครงการทั้งหมดนี้พยายามรับรูและแปลงมูลคาของกิจกรรมผลิต- บริโภคบางสวนใหเปนเงิน อยางไรก็ตาม คําถามที่ตองเผชิญไมไดเปนเรื่องชะตากรรมของเงิน เพียงอยางเดียว แตเปนชะตากรรมของทรัพยสิน ทุน ตลาด และ ปฏิสัมพันธระหวางปจจัยเหลานี้
  • 27. การทองเที่ยวเปนแหลงรายไดสําคัญของไทย รายไดจากการทองเที่ยวของคนตางชาติมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นทุกป และ เปนแหลงรายไดหลักของบางจังหวัด คิดเปนประมาณรอยละ 5-6 ของ GDP ประเทศไทย ประเทศไทยมีศักยภาพและความพรอมในการพัฒนาอุตสาหกรรม ทองเที่ยวสูง ทรัพยากรทองเทียวทังดานวัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และความนาดึงดูดใจดาน ่้ อื่นมีสูง คนไทยมีจตสํานึกในการใหบริการสูง และมีทศนคติที่ดตอนักทองเทียว ิ ั ี ่ ในความคิดของชาวตางชาติ ประเทศไทยเปนแหลงทองเทียวชั้นนําระดับ ่ โลกอยูแลว  เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่ประเทศไทยสามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติ
  • 28. การทองเที่ยวในประเทศไทยกําลังขยับลงสูตลาดลาง  การใชจายตอนักทองเที่ยวแทบจะ สถิติการใชจายของนักทองเที่ยวตางชาติตอทริป (2543-2547)  ไมมีการเติบโตเลย โดยมีอัตรา พันบาท พันบาท เฉลี่ยเติบโตตอปเพียงรอยละ 2.40 (กราฟแทง) (เสน) เทานั้น 35 5 30 แมวารายไดจากการทองเที่ยวจะ 4 25 เพิ่มคอนขางสูงในชวงเวลา 3 20 เดียวกัน (รอยละ 7.74 ตอป) 15 หมายความวาประเทศไทยรับ 2 10 นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น แต 1 5 นักทองเที่ยวแตละคนใชเงินลดลง 0 0 แปลวาการทองเที่ยวของไทย 2000 2001 2002 2003 2004 กําลังขยับลงสูตลาดลาง LHS: กราฟแทง รายไดตอนักทองเที่ยวตอทริป RHS: กราฟเสน รายไดตอนักทองเที่ยวตอวัน ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย,
  • 29. ปญหาของการทองเที่ยวไทยในมุมมองของไมเคิล พอรเตอร ประเทศไทยมีองคประกอบหลายสวนที่จําเปนตอการสราง “คลัส เตอรการทองเที่ยว” ที่ดี แตรัฐบาลยังไมมีแผนแมบทสําหรับคลัสเตอรนี้ แมวาจะมีองคกร หรือสมาคมที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวมากมาย มีแผนกลยุทธการ ทองเที่ยวจํานวนมากและหลากหลาย การขาดแผนแมบทที่จะกําหนดกลยุทธอยางชัดเจน เปนปจจัยสําคัญ ที่ทําใหคลัสเตอรนี้ไมสามารถเพิ่มมูลคาจากนักทองเที่ยวได ผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาไมไดรบการอบรมใน ั กิจกรรมที่จําเปนตอธุรกิจการทองเที่ยว เชน วิชาที่เกี่ยวของกับ การทองเที่ยวกวารอยละ 40 เตรียมนักศึกษาสําหรับตําแหนง ผูบริหาร ทั้งๆ ที่ตําแหนงผูบริหารเพียงรอยละ 3 เทานั้น
  • 30. จาก Shareholder Model สู Stakeholder Model
  • 31. “นักทองเที่ยวคุณภาพ” ยุคคลื่นลูกที่สาม 1. รับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับคนตางเชื้อชาติตางวัฒนธรรมไดอยาง มหาศาลอยูแลวจากอินเทอรเน็ตและสื่อตางๆ ดังนั้นจึงนาจะตองการ ความ “จริง” ของประสบการณ (authenticity) และ “ปฏิสัมพันธ” (interaction) มากกวาเดิมเวลาไปเที่ยว – ไมอยาก “ดู” เฉยๆ 2. ยินดีจายเพิ่มแลกกับการไมตองเจอคนพลุกพลานและบริการแบบแมส 3. ยินดีจายเงินแลกกับ “คุณคา” ที่หาไมไดในถิ่นตัวเอง เชน การปฏิบัติ ธรรม ประสบการณการทํานา การทําอาหารพื้นบาน 4. ความแปลกแยกและเปลียวเหงาที่ทวีความรุนแรง นาจะทําให ่ “อุตสาหกรรมความเหงา” ดึงดูดนักทองเที่ยวได – ประเทศไทยมีฐานที่ ดีอยูแลวในธุรกิจ longstay และ homestay 31
  • 32. “ภาพใหญ” ของการทองเที่ยวไทยที่สราง “พื้นที่มลคาสูง” ได ู อสังหาริมทรัพย สุขภาพ & สันทนาการ การทองเที่ยว & สื่อ อพารตเมนทใหเชา โรงพยาบาล เภสัช ทองเทียวเชิงนิเวศ ่ ทองเทียวเชิง ่ รีสอรต สปา กีฬา บานพัก longstay วัฒนธรรม สถานปฏิบัติธรรม โฮมสเตย สื่อ & โฆษณา แพทยแผนทางเลือก เกษตรกรรม ผลิตภัณฑสขภาพ ุ การศึกษา ทุนวัฒนธรรม / สังคม • สถาบันศาสนา แพทย / โรงแรม อาหารเพื่อสุขภาพ • ภูมิปญญาพื้นบาน (เกษตรอินทรีย) สิ่งแวดลอม • วัฒนธรรมทองถิ่น • องคกรภาคประชาชน สังคมศาสตร ตลาดตางประเทศ
  • 33. ตลาดหลักใน “ภาพใหญ” เติบโตสูงมาก ตลาดหลัก ขนาดตลาด สวนแบง อัตราการเติบโต ปจจุบัน การตลาดของ ของตลาดโลก (ลานบาท) ไทย (รอยละ) (รอยละตอป) ทองเทียวเชิงสุขภาพ ่ เอเชีย อเมริกา 1,800,000 1.3 20-30 เกษตรอินทรีย อเมริกา ยุโรป 800,000 ต่ํากวา 0.01 20 ญี่ปุน สปา อเมริกา 1,600,000 0.2 30 สมุนไพร / ยาแผน อเมริกา ยุโรป 2,600,000 ต่ํากวา 0.01 10-20 ทางเลือก Longstay อเมริกา ญี่ปุน N/A N/A 10-20 สแกนดิเนเวีย
  • 34. รัฐ / ททท. ควรสงเสริมการทองเที่ยวแบบบูรณาการ เพื่อสรางทั้งมูลคาเพิ่มใหกับการทองเที่ยวไทย และสราง “พื้นที่ มูลคาเพิ่มสูง” ใหมๆ เนนการทองเที่ยวแบบยั่งยืน (sustainable tourism) เชน การทองเทียวเชิงนิเวศ ่ การทองเทียวเชิงวัฒนธรรม ่ การทองเทียวเชิงสุขภาพ ่ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว อาทิ การศึกษา ประวัติศาสตรทองถิ่น และกลไกการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม  เพิ่มการกระจายรายไดสูทองถิ่นและสงเสริมโครงสรางที่ยั่งยืน ดวย การ “แปลง” กิจกรรมที่มีมูลคาในภาคการผลิต-บริโภค (อาทิ การดูแล รักษาปาชุมชน การดูแลผูชรา) ใหเปนเงินตรา
  • 35. รัฐมีนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศตั้งแตป 2544 รัฐบาลชุดทีแลวมีนโยบายสงเสริมการทองเทียวเชิงนิเวศแลวตังแตป 2544 แตไม ่ ่ ้ เคยผลักดันอยางจริงจัง กรอบนโยบายรัฐบาลในดานนี้: จุดประสงค เพื่อพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน และรักษาไวซึ่งทรัพยากรอันสําคัญของประเทศ ประเด็นนโยบายที่สาคัญ ํ การจัดการกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางการทองเที่ยว การใหการศึกษาและความรูกับประชาชนในเรื่องของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การไดรับความรวมมือจากประชาชนในทองถิ่น การจัดการดานการตลาดและการนําเที่ยว การจัดทําโครงสรางการบริการพื้นฐานเพื่อใหสามารถมีการใหบริการได การสงเสริมการลงทุนและการสงเสริมดานอื่นๆ ทีจัดทําโดยภาครัฐ ่
  • 36. แผนแมบทการทองเที่ยวเชิงนิเวศยังไมเกิดผลเปนรูปธรรม รัฐบาลพรรคไทยรักไทยไดอนุมัติแผนแมบทการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (2545-2549) เพื่อ สงเสริมอุตสาหกรรมนี้ โดยมีลักษณะทีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ่ ฉบับที่ 9 แบงออกเปน 14 แผนยอยใน 37 โครงการ หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงตอแผนนี้มีทั้งสิ้น 3 หนวยงาน กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช องคกรบริหารสวนตําบล ในฐานะผูมอานาจดูแลทรัพยากรทองถิ่น ีํ อยางไรก็ดี สภาพความเปนจริงที่เกิดขึ้นคือ รัฐบาลยังไมใหความสําคัญดานการทองเที่ยวเชิง นิเวศอยางจริงจัง ประเทศไทยยังมีชื่อเสียงระดับโลกเรือง full-moon party ซึ่งไมใชการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และจะ ่ กอใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในระยะยาวอยางแนนอน การบุกรุกล้ําที่ในเขตสงวนยังเปนไปอยางอุกอาจ ไรการจับกุมหรือการปองกันใดๆ การตัดไมทําลายปาโดยผูมีอิทธิพลในทองถิ่นยังคงดําเนินตอไปอยางไมหยุดยั้ง 
  • 37. Longstay เปนธุรกิจที่ยังมีขนาดเล็กแตมีศักยภาพสูง แนวโนมการทองเทียวแบบพํานักระยะยาว (longstay) เปนที่นิยมมากขึ้น ่ จํานวนประชากรผูสูงอายุของโลกเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งคนเหลานีนยมยายถิ่นฐานในฤดูหนาวเพื่อหลบอากาศเย็น ้ิ นักทองเที่ยวระยะยาวรอยละประมาณ 60 จะใชเวลาพักอยูในประเทศไทยประมาณ 1-2 เดือน สวนใหญเปนชาว อังกฤษ ญี่ปุน เยอรมันและสหรัฐอเมริกา เมืองไทยมีอากาศอบอุน และคนไทยมีความถนัดดานงานบริการ  เหมาะแกชาวตางชาติที่ตองการใชชีวิตบั้นปลายในการทองเที่ยว มารักษาสุขภาพและพักฟน หรือตองการหลบสภาพอากาศที่รุนแรงในประเทศของตน ปจจุบันมีสถานที่และบริการทองเที่ยวแบบระยะยาวโดยเฉพาะอยูประมาณ 100 แหง มีทั้ง แบบโรงแรม อพารตเมนต หรือโฮมสเตย สิ่งที่นาจับตามองคือรอยละ 70 ของคนที่มา longstay เปนผูชาย และบอยครั้งจะมี ภรรยาหรือเมียเชาเปนคนไทย รัฐบาลควรมีความระมัดระวังในเรืองนี้่ ปจจุบนประเทศไทยยังไมมีบริการ longstay แบบครบวงจร โดยทั่วไปจะใหบริการ ั ดานที่พกเทานัน ยังไมมีบริการดานสุขภาพ ทัวรวฒนธรรม สปา ฯลฯ ั ้ ั ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
  • 38. ตลาดการทองเที่ยวเพื่อสุขภาพขยายตัวเร็วและมีมูลคาสูง ปจจุบันประเทศไทยมีโรงพยาบาลมากกวา 30 แหงที่สามารถรองรับและใหบริการชาว ตางประเทศได จากโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดกวา 470 แหง การทองเที่ยวทางการแพทย มีมูลคาเพิ่มสูงมาก โดยปกตินักทองเที่ยวจะใชเงินเฉลี่ยประมาณ 362 USD ตอวัน ในขณะที่ถามาเที่ยวตามปกติจะใชเงินเฉลี่ยวันละ 100 USD ประเทศไทยเปนผูนําในการบริการทางการแพทยในบางดานอยูแลว เชน โรคเมืองรอน หรือ การผาตัดแปลงเพศ ตลาดการทองเที่ยวทางการแพทยเติบโตอยางรวดเร็วในเมืองไทย ในป 2547 มีนกทองเที่ยวมากกวา 600,000 คนใชปริการทางการแพทย ทํารายไดใหประเทศกวา 20,000 ั ลานบาท ในป 2549 กระทรวงสาธารณสุขคาดวา จะมีนกทองเที่ยวทางการแพทยกวา 1 ลานคน และสรางรายได ั ใหแกประเทศกวา 27,000 ลานบาท ตลาดทองเที่ยวทางการแพทยในเอเชียยังคงเติบโตตอเนื่องในอัตรารอยละ 20-30 ตอป ภายในป 2555 คาดวาจะมีการใชจายสําหรับการทองเที่ยวทางการแพทยในเอเชีย (ไทย มาเลเซีย สิงคโปร และ อินเดีย) ปละ 4.4 พันลาน USD หรือกวา 176,000 ลานบาท ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข, Abacus International
  • 39. …แตประเทศไทยยังมีอปสรรคหลายประการ ุ ประเทศไทยมีจุดดอยดานภาษาของบุคลากรเมื่อเทียบกับประเทศ คูแขง เชน สิงคโปร หรืออินเดีย ประเทศไทยยังไมมีศูนยการประสานงานดานการประกันสุขภาพ ในขณะที่ประเทศคูแขงมีหนวยงานนี้แลว ปญหาดานวีซาของนักทองเที่ยวที่อยูนานกวา 90 วันไมได ทําให ผูปวยโรคเรื้อรังเลือกที่จะรับการรักษาในประเทศอื่น โรงพยาบาลในประเทศไทยยังไมเปนที่รูจักหรือไวเนื้อเชือใจเทากับ ่ คูแขงในประเทศอื่นที่มีการทําการตลาดมานาน ที่มา: กรมสงเสริมการสงออก
  • 40. ลักษณะของธุรกิจการทองเที่ยวที่ “ยั่งยืน” 1. อนุรักษ ดูแล และฟนฟูสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง 2. อนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น สรางรายไดใหชุมชนในทางที่สงเสริมความ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ไมใชการทองเที่ยวแบบฉาบฉวย (“แตงชุด ประจําเผาใหนักทองเที่ยวถายรูป”) 3. มี “สมดุล” ระหวางระบบเงินตรา และระบบนอกเงินตราที่เกี่ยวของกับ การทองเที่ยว (เชน ปาชุมชน โครงการอาสาสมัครเก็บขยะ) โดยไม เอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน ผูใหบริการไมผลักภาระใหรัฐหรือ ชุมชนรับผิดชอบถายเดียว 4. สราง “มูลคาเพิ่ม” ใหกับทุกฝาย 40
  • 41. ตัวอยางการทองเที่ยวอยางยั่งยืน: ระบบจายตรงใน กัมพูชา (ขอขอบคุณขอมูลจาก คุณเพชร มโนปวิตร รองผูอํานวยการ สมาคม อนุรักษสตวปา (WCS) ประเทศไทย ผูเขียนคอลัมน “โลกสีเขียว” ใน ั โอเพนออนไลน : http://www.onopen.com/?cat=81)
  • 42. ระบบการจายตรง ระบบการจายตรง (Direct Payment) เปนการสรางแรงจูงใจทาง เศรษฐกิจใหชุมชนทองถิ่นหันมาอนุรักษธรรมชาติแทนการทําลาย มี หลายรูปแบบและกอใหเกิดผลโดยตรงกับการอนุรักษแตกตางกัน ออกไป การจายคาตอบแทนใหคนในชุมชนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ เชน จางพราน ใหมาเปนเจาหนาที่อนุรักษ การสนับสนุนงบประมาณใหหนวยงานที่ดแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ู การสรางรายไดใหชุมชนผานชองทาง “การทองเทียวเชิงอนุรักษ” ่ การครอบครองกรรมสิทธิ์ในการบริหารจัดการพื้นที่นั้น ๆ เชน การระดม ทุนซื้อพื้นที่ธรรมชาติเพื่อนํามาจัดตังเปนเขตอนุรักษเอกชนหรือศูนยศึกษา ้ ธรรมชาติ 42
  • 43. โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา ั Northern Plains เปนทุงหญาธรรมชาติผสม ปาเต็งรังและพื้นที่ชุมน้ําอันอุดมสมบูรณ ขนาดใหญอยูในประเทศกัมพูชา และยังเปน แหลงอาศัยและวางไขของนกหายากใกล สูญพันธุหลายชนิด โดยเฉพาะนกชอนหอยดํา (White-Shouldered Ibis) และนกชอนหอยใหญ (Giant Ibis) ที่ใกลสูญพันธและ มีอยูที่นท่เดียวเทานั้นในโลก ี่ ี ตังแตปลาย 1990 เริ่มมีการกอตัวอยางเงียบ ๆ ของโครงการ Ecotourism ้ หลายโครงการ หนึ่งในนั้นคือโครงการทองเทียวเชิงอนุรักษนกหายาก ่ (Tmatboey Ibis Tourism Site) โดยจัดตังคณะกรรมการหมูบานอันประกอบไป ้ ดวยตัวแทนที่มาจากการเลือกตัง 9 คน มีหนาที่หลักคือจัดการ “กองทุนพัฒนา ้ หมูบาน” ในนามของชุมชน 43
  • 44. โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ) ั ดําเนินโครงการหลัก 2 โครงการ โครงการทองเทียวเชิงอนุรักษ โดยจัดใหพ้นที่ ่ ื บริเวณนั้นเปนแหลงทองเที่ยว สําหรับนักดูนก โดยไกดทองถิ่นไดผลตอบแทนจากการพา นักทองเที่ยวไปดูนก และเก็บคาบริการจาก ที่พัก (Home stay), อาหารและเครื่องดื่ม โครงการปกปองรังนก (Bird Nest Production Program) เนื่องจากการเก็บไขนกมาขายเปนภัย คุกคามทีสําคัญทีสุดตอความอยูรอดของนก ่ ่ ในโครงการนี้รัฐจึงใหเงินตอบแทนแกชาวบานที่ พบรังนกและดูแลรักษารังนกไปจนกวาลูกนกจะ ออกจากรัง รวมทั้งมีเจาหนาที่ 2 คนคอยดูแลตรวจสอบและติดตามผลงานเต็มเวลา 44
  • 45. โครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ) ั เมื่อถึงป 2004 รัฐจึงออกกฎใหพ้นที่แหงนี้เปน ื พื้นที่อนุรักษ หามลาสัตว ถาสมาชิกคนใดไมเคารพกฎการรักษารังนกหรือฝา ฝนลานก แผนการทองเที่ยวทั้งหมดจะถูกยกเลิก ทันที หรือไมผูฝาฝนจะตองถูกตัดสิทธิจากการ ไดรับผลประโยชนตาง ๆ หลังจากดําเนินการมาระยะหนึ่ง โครงการนี้เริ่มเปน ที่รูจักมากขึ้นในกลุมนักดูนก นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น และมีแนวโนมวาจะใชเวลาทองเทียวนานขึนทุกป ่ ้ ทําใหเกิดรายไดหมุนเวียนในชุมชนมากขึ้น เฉพาะป 2006 – 2007 การทองเที่ยวสรางรายได ใหกับชุมชนกวา $7,000 ซึ่งเมื่อเทียบกับรายได 50 เซนตตอวันของชาวกัมพูชาแลว นี่ถือเปนความ แตกตางอยางมีนยสําคัญ ั 45
  • 46. ผลของโครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา ั ประชากรนกมีจํานวนเพิ่มขึ้น ปญหาการลานกลด ลงอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งยังสรางทัศนคติใน เรื่องการอยูรวมกับนกของชาวบานใหดขึ้น ี เพราะสมาชิกชุมชนรูวานกและสัตวปาอื่นๆ เปน แมเหล็กดึงดูดนักทองเที่ยว รายไดจากโครงการนี้กวา 80 เปอรเซ็นตตกอยู กับชาวบานโดยตรง เปนการสงเสริมการสราง รายไดอยางถูกกฎหมายใหชาวบาน แทนที่ จะตองเสี่ยงหารายไดจากการลาหรือขโมยลูกนก ซึ่งผิดกฎหมาย 46
  • 47. ผลของโครงการอนุรกษนกน้ําหายากในกัมพูชา (ตอ) ั สรางความเขาใจเกี่ยวกับการจัดสรร พื้นที่เพื่อการอนุรักษใหกับชาวบาน ถือเปนวิธีแกปญหาที่เสียตนทุนนอยและ มีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับวิธีอื่น ๆ ปจจุบันคณะกรรมการหมูบานสามารถรับผิดชอบ ดูแล และจัดการการทองเที่ยวไดดวยตัวเองเกือบทั้งหมดแลว จุดแข็งของทั้งสองโครงการอยูที่การเชื่อมโยงเปาหมายการอนุรักษ เขากับแนวทางการดําเนินงานโดยตรง และมีระบบการสํารวจ ติดตามประชากรนกที่ชัดเจน ใช “เงิน” สรางแรงจูงใจในทางที่เอื้อตอการอนุรักษอยางยั่งยืน 47