SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
ร้านไอศกรีม
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2:
ไอศกรีมคืออะไร
• อธิบายความหมายของคาว่า สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้
• ทาการทดลองเพื่อระบุสมบัติของคอลลอยด์ได้
• อธิบายสมบัติของคอลลอยด์ในตัวกลางประเภทต่าง ๆ ทั้งที่เป็น
ของเหลวและตัวกลางกึ่งแข็งได้
• พิจารณาผลของขนาดของอนุภาคของสาร ต่อการรวมตัวและ
ตกตะกอนของสารได้
จุดประสงค์การเรียนรู้:
2
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสร้างความสนใจ
3
สวัสดีค่ะ! เรามาพบกันอีกครั้งแล้วนะคะ!
ดิฉันยินดีมากที่ได้ร่วมงานกับคุณ ที่ดิฉัน
ยินดีก็เพราะว่าที่ผ่านมาเราพบวิธีดี ๆ ที่
เป็นแนวทางในการจัดเก็บของในร้านของ
เราทั้งในกลุ่มของ ของแข็ง ของเหลว และ
แก๊สได้หลายแนวทางค่ะ
แต่ทว่าตอนนี้มีประเด็นปัญหาใหม่
สาหรับร้านของเรา ปัญหาก็คือเราจะจัด
ไอศกรีมอยู่ในสารจาพวกไหนดีค่ะระหว่าง
ของแข็งกับของเหลว
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
4
พวกเราชอบไอศกรีมใช่ไหมคะ และเราก็จะทาให้
ลูกค้ารู้สึกแบบนี้เช่นกัน ร้านของเราจะเน้นไปที่ไอศกรีม
แบบไทยๆ
แต่มีคาถามอยู่ว่า แล้วเราจัดไอศกรีมอยู่ในกลุ่ม
ของแข็งได้หรือเปล่า แต่ฉันจาได้แต่ไม่แน่ใจที่คุณลุงเคย
บอกว่ามันเป็นสารกลุ่มคอลลอยด์ แล้วคอลลอยด์คืออะไร
ประเด็นนี้แหละที่พวกคุณจะต้องมาช่วยกันหาคาตอบกัน
อีกครั้งค่ะ
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสร้างความสนใจ
เราว่าเป็นกลุ่มของแข็งแน่ๆ หลายคนก็รู้
แต่เรารู้สึกว่ามันไม่น่าจะเป็นของแข็งนะ เพราะ
มันไหลเยิ้มได้อย่างที่เห็นในถ้วยหรือไอศกรีม
โคน
ขั้นสารวจและค้นหา
5
เราว่าไม่นะ ไอศกรีมไม่น่าจะเหมือนของพวกนี้เพราะว่าบางทีเราก็ใส่ ชิ้นผลไม้หรือ ถั่วลงไป
และมันก็ไม่หลอมเหลวด้วย นี่แหละทาให้มันซับซ้อนอยู่ว่าตกลงมันคืออะไรกันแน่
ถ้าอย่างนั้นน่าจะเป็นของเหลว แล้วที่คุณ
กังวลอยู่ ใช่เป็นเพราะว่ามันหลอมเหลวได้ใช่ไหม
ตกลงถ้ามันหลอมมันก็จะกลายเป็นของเหลว แต่ดูเหมือนว่ามัน
ไม่ใช่ แต่ไม่รู้แล้วมันต่างจากกลุ่มของแข็งเนื้อนุ่มหรือไม่
หรือว่าบางที คอลลอยด์คือพวกของแข็ง
เนื้อนุ่ม น่าสงสัยอยู่นะ
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
6
ดีเลยคะ ถ้าอย่างนั้นพวกเรามาศึกษาเรื่องนี้ไปพร้อมกัน
นะค่ะ คุณลุงของดิฉันได้แนะนาว่าเราควรจัดสารเป็นกลุ่ม
ใหญ่ๆ ก่อน โดยแยกออกเป็นสารเนื้อเดียว
(homogenous) และสารเนื้อผสม (heterogeneous)
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
สวัสดีครับ ผมคือลุงของแพรวพรรณ
พบกันอีกครั้งแล้วนะครับ ผมมีภาพมาให้คุณ
พิจารณาดูว่าจากในภาพมีความหมายตรงกับคา
ว่าสารเนื้อเดียว (homogenous) หรือ สารเนื้อ
ผสม (heterogeneous)
ผมจะเปิดภาพพร้อมกับคาอธิบายกันให้พวก
เราลองพิจารณาและทาความเข้าใจตามไป
พยามคาดเดาคาตอบไปพร้อมกันนะครับ
7
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
SS
เกลือแกง เป็นสารเนื้อเดียว
8
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
แต่โจ๊กในชามนี้เป็นกลุ่ม
สารเนื้อผสม
9
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
ไอศกรีมน่ารับประทาน เหล่านี้ ทั้งหมดเป็น
กลุ่มของสารเนื้อผสม
10
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
กับข้าวไทย ๆ ในร้านนี้ทั้งหมด
ก็เป็นสารเนื้อผสม
11
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
12
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
แต่สาหรับน้าในขวดนี้ จัดอยู่ในกลุ่ม
สารเนื้อเดียว
มาถึงตอนนี้คุณคงเริ่มเห็นรูปแบบของ
การพิจารณาแล้ว นะครับ
และต่อไปนี้ผมจะให้คุณลองพยายาม
พิจารณาดูด้วยตนเองนะครับ
ขั้นสารวจและค้นหา
pic of cup of
tea
ไอศกรีมในถ้วยนี้
แผ่นทองคาเปลวที่ปิดองค์พระ
ระฆังโลหะเหล่านี้ น้าชา ในถ้วยใบนี้
13
สารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสม ?
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
14
ยอดเยี่ยมเลยครับ คุณเรียนรู้ได้รวดเร็ว
มาก ตอนนี้พวกเราก็สามารถนาความเข้าใจ
เหล่านี้ไปใช้ได้กับหน่วยย่อยของสารต่อไปได้
แล้ว เกิดอะไรขึ้นในระดับหน่วยย่อยเล็ก ๆ
ของสารที่เรามองไม่เห็น
ผมมีการทดลองเพื่อให้คุณได้ทาการทดสอบ
เกี่ยวกับของผสมบางอย่าง
ขอให้พวกคุณได้รวบรวมผลการทดลองอย่าง
รอบคอบเพื่อเป็นข้อมูลที่จะนาไปใช้ต่อไป
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นสารวจและค้นหา
SS
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
15
ถูกต้องค่ะ คุณค้นพบอะไรบ้างแล้ว จากวิธีที่คุณ
ลุงของฉันได้แนะนา คุณลุงประทับใจมากเลยค่ะ
และท่านฝากขอบคุณมาด้วย และท่านคิดว่าคุณ
คือนักวิทยาศาสตร์ที่ดี และคงไม่ทาให้ท่านผิดหวัง
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
เกิดอะไรขึ้นกับอนุภาคของนม
ในหลอดทดลองใดที่อนุภาคของสารเกิดการ
ละลาย
เกิดอะไรขึ้นกับอนุภาคของแป้งมันเมื่อ
ให้ความร้อน
ในหลอดทดลองใดที่อนุภาคตก
ลงมาที่ก้นหลอด
เกิดอะไรขึ้นกับอนุภาคของนมเมื่อเติม
น้าส้มสายชูลงไป
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
16
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
สิ่งที่เกิดขึ้นกับสารที่มีอนุภาคแตกต่างกันเมื่อผสมสารดังกล่าวกับ
น้า คือ สารบางชนิดจะเกิดการละลาย บางชนิดจะไม่มีการ
ละลาย และบางชนิดเกิดการตกตะกอนส่วนบางชนิดจะไม่มีการ
ตกตะกอนและจะกระจายตัวอยู่ในตัวกลาง
ขั้นขยายความรู้
17
อนุภาคขนาดเล็กกว่า
10-7cm
อนุภาพขนาดในช่วง
10-7 ถึง 10-4 cm
อนุภาคที่มีขนาดใหญ่กว่า
10-4cm
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นขยายความรู้
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ถ้าเราฉายแสงผ่านเนื้อสารที่มีอนุภาคขนาดต่าง ๆ
เหล่านี้เราจะเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? คุณจะ
อธิบายผลการทดลองอย่างไร? และผลการทดลองมี
ความสัมพันธ์กับขนาดของอนุภาคอย่างไร ?
เรามาทาการทดลองดูการเปลี่ยนแปลง
ไปพร้อมกันครับ
SS
19
อนุภาคขนาดเล็กกว่า
10-7cm
อนุภาพขนาดในช่วง
10-7 ถึง 10-4 cm
อนุภาคที่มีขนาดใหญ่กว่า
10-4cm
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นขยายความรู้
สิ่งที่เกิดขึ้นกับสารที่มีอนุภาคแตกต่างกันเมื่อผสมสารดังกล่าวกับน้า
คือ สารบางชนิดจะเกิดการละลาย บางชนิดจะไม่มีการละลาย และ
บางชนิดเกิดการตกตะกอนส่วนบางชนิดจะไม่มีการตกตะกอนและจะ
กระจายตัวอยู่ในตัวกลาง
ถ้าอย่างนั้น คอลลอยด์ก็น่าจะเป็นของผสม
จากสารที่แตกต่างกันสองชนิดค่ะ ซึ่งบางที่ก็เป็น
ของแข็ง บางที่ก็เป็นของเหลว และตอนนี้เราก็จะ
อธิบายได้ว่าทาไมไอศกรีมจึงอยู่ในรูปร่างใกล้เคียง
กับของแข็งเนื้อนุ่มมีสมบัติกึ่งแข็งกึ่งเหลว
20
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นขยายความรู้
Praewparn pic
Elaborate
21
ค่ะ ในไอศกรีมนั้นนอกจากจะมีอนุภาคขนาด
เล็กของ ไขมัน โปรตีน ที่แขวนลอยอยู่ในน้าแล้วก็มี
เกล็ดน้าแข็งเล็ก ๆ ปนอยู่ด้วย ซึ่งน้าทาหน้าที่เป็น
ตัวกลางในขณะที่ เกล็ดน้าแข็ง ไขมันเป็นกลุ่ม
อนุภาคของคอลลอยด์
บางทีอนุภาคของคอลลอยด์และตัวกลางก็อยู่
ในรูปของ ของแข็ง ของเหลว หรือไม่ก็ แก๊ส ทาให้
คอลลอย์มีหลายแบบ ลองพิจารณาดูใน
สไลด์ต่อไปนะคะ
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
คอลลอยด์
อนุภาคคอลลอยด์
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
แก๊ส ไม่มี แอโรซอล
(ฝุ่นในอากาศ, หมอก,
สเปรย์ฉีดผม)
สม็อก
(ควัน ,เขม่า)
ของเหลว โฟม
(วิปครีม,
ครีมโกนหนวด)
อิมัลชัน
(นม, น้าสลัด,
ครีมบารงผิว)
โซล
(หมึก, เลือด)
ของแข็ง โซลิดโฟม
(หินพัมมิช โฟม)
เจล
(เจลลี วุ้น)
โซลิด โซล
(กระจกสี)
ประเภทตัวกลาง
นี่คือลักษณะคอลลอยด์ประเภทต่าง ๆ
22
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
ขั้นขยายความรู้
วันนี้คุณได้ทากิจกรรมหนัก ๆ กันมา
พอสมควรแล้ว แต่ดิฉันก็ยังมีความท้าทาย
ให้อีกนะคะ จากสิ่งของมากมายในร้าน ได้แก่
น้าอัดลม น้าชา น้ากะทิ น้าผลไม้ ฯลฯ
เพื่อทดสอบความรู้ ลองตอบดูว่าสิ่งของเหล่า
นี้เป็นคอลลอยด์หรือไม่แล้วบันทึกลงในใบ
กิจกรรมค่ะ
ขั้นประเมินผล
23
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร
SS
24
รายละเอียดการติดต่อ
ติดต่อทีมงานได้ที่
inspiring_science@hotmail.com
ร้านไอศกรีม2ไอศกรีมคืออะไร

Contenu connexe

En vedette

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

En vedette (20)

R maker3 th
R maker3 thR maker3 th
R maker3 th
 
Orchids3ppt
Orchids3pptOrchids3ppt
Orchids3ppt
 
C expo1
C expo1C expo1
C expo1
 
Orchids1
Orchids1Orchids1
Orchids1
 
C expo2
C expo2C expo2
C expo2
 
R maker1 thai
R maker1 thaiR maker1 thai
R maker1 thai
 
Orchid4
Orchid4Orchid4
Orchid4
 
T soda2 thai
T soda2 thaiT soda2 thai
T soda2 thai
 
R maker4[1]
R maker4[1]R maker4[1]
R maker4[1]
 
C expo4
C expo4C expo4
C expo4
 
T soda3 (thai)
T soda3 (thai)T soda3 (thai)
T soda3 (thai)
 
R maker2 th
R maker2 thR maker2 th
R maker2 th
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
 
R cycle1 tguide thai
R cycle1 tguide thaiR cycle1 tguide thai
R cycle1 tguide thai
 
Space team3 thai
Space team3 thaiSpace team3 thai
Space team3 thai
 
Cm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thaiCm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thai
 

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 

Ice cafe2 thai