SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
การใชกิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
         1 กิจกรรมประกอบจังหวะ
ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอบขายความหมายของกิจกรรมประกอบจังหวะไววา หมายถึง เพลง และ
บทพูดเขาจังหวะ
ความหมายของเพลง
         ราชบัณฑิตยสถาน (2546: 601) ไดใหความหมายของเพลงไววา เพลง หมายถึง สําเนียง ขับรอง
ทํานองดนตรี กระบวนวิธีรําดาบ รําทวน เปนตน
         ธีระศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ (2540: 2) ไดใหความหมายของเพลงไววา เพลง หมายถึง ภาษาอยางหนึ่งที่
สามารถสื่อความคิดเปนจินตนาการและความรูสึกออกมาในรูปของถอยคําและเสียง               ซึ่งผูฟงแตละคน
สามารถรับรูไดดวยความนึกคิดที่แตกตางกันออกไป
         นิวเฟลคท และกูราลนิค (Neufeldt and Guralnik. 1978: 108) กลาววา เพลงคือ ศิลปะของการขับ
รอง ดนตรีที่บรรเลงหรือแตงขึ้นเพื่อบรรเลงเพลง คําประพันธหรือบทรอยกรองที่แตงไวสําหรับขับรอง เชน
คําโคลง หรือโคลงที่แสดงความรูสึก
         กลาวโดยสรุปไดวา เพลง หมายถึง ภาษาที่ถายทอดความรูสึกนึกคิดดวยการขับรองประกอบทํานอง
ดนตรีที่แตกตางออกไป ทําใหผูฟงเกิดจินตภาพ
ความหมายของบทพูดเขาจังหวะ (Chant)
         แกรแฮม (Graham. 1979: iX) ไดอธิบายไววา Chant มีลักษณะเปนบทสนทนาสั้นๆ ใชคํา หรือ
ขอความสั้นๆ ประกอบจังหวะดนตรีที่มีจังหวะเนนหนัก ชัดเจน เราใจ
         เตือนใจ เฉลิมกิจ (2545: 134) ไดใหคําแปลของ Chant ไววา การพูดเขาจังหวะที่มีลักษณะเหมือน
เพลงหรือเหมือนกับโคลงซึ่งมีจังหวะชัดเจน
         กลาวโดยสรุปไดวา กิจกรรมประกอบจังหวะ ไดแก เพลงและบทพูดเขาจังหวะ โดยเพลง หมายถึง
คําประพันธหรือบทรอยกรองที่มีทํานองดนตรีไวเพื่อขับรองหรือบรรเลงและบทพูดเขาจังหวะ หมายถึง บท
พูดหรือขอความสั้นๆ เหมือนโคลงประกอบดนตรีที่มีจังหวะชัดเจน 24
ประโยชนของการใชเพลงประกอบการเรียนการสอน
           เพลงมีประโยชนตอการเรียนการสอนอยางมาก นอกจากจะชวยเพิ่มความสนุกเพลิดเพลินแกผูเรียน
และผูสอนแลว เพลงยังอาจชวยในการเรียนการสอนไดหลายอยาง ดังที่นักการศึกษาหลายทานไดกลาวไว
ดังนี้
           กริฟฟ (Griffee. 1992: 4-5) ไดกลาวถึงประโยชนของเพลงในการสอนภาษาไววา
           1. เพลงชวยสรางบรรยากาศในหองเรียน (Classroom atmosphere) เพลงทําใหนักเรียนรูสึกผอน
คลายและสรางสรรคบรรยากาศที่สนุกสนานในหองเรียน
           2. เพลงเปนตัวชวยใหเกิดการเรียนรูทางภาษา (Language input) คําพูดกับจังหวะมีความสัมพันธกัน
อยางยิ่ง ดังนั้นประสาทการรับรูเกี่ยวกับจังหวะจึงเปนพื้นฐานและบันไดขั้นตนในการเรียนรูภาษาโดยเฉพาะ
อยางยิ่งเพลงปอบ (Pop songs) เปนตัวอยางภาษาพูดอยางดี เชน การลดเสียงของคําที่ลงทายดวย ing
           3. เพลงเปนตัวเรียนรูทางวัฒนธรรม (Cultural input) เพลงจะสะทอนถึงสถานที่ถิ่น
เกิดของเพลงอันเต็มไปดวยขอมูลทางสังคม เมื่อนําเพลงมาใชในหองเรียนจึงเปรียบเสมือนนําความรู
ทางวัฒนธรรมเขาหองเรียนดวย
           4. เพลงเปนตํารา (Songs as a text) เพลงสามารถใชเปนตําราเชนเดียวกันกับโคลง
กลอน เรื่องสั้น นวนิยาย หรือสื่อเอกสารจริงอื่นๆ
           5. เพลงเปนอุปกรณเสริม (Songs and music as supplements) เพลงสามารถใชเปน
อุปกรณเสริมตําราเรียนหรือเปนตําราโดยตัวของมันเองในสถานการณการสอนหลายอยาง เชน
                   5.1 ใชเพลงหลังการเรียนตามปกติ
                   5.2 ใชเพลงในการเปลี่ยนเนื้อหาบทเรียนใหม
                   5.3 ใชเพลงในโอกาสและวาระพิเศษ เชน วันคริสตมาส เปนตน
           6. เพลงชวยในการสอนบทสนทนา (Teaching conversation) ครูสามารถใชเพลงใน
การนําการสนทนาหรือการอภิปรายได
           7. เพลงชวยในการสอนคําศัพท (Teaching vocabulary) เพลงสามารถใชในการสอนคํา
ศัพทไดเปนอยางดี
           8. เพลงชวยในการทบทวนโครงสรางทางไวยากรณ (Teaching or reviewing
grammatical structure) เพลงนําเสนอบริบทที่เปนธรรมชาติสําหรับโครงสรางทางไวยากรณทั่วไป
เชน เรื่องกาล และบุพบท
           9. เพลงชวยในการสอนการออกเสียง (Teaching pronunciation) เพลงอันประกอบดวย
ระดับเสียง จังหวะ และการเนนคํา เหมาะแกการสอนและฝกทักษะทางภาษาไดหลายทักษะ 25
10. เพลงชวยเพิ่มความคงทนในการจํา (Teaching memory) เพลงชวยใหเกิดความคง
ทนในการจํา มีความกระตือรือรนในการเรียนและไมเบื่อหนายในการฝกซ้ําๆ
         11. เพลงชวยสรางความสนใจใหนักเรียน (Students’ interest) เพลงมีอิทธิพลตอเรา นับตั้งแตเริ่มหัด
พูดจนกระทั่งเปนผูใหญ ครูสามารถสรางความสนใจไดดวยเพลง
4.2 การเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมประกอบจังหวะ
         ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดขอบขายความหมายของกิจกรรมประกอบจังหวะไววา หมายถึง
เพลง และบทพูดเขาจังหวะ
หลักการเลือกเพลงและบทพูดเขาจังหวะที่นํามาใชสอน
         เจียรนัย พงษศิวาภัย (2540: 104-106) กลาววา การเลือกเพลงสําหรับใชประกอบการสอนควร
คํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
         1. ระดับชั้น วัย และความสามารถของผูเรียน
         2. ความไพเราะ จังหวะของเพลงไมเร็วหรือชาจนเกินไป
         3. ภาษาไมยาก คําที่อยูในเพลงชัดเจนและมีความหมาย
         4. เปนเพลงที่ฟงแลวเกิดความรูสึก จินตนาการ และสามารถรองตามได
         กริฟฟ (Griffee. 1992: 4-6) กลาววา ครูควรคํานึงถึงปจจัยตางๆ ในการเลือกเพลงสําหรับใชในชั้น
เรียนดังนี้ กลาวคือ
         1. ชั้นเรียน (The class)
                    1.1 จํานวนและอายุของนักเรียน
                    1.2 ชวงเวลาที่ทําการสอนในแตละวัน
                    1.3 ระดับภาษาของนักเรียน
                    1.4 ความสนใจในเพลงของนักเรียน
         2. ครู (The teacher)
                    2.1 อายุของครูและความสนใจเกี่ยวกับดนตรี
                    2.2 วัตถุประสงคในการสอน
                    2.3 วัตถุประสงคในการเลือกเพลง
         3. โอกาสในการใชเพลงในชั้นเรียน (Classroom opportunities)
                    3.1 อิสระในการใชเพลงในการสอน
                    3.2 เวลาสําหรับการเตรียมบทเรียน
                    3.3 ความสามารถในการใชเพลงเสริมบทเรียน 26
4. เสียงดนตรี (The music)
                    4.1 ความดังของเสียง
                    4.2 อุปกรณเสริมในแตละบทเรียน
          สรุปไดวา หลักในการเลือกเพลงประกอบการเรียนการสอนภาษานั้น ครุผูสอนควรคํานึงถึงวัย
ระดับความสามารถ และความสนใจของผูเรียน อีกทั้งภาษาของเพลงตองชัดเจน ฟงงาย และมีวัตถุประสงค
สอดคลองกับบทเรียน
แนวสอนโดยการใชเพลงและบทพูดเขาจังหวะประกอบการเรียนการสอน
          ในการสอนโดยการใชเพลงประกอบบทเรียนนั้น ครูสามารถใชเพลงหรือบทพูดเขาจังหวะไดในทุก
ขั้นตอนของบทเรียน เชน ใชในชวงเริ่มตนบทเรียนเพื่อเปนสัญญาณแสดงการเปลี่ยนจากวิชาที่เรียนกอน
หนานี้มาเปนวิชาภาษาอังกฤษ หรืออาจใชในระหวางกลางบทเรียนเพื่อเปนการหยุดพักกอนเริ่มกิจกรรม
ใหม ซึ่งตองใชสมาธิมากขึ้น หรืออาจใชในตอนทายของบทเรียนเพื่อเปนการจบบทเรียน
          ฟลลิปส (Phillips. 2002: 145 -146) ไดกลาวถึงแนวทางโดยทั่วไปสําหรับการใชเพลงประกอบการ
เรียนการสอนไววา
          1. เปดเทปเพลงหรือครูรองเพลงนั้น 1-2 ครั้ง โดยใหเด็กๆ ฟงเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เพื่อใหเด็กซึมซับ
และคุนเคยกับทวงทํานอง และจังหวะของเพลง
          2. เปดเทปเพลงหรือครูรองเพลงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ขณะเดียวกันใหเด็กๆ ตบมือใหเขากับจังหวะเพลง
และ/หรือฮัมทํานองเพลง
          3. ใหเด็กแสดงทาทางไปพรอมๆ กับครู
          4. ถามความหมายของเพลงจากทาทาง อธิบายสิ่งที่เด็กไมเขาใจ
          5. เปดเพลงอีกครั้ง เด็กๆ รวมกันแสดงทาทางและรองตามหากตองการ
          สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2536: 265) แนวการสอนโดยใชเพลงประกอบการสอน
ไวดังนี้
          1. ใชเพลงนําเขาสูบทเรียน สรุปการสอน หรือทบทวนบทเรียน
          2. ครูรองเพลงหรือเปดเทปใหนักเรียนรองตาม
          3. ถาตองการทาทางประกอบ ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงทาทางประกอบ
                    4. หากนักเรียนมีความสามารถดานดนตรี           ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดง
                    ความสามารถ
          5. เพิ่มเติมกิจกรรมที่เปนประโยชน เชน อภิปราย ตอบคําถาม เขียนเรื่อง หรือกิจกรรมอื่นๆ เพื่อเปน
การสรุป 27
6. ประเมินผลการใชเพลง
                6.1 สังเกตการณแสดงออกการรองเพลงในการรวมกิจกรรม
                6.2 ทดสอบความเขาใจจากบทเพลงดวยการทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม

         การสอนโดยใชกิจกรรมบทพูดเขาจังหวะ (Chants) เพื่อการฝกออกเสียงจังหวะ และรูปแบบการลง
เสียงเนนหนัก (Stress) ในภาษาอังกฤษ ในบางกรณีจะมีการฝกโครงสรางประโยครวมดวย ฟลลิปส
(Phillips. 2002: 145 -146) ไดกลาวถึงแนวทางโดยทั่วๆ ไปในการสอนดังนี้
         1. ครูพูดโคลง และสาธิตแสดงทาทาง
         2. สังเกตวาเด็กๆ เดาความหมายไดหรือไม
         3. ฝกใหเด็กทั้งชั้นพูด โดยใหรักษาจังหวะในการออกเสียง และตั้งใจฟงการออกเสียงที่เปนปญหา
ของนักเรียน
         4. สอนใหเด็กๆ แสดงทาทางและใหทํา ทาทางขณะที่ครูพูดโคลง สําหรับขั้นตอนนี้หากเด็กไมได
พูดคําโคลงทุกคนก็ไมเปนไร
         5. เขียนโคลงบางตอน หรือทั้งหมดบนกระดานและอธิบายคําศัพทยาก หรืออาจจะบอกคําแปลถา
ครูคิดวาจําเปน
         6. ใหเด็กดูคําศัพททั้งหมดบนกระดานอีกครั้ง แลวจึงลบคําศัพทออกไปหนึ่งหรือสองคํา (ครูอาจใช
ภาพแทนคําศัพทเหลานี้) ใหเด็กทองโคลงและอานคําศัพทที่ลบออกไปดวย จากนั้นลบคําศัพท อื่นๆ ออกอีก
และใหเด็กทองโคลงอีกครั้ง ทําตอไปเชนนี้จนกระทั่งเด็กสามารถอานโคลงทั้งหมดไดทั้งๆ ที่ไมมีคําศัพท
ปรากฏใหเห็นบนกระดาน
         7. เด็กๆ พูดโคลงและแสดงทาทางประกอบ
         8. เด็กๆ อาจทํา กิจกรรมเสริม โดยใชคํา ที่อยูในโคลงมาวาดภาพประกอบ แลวรวบรวมทํา เปน
หนังสือเลมเล็ก
9. เด็กๆ ทํา กิจกรรมเสริมโดยเปลี่ยนคํา ที่อยูในโคลงกลอน หรือการพูดเขาจังหวะ เพื่อสรางผลงานในแบบ
ฉบับของตนเอง

คําศัพทภาษาอังกฤษ
ความหมายของคําศัพท
        พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2530: 853) ได
ใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง กลุมเสียง เสียงพูด หรือลายลักษณอักษรที่เขียนหรือพิมพ
ขึ้น เพื่อแสดงความคิดเปนคําหรือคํายากที่ตองแปล
มอรริส (Morris. 1979: 143) ไดใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง คําทุกคําในภาษา
ที่ถูกใชและเปนที่เขาใจในเฉพาะบุคคล วงสังคม วงการอาชีพ เชื้อชาติ หรือรายการคํา หรือวลีที่ถูกจัดเรียง
ตามระบบการเรียงอักษร พรอมกับมีการอธิบายความหมาย แปล หรือยกตัวอยางประกอบ
        ศิธร แสงธนู และ คิด พงษทัต (2541: 35) ไดใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง กลุม
เสียงกลุมหนึ่งซึ่งมีทั้งความหมายใหรูวาเปนคน สิ่งของ อาการหรือลักษณะอาการอยางใดอยางหนึ่ง
        จากความหมายของคําศัพทที่กลาวมาแลวนั้น สรุปไดวา คําศัพท คือ คํา วลี หรือกลุมเสียงกลุมหนึ่ง
ในภาษา ซึ่งมีความหมายที่มนุษยในสังคมใชเปนเครื่องมือสื่อความหมาย สื่อความรูความคิด ระหวางบุคคล
ในสังคมหรือชนชาติ
ความสําคัญของคําศัพท
        ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้น สิ่งที่เปนพื้นฐานที่สําคัญของผูเรียนก็คือการเรียนรูคําศัพท มีนักการ
ศึกษาและผูเชี่ยวชาญไดกลาวถึงความสําคัญของคําศัพทภาษาอังกฤษไวดังตอไปนี้
        สตีวิค (Stewick. 1972: 2) กลาววา ในการเรียนภาษานั้นการเรียนรูคําศัพทของภาษาใหมถือวาเปน
เรื่องที่สําคัญมาก ความสําเร็จในการเรียนภาษาตางประเทศสวนหนึ่งนั้น ขึ้นอยูกับความสามารถในการใช
องคประกอบของภาษาซึ่งประกอบดวย เสียง โครงสรางและคําศัพท ซึ่งองคประกอบทั้งสามประการนี้จะ
ชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจเรื่องที่ผูอื่นพูด และสามารถพูดใหผูอื่นเขาใจได คําศัพทจึงนับเปนหัวใจสําคัญ
อยางหนึ่งในการเรียนภาษา โดยถือวาผูเรียนไดเรียนรูภาษาตางประเทศก็ตอเมื่อ
1. ไดเรียนรูระบบเสียง คือ สามารถพูดไดดีและสามารถเขาใจได
2. ไดเรียนรูและสามารถใชโครงสรางของภาษานั้นๆ ได
3. ไดเรียนรูคําศัพทจํานวนมากพอสมควร และสามารถนํามาใชได
        กาเดสซี่ (Ghadessy. 1998: 24) กลาววา คําศัพทมีความสําคัญยิ่งกวาโครงสรางทางไวยากรณ เพราะ
คําศัพทเปนพื้นฐานของการเรียนภาษา หากผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับคําศัพท จะสามารถนําคําศัพทมาสราง
เปนหนวยที่ใหญขึ้น เชน วลี ประโยค เรียงความ แตหากไมเขาใจคําศัพท ก็ไมสามารถเขาใจหนวยทางภาษา
ที่ใหญกวาไดเลย ดังนั้นในบรรดาองคประกอบทั้งหลายของภาษา “คํา” เปนสิ่งที่เรารูจักมากที่สุด ภาษาก็คือ
การนําคํามารวมกัน (A language is a collection of words.) นั่นเอง
        พิตรวัลย โกวิทวที ( 2540: 17) กลาววา คําศัพทมีความสําคัญและเปนพื้นฐานในการที่จะนําไปใช
ประโยชนในการสื่อสารทางภาษาทุกๆ ดานโดยเฉพาะการสอนภาษาเพื่อสื่อความหมาย
จากการศึกษาดังกลาวขางตน พอสรุปไดวา คําศัพทเปนปจจัยพื้นฐานในการเรียนภาษา
ทุกภาษา เพราะการรูคําศัพทชวยใหสื่อความหมายไดดี และการที่จําคําศัพทไดมากจะทําใหสามารถ
สื่อความหมายไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประเภทของคําศัพท
             นักภาษาศาสตรไดแบงประเภทของคําศัพทไวหลายรูปแบบ ดังเชน
             ฟนอคชิอาโร (Finocchiaro. 1983: 136) ไดจําแนกคําศัพทออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของการ
ใช ดังนี้
             1. Active vocabulary คือ คําศัพทที่ผูเรียนในระดับนั้นๆไดพบเห็นบอยๆ ทั้งในการฟง พูด อาน และ
เขียน ควรจะใชใหเปนและใชไดอยางถูกตอง ฉะนั้น คําศัพทประเภทนี้ครูจะตองฝกฝนบอยๆซ้ําๆ จน
สามารถใชคําในประโยคได ทั้งในการพูด ( Speaking) และการเขียน ( Writing) ซึ่งถือวาเปนทักษะขั้น
Production คําศัพทประเภทนี้ไดแก คําศัพทที่เกี่ยวกับบาน เวลา วัน เดือน ป ฤดูกาล อากาศ อาหาร สวน
ตางๆ ของรางกาย เครื่องนุงหม ตลอดจนคําซึ่งบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical characteristics) ไดแก
รูปราง สี น้ําหนัก และรส
             2. Passive vocabulary คือ คําศัพทที่ผูเรียนในระดับนั้นๆ พบเห็นและนําไปใชนอย การสอนคําศัพท
ประเภทนี้มุงเพียงสอนใหรูความหมาย ไมจําเปนตองฝกเหมือน Active vocabulary ทั้งนี้เนื่องจากผูเรียนใน
ระดับนั้นยังไมจําเปนตองใช แตคําศัพทเหลานี้อาจกลายเปน Active vocabulary เมื่อผูเรียนนั้นเรียนรูใน
ระดับสูงขึ้น
ขณะเดียวกันเดลและคณะ (Dale and others. 1999 : 37-38) ไดจําแนกคําศัพทออกเปน 2 ประเภท คือ
             1. Content Words คือ คําศัพทประเภทที่เราบอกความหมายไดโดยไมตองขึ้นอยูกับโครงสรางของ
ประโยค เปนคําศัพทที่มีความหมายตามพจนานุกรม หรือเปลี่ยนความหมายไปเมื่ออยูในตําแหนงที่ตางกัน
ในประโยค ไดแก คํานาม คํากริยา คําคุณศัพท และคําวิเศษณ
             2. Function Words คือ คําที่มีความหมายในตัวเองนอยมาก หรือไมอาจกําหนดความหมายใหไดเมื่อ
อยูโดดๆ แตเมื่อคําเหลานี้ปรากฏในประโยคแลวจะทําใหประโยคนั้นไดใจความถูกตองตามโครงสรางของ
ภาษา ไดแก คําสรรพนาม และคําบุพบท
             กลาวโดยสรุปไดวา ประเภทของคําศัพทนั้นแบงออกไดเปน 2 ประเภทตามลักษณะการแบงของ
นักภาษาศาสตรแตละคน นักภาษาศาสตรคนแรกจําแนกไดวา คําศัพทมีทั้งคําที่ผูเรียนในแตละระดับไดพบ
เห็นในชีวิตประจําวันและคําศัพทที่พบเห็นนอยครั้ง นักภาษาศาสตรอีกทานหนึ่งจําแนกออกเปน คําศัพทที่
บอกความหมายไดโดยไมตองขึ้นอยูกับโครงสรางของประโยคและคําศัพทที่มีความหมายในตัวเองนอยมาก
แตเมื่ออยูในประโยคแลวทําใหไดใจความถูกตองตามโครงสรางทางภาษา ซึ่งแตละประเภทจะตองใชวิธี
สอนที่แตกตางกัน โดยคํานึงถึงความสามารถที่จะนําไปใชในการสื่อสารใหเหมาะสม
องคประกอบของคําศัพท
         ชมิท (Schmitt. 2000: 35) กลาวถึงองคประกอบหลักที่สําคัญของคําศัพทภาษาอังกฤษไว ดังนี้
         1. รูปคํา (Form) คือ รูปรางหรือการสะกดตัวของคํานั้นๆ แบงออกไดเปน
                   1.1 รูปคําในการเขียน (Written Form หรือ Orthographical)
                   1.2 รูปคําในการพูด (Spoken Form หรือ Phonological)
         2. ความหมาย ( Meaning) คือ ความหมายของคําศัพทนั้นๆ ซึ่งจะเกิดจากความสัมพันธระหวาง
คําศัพทนั้นกับสิ่งที่อางถึงหรือสิ่งที่เกี่ยวของดวย
         กลาวโดยสรุป องคประกอบหลักของคําศัพทภาษาอังกฤษมี 2 ประการ คือ รูปคําและ ความหมาย
                   1.2 การเรียนการสอนคําศัพทภาษาอังกฤษ
หลักการเลือกคําศัพทเพื่อนํามาสอน
         แม็ควอรเทอร ( McWhorter. 1990: 52 ) กลาววา ในการเลือกคําศัพท ผูสอนควรเลือกคําศัพทที่มี
ประโยชนและใชมากกับตัวผูเรียน แตก็ขึ้นอยูกับองคประกอบที่ตางกันไป สิ่งที่สําคัญที่ตองพิจารณา คือ
ตองเปนคําศัพทที่สอดคลองกับเปาหมายในการเรียนหรือแผนงานที่สามารถนําไปใช หรือมีสวนเกี่ยวของ
มากที่สุด
         แม็คคีย (Mackey. 1997: 176-177) กลาววา หลักการในการเลือกคําศัพทมาสอนนักเรียนมีดังนี้
         1. คําศัพทที่ผูเรียนอานหรือไดยินโดยนับคําที่ปรากฏบอยที่สุดหรือมีความถี่ในการใชมาก แลวจึง
คัดเลือกคําศัพทนั้นมาสอนเพื่อใหนักเรียนรูจักและนํามาใชอยางถูกตอง
         2. คําศัพทที่ปรากฏนั้นควรจะมาจากหนังสือหรือตําราหลายๆ เลม หลายๆ สถานการณเพราะคําที่
จะหาไดจากหลายแหลงยอมมีความสําคัญมากกวาคําที่จะพบเฉพาะในหนังสือเลมใดเลมหนึ่งอยางเดียว
         3. คําศัพทที่มีความจําเปนสําหรับสถานการณใดสถานการณหนึ่ง ควรจะนํามาสอนถึงแมจะไม
ปรากฏบอย เชน คําวา blackboard เปนคําศัพทที่เกี่ยวกับหองเรียนที่ครูและนักเรียนจําเปนตองใชคํานี้ แมจะ
ไมปรากฏบอยในสถานการณอื่นก็ตาม
         4. คําศัพทคําหนึ่งอาจครอบคลุมไดหลายความหมายหรือสามารถใชคําอื่นแทนได ควรพิจารณา
เลือกนํามาสอนเพื่อใหนักเรียนเขาใจยิ่งขึ้น
         5. คําศัพทที่เลือกมาสอนควรคํานึงถึงคําที่เรียนรูไดงาย ซึ่งมีองคประกอบที่เกี่ยวของคือ
                   5.1 คําศัพทบางคําที่เลือกนํามาสอนเพราะมีความคลายคลึงกับภาษาเดิมของผูเรียน ทําให
จดจําไดงายยิ่งขึ้น
                   5.2 คําศัพทบางคํามีความหมายชัดเจน ทําใหนักเรียนเขาใจงาย
                   5.3 คําศัพทที่สั้น ออกเสียงไดงาย ทําใหนักเรียนสามารถจดจําไดรวดเร็ว
                   5.4 คําศัพทที่ผูเรียนเคยเรียนผานมาแลว เมื่อนํามาผสมเปนคําศัพทใหมทําใหงายตอการ
เขาใจและการจํา
หลักการดังกลาวสอดคลองกับ ลาโด ( Lado. 1986: 119-120) เปนสวนใหญ ยกเวนบางขอที่ลาโดไดเสนอ
เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการเลือกคําศัพทเพื่อนํามาสอนไวดังนี้
           1. ควรเปนคําศัพทที่มีความสัมพันธกับประสบการณและความสนใจของผูเรียน
           2. ควรมีปริมาณของตัวอักษรในคําศัพทเหมาะสมกับระดับอายุ และสติปญญาของผูเรียน เชน ใน
ระดับประถมศึกษาตอนตน ก็ควรนําคําศัพทสั้นๆ มาสอน
           3. ควรมีคําศัพทไมมากเกินไปหรือนอยเกินไปในบทเรียนหนึ่งๆ แตควรเหมาะสมกับระดับของ
ผูเรียน
           4. ควรเปนคําศัพทที่ผูเรียนมีโอกาสนําไปใชในชีวิตประจําวัน เชน นําไปพูดสนทนาหรือพบเห็น
คําศัพทนั้นๆ ตามปายโฆษณา เปนตน
           สรุปไดวา การเลือกคําศัพทสําหรับการสอน ควรพิจารณาเลือกคําศัพทที่ปรากฏบอยใน
ชีวิตประจําวัน โดยคํานึงถึงความหมายของคําศัพทที่เหมาะสมกับรูปประโยคที่จะสอน และเปนคําศัพทที่มี
ประโยชนและใชมากกับตัวผูเรียน เปาหมายในการเรียน โดยเฉพาะการเลือกสรรคําศัพทจะตองคํานึงถึง
ความเหมาะสมกับ ระดับอายุ วุฒิภาวะ และการนําไปใชใหเกิดประโยชนตอผูเรียนเปนสําคัญ

Contenu connexe

Tendances

แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisTeacher Sophonnawit
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food Nim Kotarak
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสารkrunoony
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
หรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยหรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยMadaow Madaow
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson planBelinda Bow
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านWanida Keawprompakdee
 

Tendances (19)

แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
Reading
ReadingReading
Reading
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysis
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสาร
 
3 colors
3 colors3 colors
3 colors
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
หรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยหรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
daily routine
daily routine daily routine
daily routine
 
Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson plan
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
ชุด5
ชุด5ชุด5
ชุด5
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Similaire à บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ

แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วUbonpan Sornsakul
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วUbonpan Sornsakul
 

Similaire à บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ (20)

แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
ใบความรู้ร้องเพลง
ใบความรู้ร้องเพลงใบความรู้ร้องเพลง
ใบความรู้ร้องเพลง
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 

บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ

  • 1. การใชกิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ 1 กิจกรรมประกอบจังหวะ ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอบขายความหมายของกิจกรรมประกอบจังหวะไววา หมายถึง เพลง และ บทพูดเขาจังหวะ ความหมายของเพลง ราชบัณฑิตยสถาน (2546: 601) ไดใหความหมายของเพลงไววา เพลง หมายถึง สําเนียง ขับรอง ทํานองดนตรี กระบวนวิธีรําดาบ รําทวน เปนตน ธีระศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ (2540: 2) ไดใหความหมายของเพลงไววา เพลง หมายถึง ภาษาอยางหนึ่งที่ สามารถสื่อความคิดเปนจินตนาการและความรูสึกออกมาในรูปของถอยคําและเสียง ซึ่งผูฟงแตละคน สามารถรับรูไดดวยความนึกคิดที่แตกตางกันออกไป นิวเฟลคท และกูราลนิค (Neufeldt and Guralnik. 1978: 108) กลาววา เพลงคือ ศิลปะของการขับ รอง ดนตรีที่บรรเลงหรือแตงขึ้นเพื่อบรรเลงเพลง คําประพันธหรือบทรอยกรองที่แตงไวสําหรับขับรอง เชน คําโคลง หรือโคลงที่แสดงความรูสึก กลาวโดยสรุปไดวา เพลง หมายถึง ภาษาที่ถายทอดความรูสึกนึกคิดดวยการขับรองประกอบทํานอง ดนตรีที่แตกตางออกไป ทําใหผูฟงเกิดจินตภาพ ความหมายของบทพูดเขาจังหวะ (Chant) แกรแฮม (Graham. 1979: iX) ไดอธิบายไววา Chant มีลักษณะเปนบทสนทนาสั้นๆ ใชคํา หรือ ขอความสั้นๆ ประกอบจังหวะดนตรีที่มีจังหวะเนนหนัก ชัดเจน เราใจ เตือนใจ เฉลิมกิจ (2545: 134) ไดใหคําแปลของ Chant ไววา การพูดเขาจังหวะที่มีลักษณะเหมือน เพลงหรือเหมือนกับโคลงซึ่งมีจังหวะชัดเจน กลาวโดยสรุปไดวา กิจกรรมประกอบจังหวะ ไดแก เพลงและบทพูดเขาจังหวะ โดยเพลง หมายถึง คําประพันธหรือบทรอยกรองที่มีทํานองดนตรีไวเพื่อขับรองหรือบรรเลงและบทพูดเขาจังหวะ หมายถึง บท พูดหรือขอความสั้นๆ เหมือนโคลงประกอบดนตรีที่มีจังหวะชัดเจน 24
  • 2. ประโยชนของการใชเพลงประกอบการเรียนการสอน เพลงมีประโยชนตอการเรียนการสอนอยางมาก นอกจากจะชวยเพิ่มความสนุกเพลิดเพลินแกผูเรียน และผูสอนแลว เพลงยังอาจชวยในการเรียนการสอนไดหลายอยาง ดังที่นักการศึกษาหลายทานไดกลาวไว ดังนี้ กริฟฟ (Griffee. 1992: 4-5) ไดกลาวถึงประโยชนของเพลงในการสอนภาษาไววา 1. เพลงชวยสรางบรรยากาศในหองเรียน (Classroom atmosphere) เพลงทําใหนักเรียนรูสึกผอน คลายและสรางสรรคบรรยากาศที่สนุกสนานในหองเรียน 2. เพลงเปนตัวชวยใหเกิดการเรียนรูทางภาษา (Language input) คําพูดกับจังหวะมีความสัมพันธกัน อยางยิ่ง ดังนั้นประสาทการรับรูเกี่ยวกับจังหวะจึงเปนพื้นฐานและบันไดขั้นตนในการเรียนรูภาษาโดยเฉพาะ อยางยิ่งเพลงปอบ (Pop songs) เปนตัวอยางภาษาพูดอยางดี เชน การลดเสียงของคําที่ลงทายดวย ing 3. เพลงเปนตัวเรียนรูทางวัฒนธรรม (Cultural input) เพลงจะสะทอนถึงสถานที่ถิ่น เกิดของเพลงอันเต็มไปดวยขอมูลทางสังคม เมื่อนําเพลงมาใชในหองเรียนจึงเปรียบเสมือนนําความรู ทางวัฒนธรรมเขาหองเรียนดวย 4. เพลงเปนตํารา (Songs as a text) เพลงสามารถใชเปนตําราเชนเดียวกันกับโคลง กลอน เรื่องสั้น นวนิยาย หรือสื่อเอกสารจริงอื่นๆ 5. เพลงเปนอุปกรณเสริม (Songs and music as supplements) เพลงสามารถใชเปน อุปกรณเสริมตําราเรียนหรือเปนตําราโดยตัวของมันเองในสถานการณการสอนหลายอยาง เชน 5.1 ใชเพลงหลังการเรียนตามปกติ 5.2 ใชเพลงในการเปลี่ยนเนื้อหาบทเรียนใหม 5.3 ใชเพลงในโอกาสและวาระพิเศษ เชน วันคริสตมาส เปนตน 6. เพลงชวยในการสอนบทสนทนา (Teaching conversation) ครูสามารถใชเพลงใน การนําการสนทนาหรือการอภิปรายได 7. เพลงชวยในการสอนคําศัพท (Teaching vocabulary) เพลงสามารถใชในการสอนคํา ศัพทไดเปนอยางดี 8. เพลงชวยในการทบทวนโครงสรางทางไวยากรณ (Teaching or reviewing grammatical structure) เพลงนําเสนอบริบทที่เปนธรรมชาติสําหรับโครงสรางทางไวยากรณทั่วไป เชน เรื่องกาล และบุพบท 9. เพลงชวยในการสอนการออกเสียง (Teaching pronunciation) เพลงอันประกอบดวย ระดับเสียง จังหวะ และการเนนคํา เหมาะแกการสอนและฝกทักษะทางภาษาไดหลายทักษะ 25
  • 3. 10. เพลงชวยเพิ่มความคงทนในการจํา (Teaching memory) เพลงชวยใหเกิดความคง ทนในการจํา มีความกระตือรือรนในการเรียนและไมเบื่อหนายในการฝกซ้ําๆ 11. เพลงชวยสรางความสนใจใหนักเรียน (Students’ interest) เพลงมีอิทธิพลตอเรา นับตั้งแตเริ่มหัด พูดจนกระทั่งเปนผูใหญ ครูสามารถสรางความสนใจไดดวยเพลง 4.2 การเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมประกอบจังหวะ ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดขอบขายความหมายของกิจกรรมประกอบจังหวะไววา หมายถึง เพลง และบทพูดเขาจังหวะ หลักการเลือกเพลงและบทพูดเขาจังหวะที่นํามาใชสอน เจียรนัย พงษศิวาภัย (2540: 104-106) กลาววา การเลือกเพลงสําหรับใชประกอบการสอนควร คํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. ระดับชั้น วัย และความสามารถของผูเรียน 2. ความไพเราะ จังหวะของเพลงไมเร็วหรือชาจนเกินไป 3. ภาษาไมยาก คําที่อยูในเพลงชัดเจนและมีความหมาย 4. เปนเพลงที่ฟงแลวเกิดความรูสึก จินตนาการ และสามารถรองตามได กริฟฟ (Griffee. 1992: 4-6) กลาววา ครูควรคํานึงถึงปจจัยตางๆ ในการเลือกเพลงสําหรับใชในชั้น เรียนดังนี้ กลาวคือ 1. ชั้นเรียน (The class) 1.1 จํานวนและอายุของนักเรียน 1.2 ชวงเวลาที่ทําการสอนในแตละวัน 1.3 ระดับภาษาของนักเรียน 1.4 ความสนใจในเพลงของนักเรียน 2. ครู (The teacher) 2.1 อายุของครูและความสนใจเกี่ยวกับดนตรี 2.2 วัตถุประสงคในการสอน 2.3 วัตถุประสงคในการเลือกเพลง 3. โอกาสในการใชเพลงในชั้นเรียน (Classroom opportunities) 3.1 อิสระในการใชเพลงในการสอน 3.2 เวลาสําหรับการเตรียมบทเรียน 3.3 ความสามารถในการใชเพลงเสริมบทเรียน 26
  • 4. 4. เสียงดนตรี (The music) 4.1 ความดังของเสียง 4.2 อุปกรณเสริมในแตละบทเรียน สรุปไดวา หลักในการเลือกเพลงประกอบการเรียนการสอนภาษานั้น ครุผูสอนควรคํานึงถึงวัย ระดับความสามารถ และความสนใจของผูเรียน อีกทั้งภาษาของเพลงตองชัดเจน ฟงงาย และมีวัตถุประสงค สอดคลองกับบทเรียน แนวสอนโดยการใชเพลงและบทพูดเขาจังหวะประกอบการเรียนการสอน ในการสอนโดยการใชเพลงประกอบบทเรียนนั้น ครูสามารถใชเพลงหรือบทพูดเขาจังหวะไดในทุก ขั้นตอนของบทเรียน เชน ใชในชวงเริ่มตนบทเรียนเพื่อเปนสัญญาณแสดงการเปลี่ยนจากวิชาที่เรียนกอน หนานี้มาเปนวิชาภาษาอังกฤษ หรืออาจใชในระหวางกลางบทเรียนเพื่อเปนการหยุดพักกอนเริ่มกิจกรรม ใหม ซึ่งตองใชสมาธิมากขึ้น หรืออาจใชในตอนทายของบทเรียนเพื่อเปนการจบบทเรียน ฟลลิปส (Phillips. 2002: 145 -146) ไดกลาวถึงแนวทางโดยทั่วไปสําหรับการใชเพลงประกอบการ เรียนการสอนไววา 1. เปดเทปเพลงหรือครูรองเพลงนั้น 1-2 ครั้ง โดยใหเด็กๆ ฟงเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เพื่อใหเด็กซึมซับ และคุนเคยกับทวงทํานอง และจังหวะของเพลง 2. เปดเทปเพลงหรือครูรองเพลงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ขณะเดียวกันใหเด็กๆ ตบมือใหเขากับจังหวะเพลง และ/หรือฮัมทํานองเพลง 3. ใหเด็กแสดงทาทางไปพรอมๆ กับครู 4. ถามความหมายของเพลงจากทาทาง อธิบายสิ่งที่เด็กไมเขาใจ 5. เปดเพลงอีกครั้ง เด็กๆ รวมกันแสดงทาทางและรองตามหากตองการ สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2536: 265) แนวการสอนโดยใชเพลงประกอบการสอน ไวดังนี้ 1. ใชเพลงนําเขาสูบทเรียน สรุปการสอน หรือทบทวนบทเรียน 2. ครูรองเพลงหรือเปดเทปใหนักเรียนรองตาม 3. ถาตองการทาทางประกอบ ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงทาทางประกอบ 4. หากนักเรียนมีความสามารถดานดนตรี ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดง ความสามารถ 5. เพิ่มเติมกิจกรรมที่เปนประโยชน เชน อภิปราย ตอบคําถาม เขียนเรื่อง หรือกิจกรรมอื่นๆ เพื่อเปน การสรุป 27
  • 5. 6. ประเมินผลการใชเพลง 6.1 สังเกตการณแสดงออกการรองเพลงในการรวมกิจกรรม 6.2 ทดสอบความเขาใจจากบทเพลงดวยการทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม การสอนโดยใชกิจกรรมบทพูดเขาจังหวะ (Chants) เพื่อการฝกออกเสียงจังหวะ และรูปแบบการลง เสียงเนนหนัก (Stress) ในภาษาอังกฤษ ในบางกรณีจะมีการฝกโครงสรางประโยครวมดวย ฟลลิปส (Phillips. 2002: 145 -146) ไดกลาวถึงแนวทางโดยทั่วๆ ไปในการสอนดังนี้ 1. ครูพูดโคลง และสาธิตแสดงทาทาง 2. สังเกตวาเด็กๆ เดาความหมายไดหรือไม 3. ฝกใหเด็กทั้งชั้นพูด โดยใหรักษาจังหวะในการออกเสียง และตั้งใจฟงการออกเสียงที่เปนปญหา ของนักเรียน 4. สอนใหเด็กๆ แสดงทาทางและใหทํา ทาทางขณะที่ครูพูดโคลง สําหรับขั้นตอนนี้หากเด็กไมได พูดคําโคลงทุกคนก็ไมเปนไร 5. เขียนโคลงบางตอน หรือทั้งหมดบนกระดานและอธิบายคําศัพทยาก หรืออาจจะบอกคําแปลถา ครูคิดวาจําเปน 6. ใหเด็กดูคําศัพททั้งหมดบนกระดานอีกครั้ง แลวจึงลบคําศัพทออกไปหนึ่งหรือสองคํา (ครูอาจใช ภาพแทนคําศัพทเหลานี้) ใหเด็กทองโคลงและอานคําศัพทที่ลบออกไปดวย จากนั้นลบคําศัพท อื่นๆ ออกอีก และใหเด็กทองโคลงอีกครั้ง ทําตอไปเชนนี้จนกระทั่งเด็กสามารถอานโคลงทั้งหมดไดทั้งๆ ที่ไมมีคําศัพท ปรากฏใหเห็นบนกระดาน 7. เด็กๆ พูดโคลงและแสดงทาทางประกอบ 8. เด็กๆ อาจทํา กิจกรรมเสริม โดยใชคํา ที่อยูในโคลงมาวาดภาพประกอบ แลวรวบรวมทํา เปน หนังสือเลมเล็ก 9. เด็กๆ ทํา กิจกรรมเสริมโดยเปลี่ยนคํา ที่อยูในโคลงกลอน หรือการพูดเขาจังหวะ เพื่อสรางผลงานในแบบ ฉบับของตนเอง คําศัพทภาษาอังกฤษ ความหมายของคําศัพท พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2530: 853) ได ใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง กลุมเสียง เสียงพูด หรือลายลักษณอักษรที่เขียนหรือพิมพ ขึ้น เพื่อแสดงความคิดเปนคําหรือคํายากที่ตองแปล
  • 6. มอรริส (Morris. 1979: 143) ไดใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง คําทุกคําในภาษา ที่ถูกใชและเปนที่เขาใจในเฉพาะบุคคล วงสังคม วงการอาชีพ เชื้อชาติ หรือรายการคํา หรือวลีที่ถูกจัดเรียง ตามระบบการเรียงอักษร พรอมกับมีการอธิบายความหมาย แปล หรือยกตัวอยางประกอบ ศิธร แสงธนู และ คิด พงษทัต (2541: 35) ไดใหความหมายของคําศัพทไววา คําศัพท หมายถึง กลุม เสียงกลุมหนึ่งซึ่งมีทั้งความหมายใหรูวาเปนคน สิ่งของ อาการหรือลักษณะอาการอยางใดอยางหนึ่ง จากความหมายของคําศัพทที่กลาวมาแลวนั้น สรุปไดวา คําศัพท คือ คํา วลี หรือกลุมเสียงกลุมหนึ่ง ในภาษา ซึ่งมีความหมายที่มนุษยในสังคมใชเปนเครื่องมือสื่อความหมาย สื่อความรูความคิด ระหวางบุคคล ในสังคมหรือชนชาติ ความสําคัญของคําศัพท ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้น สิ่งที่เปนพื้นฐานที่สําคัญของผูเรียนก็คือการเรียนรูคําศัพท มีนักการ ศึกษาและผูเชี่ยวชาญไดกลาวถึงความสําคัญของคําศัพทภาษาอังกฤษไวดังตอไปนี้ สตีวิค (Stewick. 1972: 2) กลาววา ในการเรียนภาษานั้นการเรียนรูคําศัพทของภาษาใหมถือวาเปน เรื่องที่สําคัญมาก ความสําเร็จในการเรียนภาษาตางประเทศสวนหนึ่งนั้น ขึ้นอยูกับความสามารถในการใช องคประกอบของภาษาซึ่งประกอบดวย เสียง โครงสรางและคําศัพท ซึ่งองคประกอบทั้งสามประการนี้จะ ชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจเรื่องที่ผูอื่นพูด และสามารถพูดใหผูอื่นเขาใจได คําศัพทจึงนับเปนหัวใจสําคัญ อยางหนึ่งในการเรียนภาษา โดยถือวาผูเรียนไดเรียนรูภาษาตางประเทศก็ตอเมื่อ 1. ไดเรียนรูระบบเสียง คือ สามารถพูดไดดีและสามารถเขาใจได 2. ไดเรียนรูและสามารถใชโครงสรางของภาษานั้นๆ ได 3. ไดเรียนรูคําศัพทจํานวนมากพอสมควร และสามารถนํามาใชได กาเดสซี่ (Ghadessy. 1998: 24) กลาววา คําศัพทมีความสําคัญยิ่งกวาโครงสรางทางไวยากรณ เพราะ คําศัพทเปนพื้นฐานของการเรียนภาษา หากผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับคําศัพท จะสามารถนําคําศัพทมาสราง เปนหนวยที่ใหญขึ้น เชน วลี ประโยค เรียงความ แตหากไมเขาใจคําศัพท ก็ไมสามารถเขาใจหนวยทางภาษา ที่ใหญกวาไดเลย ดังนั้นในบรรดาองคประกอบทั้งหลายของภาษา “คํา” เปนสิ่งที่เรารูจักมากที่สุด ภาษาก็คือ การนําคํามารวมกัน (A language is a collection of words.) นั่นเอง พิตรวัลย โกวิทวที ( 2540: 17) กลาววา คําศัพทมีความสําคัญและเปนพื้นฐานในการที่จะนําไปใช ประโยชนในการสื่อสารทางภาษาทุกๆ ดานโดยเฉพาะการสอนภาษาเพื่อสื่อความหมาย จากการศึกษาดังกลาวขางตน พอสรุปไดวา คําศัพทเปนปจจัยพื้นฐานในการเรียนภาษา ทุกภาษา เพราะการรูคําศัพทชวยใหสื่อความหมายไดดี และการที่จําคําศัพทไดมากจะทําใหสามารถ
  • 7. สื่อความหมายไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประเภทของคําศัพท นักภาษาศาสตรไดแบงประเภทของคําศัพทไวหลายรูปแบบ ดังเชน ฟนอคชิอาโร (Finocchiaro. 1983: 136) ไดจําแนกคําศัพทออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของการ ใช ดังนี้ 1. Active vocabulary คือ คําศัพทที่ผูเรียนในระดับนั้นๆไดพบเห็นบอยๆ ทั้งในการฟง พูด อาน และ เขียน ควรจะใชใหเปนและใชไดอยางถูกตอง ฉะนั้น คําศัพทประเภทนี้ครูจะตองฝกฝนบอยๆซ้ําๆ จน สามารถใชคําในประโยคได ทั้งในการพูด ( Speaking) และการเขียน ( Writing) ซึ่งถือวาเปนทักษะขั้น Production คําศัพทประเภทนี้ไดแก คําศัพทที่เกี่ยวกับบาน เวลา วัน เดือน ป ฤดูกาล อากาศ อาหาร สวน ตางๆ ของรางกาย เครื่องนุงหม ตลอดจนคําซึ่งบรรยายลักษณะทางกายภาพ ( Physical characteristics) ไดแก รูปราง สี น้ําหนัก และรส 2. Passive vocabulary คือ คําศัพทที่ผูเรียนในระดับนั้นๆ พบเห็นและนําไปใชนอย การสอนคําศัพท ประเภทนี้มุงเพียงสอนใหรูความหมาย ไมจําเปนตองฝกเหมือน Active vocabulary ทั้งนี้เนื่องจากผูเรียนใน ระดับนั้นยังไมจําเปนตองใช แตคําศัพทเหลานี้อาจกลายเปน Active vocabulary เมื่อผูเรียนนั้นเรียนรูใน ระดับสูงขึ้น ขณะเดียวกันเดลและคณะ (Dale and others. 1999 : 37-38) ไดจําแนกคําศัพทออกเปน 2 ประเภท คือ 1. Content Words คือ คําศัพทประเภทที่เราบอกความหมายไดโดยไมตองขึ้นอยูกับโครงสรางของ ประโยค เปนคําศัพทที่มีความหมายตามพจนานุกรม หรือเปลี่ยนความหมายไปเมื่ออยูในตําแหนงที่ตางกัน ในประโยค ไดแก คํานาม คํากริยา คําคุณศัพท และคําวิเศษณ 2. Function Words คือ คําที่มีความหมายในตัวเองนอยมาก หรือไมอาจกําหนดความหมายใหไดเมื่อ อยูโดดๆ แตเมื่อคําเหลานี้ปรากฏในประโยคแลวจะทําใหประโยคนั้นไดใจความถูกตองตามโครงสรางของ ภาษา ไดแก คําสรรพนาม และคําบุพบท กลาวโดยสรุปไดวา ประเภทของคําศัพทนั้นแบงออกไดเปน 2 ประเภทตามลักษณะการแบงของ นักภาษาศาสตรแตละคน นักภาษาศาสตรคนแรกจําแนกไดวา คําศัพทมีทั้งคําที่ผูเรียนในแตละระดับไดพบ เห็นในชีวิตประจําวันและคําศัพทที่พบเห็นนอยครั้ง นักภาษาศาสตรอีกทานหนึ่งจําแนกออกเปน คําศัพทที่ บอกความหมายไดโดยไมตองขึ้นอยูกับโครงสรางของประโยคและคําศัพทที่มีความหมายในตัวเองนอยมาก แตเมื่ออยูในประโยคแลวทําใหไดใจความถูกตองตามโครงสรางทางภาษา ซึ่งแตละประเภทจะตองใชวิธี สอนที่แตกตางกัน โดยคํานึงถึงความสามารถที่จะนําไปใชในการสื่อสารใหเหมาะสม
  • 8. องคประกอบของคําศัพท ชมิท (Schmitt. 2000: 35) กลาวถึงองคประกอบหลักที่สําคัญของคําศัพทภาษาอังกฤษไว ดังนี้ 1. รูปคํา (Form) คือ รูปรางหรือการสะกดตัวของคํานั้นๆ แบงออกไดเปน 1.1 รูปคําในการเขียน (Written Form หรือ Orthographical) 1.2 รูปคําในการพูด (Spoken Form หรือ Phonological) 2. ความหมาย ( Meaning) คือ ความหมายของคําศัพทนั้นๆ ซึ่งจะเกิดจากความสัมพันธระหวาง คําศัพทนั้นกับสิ่งที่อางถึงหรือสิ่งที่เกี่ยวของดวย กลาวโดยสรุป องคประกอบหลักของคําศัพทภาษาอังกฤษมี 2 ประการ คือ รูปคําและ ความหมาย 1.2 การเรียนการสอนคําศัพทภาษาอังกฤษ หลักการเลือกคําศัพทเพื่อนํามาสอน แม็ควอรเทอร ( McWhorter. 1990: 52 ) กลาววา ในการเลือกคําศัพท ผูสอนควรเลือกคําศัพทที่มี ประโยชนและใชมากกับตัวผูเรียน แตก็ขึ้นอยูกับองคประกอบที่ตางกันไป สิ่งที่สําคัญที่ตองพิจารณา คือ ตองเปนคําศัพทที่สอดคลองกับเปาหมายในการเรียนหรือแผนงานที่สามารถนําไปใช หรือมีสวนเกี่ยวของ มากที่สุด แม็คคีย (Mackey. 1997: 176-177) กลาววา หลักการในการเลือกคําศัพทมาสอนนักเรียนมีดังนี้ 1. คําศัพทที่ผูเรียนอานหรือไดยินโดยนับคําที่ปรากฏบอยที่สุดหรือมีความถี่ในการใชมาก แลวจึง คัดเลือกคําศัพทนั้นมาสอนเพื่อใหนักเรียนรูจักและนํามาใชอยางถูกตอง 2. คําศัพทที่ปรากฏนั้นควรจะมาจากหนังสือหรือตําราหลายๆ เลม หลายๆ สถานการณเพราะคําที่ จะหาไดจากหลายแหลงยอมมีความสําคัญมากกวาคําที่จะพบเฉพาะในหนังสือเลมใดเลมหนึ่งอยางเดียว 3. คําศัพทที่มีความจําเปนสําหรับสถานการณใดสถานการณหนึ่ง ควรจะนํามาสอนถึงแมจะไม ปรากฏบอย เชน คําวา blackboard เปนคําศัพทที่เกี่ยวกับหองเรียนที่ครูและนักเรียนจําเปนตองใชคํานี้ แมจะ ไมปรากฏบอยในสถานการณอื่นก็ตาม 4. คําศัพทคําหนึ่งอาจครอบคลุมไดหลายความหมายหรือสามารถใชคําอื่นแทนได ควรพิจารณา เลือกนํามาสอนเพื่อใหนักเรียนเขาใจยิ่งขึ้น 5. คําศัพทที่เลือกมาสอนควรคํานึงถึงคําที่เรียนรูไดงาย ซึ่งมีองคประกอบที่เกี่ยวของคือ 5.1 คําศัพทบางคําที่เลือกนํามาสอนเพราะมีความคลายคลึงกับภาษาเดิมของผูเรียน ทําให
  • 9. จดจําไดงายยิ่งขึ้น 5.2 คําศัพทบางคํามีความหมายชัดเจน ทําใหนักเรียนเขาใจงาย 5.3 คําศัพทที่สั้น ออกเสียงไดงาย ทําใหนักเรียนสามารถจดจําไดรวดเร็ว 5.4 คําศัพทที่ผูเรียนเคยเรียนผานมาแลว เมื่อนํามาผสมเปนคําศัพทใหมทําใหงายตอการ เขาใจและการจํา หลักการดังกลาวสอดคลองกับ ลาโด ( Lado. 1986: 119-120) เปนสวนใหญ ยกเวนบางขอที่ลาโดไดเสนอ เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการเลือกคําศัพทเพื่อนํามาสอนไวดังนี้ 1. ควรเปนคําศัพทที่มีความสัมพันธกับประสบการณและความสนใจของผูเรียน 2. ควรมีปริมาณของตัวอักษรในคําศัพทเหมาะสมกับระดับอายุ และสติปญญาของผูเรียน เชน ใน ระดับประถมศึกษาตอนตน ก็ควรนําคําศัพทสั้นๆ มาสอน 3. ควรมีคําศัพทไมมากเกินไปหรือนอยเกินไปในบทเรียนหนึ่งๆ แตควรเหมาะสมกับระดับของ ผูเรียน 4. ควรเปนคําศัพทที่ผูเรียนมีโอกาสนําไปใชในชีวิตประจําวัน เชน นําไปพูดสนทนาหรือพบเห็น คําศัพทนั้นๆ ตามปายโฆษณา เปนตน สรุปไดวา การเลือกคําศัพทสําหรับการสอน ควรพิจารณาเลือกคําศัพทที่ปรากฏบอยใน ชีวิตประจําวัน โดยคํานึงถึงความหมายของคําศัพทที่เหมาะสมกับรูปประโยคที่จะสอน และเปนคําศัพทที่มี ประโยชนและใชมากกับตัวผูเรียน เปาหมายในการเรียน โดยเฉพาะการเลือกสรรคําศัพทจะตองคํานึงถึง ความเหมาะสมกับ ระดับอายุ วุฒิภาวะ และการนําไปใชใหเกิดประโยชนตอผูเรียนเปนสําคัญ