SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
~1~
~2~

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
วิสัยทัศน
พันธกิจและอํานาจหนาที่
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
ประเภทของการบังคับคดี
การยึดทรัพย
การอายัดทรัพย
การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน
การจําหนายทรัพย
การบังคับคดีลมละลาย
กระบวนการลมละลาย
การฟนฟูกจการ
ิ
เงื่อนไขการฟนฟูกจการ
ิ
การวางทรัพย
เหตุของการวางทรัพย
ทรัพยที่วางได
วิธีปฏิบติและหนาที่ของผูวางทรัพย
ั
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง
แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้
ิ
พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551
ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ

5
5
5
6
6
7
8
8
9
9
9
10
10
12
13
14
14
14
15
18
20
21
22
24
26
72
~3~

ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน
ขอสมมติฐานทางการบัญชี
งบการเงิน
สมการบัญชี
การวิเคราะหรายการคา
ผังบัญชี
สมุดรายวันชั้นตน
งบทดลอง
การปรับปรุงรายการบัญชี
กระดาษทําการ
สมุดรายวันเฉพาะ
การวิเคราะหงบการเงิน
พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502
ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง 2551
ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ
การรับและจายเงิน สนง.บังคับคดี
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ
แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน
แนวขอสอบ ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพัสดุ
แนวขอสอบ การบัญชี

85
89
91
94
103
107
114
119
135
140
160
164
194
207
228
299
302
314
335
344
353
~4~

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก
ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง
ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน
กิ ต ติ สีห นนท เป น รัฐ มนตรีวา การกระทรวงยุติ ธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง
ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่
จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป
ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ
วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท
หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ
งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216
ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง
บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา
พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม
พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ
คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น
งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง
และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน
ใหม ได แ ก สํ านั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ ข าดถึ ง ข อ พิ พ าท
เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง
และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ
คดีนับแตนั้นเปนตนมา

วิสัยทัศน
มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย
จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด
~5~

พันธกิจและอํานาจหนาที่
ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ
บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม
ศึก ษา วิเ คราะห วิจั ย เพื่อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี
ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน
มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ
เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ
พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล
รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ
ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน
พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน
สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ
ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ
คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม
เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง
ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ
บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การบังคับคดีแพง
ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ
พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน
บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง
ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม
คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี
ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
~6~

การยึดทรัพย
การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ
1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย
ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง
ี
จะยึดทรัพยอื่นไมได
2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล
3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน
4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด
สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก
1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000
บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรบการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ
ั
ศาล
2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครื่องใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย
กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช
เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล
ี
3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม
4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน

การอายัดทรัพย
ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ
1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน
2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ
เรียกวา การอายัดหามโอน

การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน
เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษา
่
ไดครอบครองทรัพย ดังกลาว
1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่
~7~

อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง
2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง

การจําหนายทรัพย
การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ
ั
ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304
1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ

ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287
2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ
แจงใหนายทะเบียนทราบ
ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี
ี
เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน
่
บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน

การบังคับคดีลมละลาย
การลมละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัว คือมีหนี้สินมากกวาทรั พยสิน จึงเกิด
กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให
ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่
ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย
เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี
คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา
พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด
หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้
ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง
เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483
แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ
1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง
พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง
~8~

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
โดยที่เปนการสมควรกําหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการจางงานภาครัฐในสวนของ
ลูกจางของสวนราชการใหมีความหลากหลาย เพื่อใหเกิดความเหมาะสมในการใชกําลังคน
ภาครัฐและใหการปฏิบัตราชการมีความคลองตัวเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดย
ิ
สอดคลองตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม คณะรัฐมนตรีจึงเห็นสมควรใหมี
การจางพนักงานราชการสําหรับการปฏิบัติงานของสวนราชการ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 11 (8) แหงพระราชบัญญัตระเบียบบริหาร
ิ
ราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวาง
ระเบียบไวดงตอไปนี้
ั
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงาน
ราชการ พ.ศ. 2547”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เปนตนไป
ั
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่
เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการ
ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายวาดวยการปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม เวนแตราชการสวนทองถิน
่
“หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือ
หัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอืนของรัฐที่
่
มีฐานะเปนสวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ
“พนักงานราชการ” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจาง
โดยไดรับคาตอบแทนจากงบประมาณของสวนราชการ เพือเปนพนักงานของรัฐในการ
่
ปฏิบัติงานใหกับสวนราชการนั้น
“สัญญาจาง” หมายความวา สัญญาจางพนักงานราชการตามระเบียบนี้
ขอ 4 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติ
คณะรัฐมนตรีที่กําหนดใหขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือละ
เวนการปฏิบัติหรือเปนขอหามในเรื่องใด ใหถือวาพนักงานราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือ
~9~

ละเวนการปฏิบัติหรือตองหามเชนเดียวกับขาราชการหรือลูกจางดวย ทั้งนี้ เวนแตเรื่องใดมี
กําหนดไวแลวโดยเฉพาะในระเบียบนี้หรือตามเงือนไขของสัญญาจาง หรือเปนกรณีที่สวน
่
ราชการประกาศกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนงในกลุมงานลักษณะใด
ไดรับยกเวนไมตองปฏิบติเชนเดียวกับขาราชการหรือลูกจางในบางเรื่องเพื่อใหเหมาะสมกับ
ั
สภาพการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ
ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการตาม
วรรคหนึ่ง เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได
ขอ 5 ใหเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้
หมวด 1
พนักงานราชการ
ขอ 6 พนักงานราชการมีสองประเภท ดังตอไปนี้
(1) พนักงานราชการทัวไป ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะ
่
เปนงานประจําทั่วไปของสวนราชการในดานงานบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป งาน
วิชาชีพเฉพาะหรืองานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(2) พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบติงานในลักษณะที่
ั
ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและ
ั
จําเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว
ขอ 7 ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดย
จําแนกเปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน ดังตอไปนี้
(1) กลุมงานบริการ
(2) กลุมงานเทคนิค
(3) กลุมงานบริหารทั่วไป
(4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
(5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
ในแตละกลุมงานตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจกําหนดใหมีกลุมงานยอย
เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะงานของพนักงานราชการได
การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการ
กําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของ

คณะกรรมการ
~ 10 ~

สวนราชการซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการอาจกําหนดชื่อตําแหนงในกลุม
งานตามความเหมาะสมกับหนาที่การปฏิบัติงานของพนักงานราชการทีจางได
่
ขอ 8 ผูซึ่งจะไดรับการจางเปนพนักงานราชการ ตองมีคณสมบัติและไมมี
ุ
ลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้
(1) มีสัญชาติไทย
(2) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดป
(3) ไมเปนบุคคลลมละลาย
(4) ไมเปนผูมีกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ไรความสามารถ

หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการพลเรือน
(5) ไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือ

เจาหนาที่ในพรรคการเมือง
(6) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะ

กระทําความผิดทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือ
ความผิดลหุโทษ
(7) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ

รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐ
(8) ไมเปนขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการ พนักงานหรือลูกจางของ
หนวยงานอืนของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานหรือลูกจางของราชการสวนทองถิ่น
่
(9) คุณสมบัติหรือลักษณะตองหามอื่นตามที่สวนราชการกําหนดไวใน

ประกาศการสรรหาหรือการเลือกสรรบุคคลเพือจางเปนพนักงานราชการ ทั้งนี้ ตองเปนไป
่
เพื่อความจําเปนหรือเหมาะสมกับภารกิจของสวนราชการนัน
้
ความใน (1) ไมใหใชบงคับกับพนักงานราชการชาวตางประเทศซึ่งสวน
ั
ราชการจําเปนตองจางตามขอผูกพันหรือตามความจําเปนของภารกิจของสวนราชการ
ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจประกาศกําหนดคุณสมบัติหรือลักษณะ
ตองหามเพิมขึ้น หรือกําหนดแนวทางปฏิบัติของสวนราชการในการจางพนักงานราชการ
่
เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการกําหนดใหมีพนักงานราชการตาม ระเบียบนี้
ขอ 9 ใหสวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่
ป โดยใหสอดคลองกับเปาหมายการปฏิบัตราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณ
ิ
~ 11 ~

เชิงกลยุทธ ทั้งนี้ ตามแนวทางการจัดกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการที่คณะกรรมการ
กําหนด
กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการของสวนราชการตามวรรคหนึ่ง จะตองเสนอ
ตอคณะกรรมการเพื่อใหความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการใหความเห็นชอบแลว ใหสํานัก
งบประมาณสนับสนุนงบประมาณเพือเปนคาใชจายดานบุคคลตามความจําเปนและ
่

สอดคลองกับกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการดังกลาว ทังนี้ การเบิกจายงบประมาณให
้
เปนไปตามประเภทรายจายที่ไดรับการจัดสรรตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงการคลัง
กําหนด
ในกรณีท่มีเหตุผลความจําเปน สวนราชการอาจขอใหเปลี่ยนกรอบอัตรากําลัง
ี
พนักงานราชการได โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และแจงใหสํานัก
งบประมาณทราบ
ขอ 10 การสรรหาและการเลือกสรรบุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการให
เปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด
ในกรณีที่สวนราชการใดจะขอยกเวนหรือเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสรรหาหรือการ
เลือกสรรตามที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหสามารถกระทําไดโดยทําความตกลง
กับคณะกรรมการ
ขอ 11 การจางพนักงานราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ป
หรือตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไว โดยอาจมีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้
ตามความเหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ
แบบสัญญาจางใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด
การทําสัญญาตามวรรคหนึ่ง ใหหัวหนาสวนราชการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมาย

จากหัวหนาสวนราชการเปนผูลงนามในสัญญาจางกับผูไดรับการสรรหาหรือการเลือกสรร
เปนพนักงานราชการ
ขอ 12 การแตงกายและเครื่องแบบปกติ ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด
เครื่องแบบพิธีการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด

ขอ 13 วันเวลาการทํางาน หรือวิธีการทํางานในกรณีที่ไมตองอยูปฏิบัติงาน
ประจําสวนราชการ ใหเปนไปตามทีสวนราชการกําหนด ซึ่งอาจแตกตางกันไดตามหนาที่
่
ของพนักงานราชการในแตละตําแหนง โดยคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน
~ 12 ~

หมวด 2
คาตอบแทนและสิทธิประโยชน
ขอ 14 อัตราคาตอบแทนของพนักงานราชการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกําหนด
ขอ 15 สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนง
ในกลุมงานใดไดรับสิทธิประโยชนอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(1) สิทธิเกี่ยวกับการลา
(2) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนระหวางลา
(3) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลางาน
(4) คาใชจายในการเดินทาง
(5) คาเบี้ยประชุม
(6) สิทธิในการขอรับเครืองราชอิสริยาภรณ
่
(7) การไดรับรถประจําตําแหนง
(8) สิทธิอื่นๆ ที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
หลักเกณฑการไดรับสิทธิตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด

ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับหลักเกณฑที่กําหนดเกี่ยวกับการไดรับสิทธินั้นตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจเสนอตอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อใหแกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี เพื่อใหไดรับ
สิทธิประโยชนตามวรรคหนึ่ง
ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจกําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการ
กําหนดสิทธิประโยชนใหแกพนักงานราชการเพื่อใหสวนราชการปฏิบัติกได
็
ขอ 16 ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนอัตราคาตอบแทนและสิทธิ
ประโยชนของพนักงานราชการตามขอ 14 และขอ 15 เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมเปนธรรม
และมีมาตรฐาน โดยคํานึงถึงคาครองชีพที่เปลี่ยนแปลง คาตอบแทนของเอกชน อัตรา
เงินเดือนของขาราชการพลเรือน และฐานะการคลังของประเทศ รวมทั้งปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ
ิ
ขอ 17 ใหพนักงานราชการไดรับสิทธิประโยชนและมีหนาที่ตองปฏิบัตตาม
กฎหมายวาดวยการประกันสังคม
ขอ 18 สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนง
ในกลุมงานใดไดรับคาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผิดไดตามหลักเกณฑที่
คณะกรรมการกําหนด
~ 13 ~

ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบืองตน
้
ความหมายของการบัญชี
การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ
ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น”
นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ
เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท
รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่
เกิดขึ้น
“AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน
สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ
บั ญ ชี ว า “การบั ญ ชี เ ป น ศิ ล ปะของการเก็ บ รวบรวมจดบั น ทึ ก รายการ หรื อ เหตุ ก ารณ ที่
เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล
พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว”
จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย
กระบวนการดังตอไปนี้
1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน
(Recording Daily
Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ
คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว
เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง
การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง
รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน
ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน
ขั้นตน (Journatasin thongsean)
2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data)
เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ
ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ
ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS)
ตามหมวดหมูนั้น ๆ
~ 14 ~

สมการบัญชี
ความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เขียนเปน
สมการบัญชีไดดังนี้
สินทรัพย

= หนี้สิน + สวนของเจาของ

สมการบัญชี ใชเปนหลักในการวิเคราะหรายการบัญชี และการบันทึกขอมูล
ทางการบัญชี ซึ่งการดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย
หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรก็ตาม สินทรัพยทั้งสินตองเทากับ หนี้สินและสวน
้
ของเจาของรวมกันเสมอ
งบกําไรขาดทุน (Income Statement)
งบกําไรขาดทุนเปนงบ หรือรายงานการเงินที่แสดงใหเห็นถึงผลการ
ดําเนินงานของกิจการในชวงเวลาหนึง คือ 1 ป หรืออาจจะสั้นกวา 1 ปก็ได เชน งวด
่
1 เดือน หรือรายไตรมาส อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เรียกวางบระหวางกาล ทั้งนี้
เพื่อใหเปนไปตามความตองการฝายบริหารที่จะใชภายในกิจการ
การคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการกระทําไดโดย การเปรียบเทียบรายได
และคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจาย เรียกวา กําไร
สุทธิ หรือรายจายมากกวารายได เรียกวา ขาดทุนสุทธิ
การวิเคราะหรายการคา
การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ
เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน
สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด
ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction)
เดบิต และ เครดิต หมายถึง
ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่
เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน
~ 15 ~

เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบนทึกสินทรัพยที่
ั
เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา
รายการเดบิต
เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่
ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา
รายการเครดิต
ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน
เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ
ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต
(Debit Balance)
ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต
(Credit Balance)
สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน

จากสมการบัญชี

กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ
หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให
่
เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามทีอยู
ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สน หรือทุน
ิ
เดบิต สินทรัพย เครดิต
เครดิต
เพิ่ม +
ลด –

เดบิต หนี้สน เครดิต
ิ

เดบิต ทุน

ลด

ลด

–

เพิ่ม

+

–

สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ :
สินทรัพย
= หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ
สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได
เพิ่ม
ลด
สินทรัพย ดานที่อยู
เดบิต
+ เดบิต
- เครดิต
หนี้สิน
“
เครดิต
+ เครดิต - เดบิต

เพิ่ม +
~ 16 ~

ทุน
รายได
คาใชจาย

“
“
“

เครดิต
เครดิต
เดบิต

+ เครดิต
+ เครดิต
+ เดบิต

- เดบิต
- เดบิต
- เครดิต

การวิเคราะหรายการคา
เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ
ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให
สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง
ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1
มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ :
1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
2. ซื้อของใชสนเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท
ิ้
3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน
15 ก.พ. 25xx
4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท
5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้

เงินเดือน
1,500 บาท
คาเชา
2,000 บาท
คาน้ํา–คาไฟฟา 280 บาท
6. กิจการตกลงชําระหนี้ใหเจาหนี้บางสวน 3,000 บาท
7. ณ วันสิ้นเดือนตรวจนับของใชสิ้นเปลือง ปรากฏวามีของเหลืออยูคิดเปน
มูลคา 1,400 บาท แสดงวาในระหวางเดือนมีการนําของใชสิ้นเปลืองไปใชในการซักรีด
1,600 บาท (ซื้อมา 3,000 บาท หักจํานวนที่เหลือ 1,400 บาท)
8. นาย ก. ถอนเงินไปใชสวนตัว 5,000 บาท
9. นาย ก. จายคาเชาอาคารลวงหนา 3 เดือน เปนเงิน 6,000 บาท การ
จายคาเชาอาคารทําใหกิจการมีสิทธิในการใชอาคารตลอดระยะเวลา 3 เดือน สิทธิในการใช
อาคารนี้ถอเปนสินทรัพยของกิจการ
ื
~ 17 ~

แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน
ราชการ พ.ศ.2547
4."สวนราชการ" ในระเบียบฯ พ.ศ. 2547 หมายความถึงขอใด
ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ
อยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการตาม
กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม เวนแตราชการสวนทองถิ่น (ระเบียบฯ ขอ 3)
5."หัวหนาสวนราชการ" ในระเบียบฯ พ.ศ. 2547 หมายความถึงใคร
ก. ปลัดกระทรวง
ข. ปลัดทบวง
ค. อธิบดี
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนา
สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอื่นของรัฐที่มีฐานะ
เปนสวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ (ระเบียบฯ ขอ 3)

6.ผูใดรักษาการตามระเบียบฯ พ.ศ. 2547 คือผูใด
ก. ปลัดกระทรวง
ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ค. ปลัดทบวง
ง. อธิบดี
ตอบ ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้ (ระเบียบฯ ขอ 4)
7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท

ข. 2 ประเภท
~ 18 ~

ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท
ตอบ ข. 2 ประเภท
พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6)
8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะทีตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน
่
พิเศษหมายถึงผูใด
ก. พนักงานราชการ
ข. พนักงานราชการทั่วไป
ค. พนักงานราชการพิเศษ
ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ
ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ
พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัตงานในลักษณะที่ตองใช
ิ
ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน
่
ั
เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ
ุ
ขอ 6 (2))
9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด
ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน
ค. ประเภทและผลผลิตของงาน
ง. ประเภทและคุณภาพของงาน
ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม
งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7)
(1) กลุมงานบริการ
(2) กลุมงานเทคนิค
(3) กลุมงานบริหารทั่วไป
(4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
(5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม
ก. 4 กลุม

ข. 5 กลุม
~ 19 ~

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
33.ตําแหนงประเภทวิชาการของขาราชการพลเรือนสามัญนัน แบงเปนระดับใดบาง
้
ก. ระดับตน, ระดับสูง
ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ ,
ระดับทรงคุณวุฒิ
ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ
่
ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ
ตอบ ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ,
ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ
ตําแหนงประเภทวิชาการ มีระดับดังตอไปนี้
(ก) ระดับปฏิบัติการ
(ข) ระดับชํานาญการ
(ค) ระดับชํานาญการพิเศษ
(ง) ระดับเชียวชาญ
่
(จ) ระดับทรงคุณวุฒิ
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
34.ตําแหนงประเภททั่วไปของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น แบงเปนระดับใดบาง
ก. ระดับตน, ระดับสูง
ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ ,
ระดับทรงคุณวุฒิ
ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ
่
ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ
ตอบ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ
ตําแหนงประเภททั่วไป มีระดับดังตอไปนี้
(ก) ระดับปฏิบัติงาน
(ข) ระดับชํานาญงาน
(ค) ระดับอาวุโส
(ง) ระดับทักษะพิเศษ
~ 20 ~

(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
35.ในการกําหนดตําแหนงและระดับของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น เปนไปตามหลักเกณฑใด
ก. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในราชกิจจานุเบกษา
ข. ตามหลักเกณฑของกระทรวง ทบวง กรม
ค. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎ ก.พ.
ง. ตามหลักเกณฑที่กําหนดใน พรบ.บริหารราชการแผนดิน
ตอบ ค. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎ ก.พ.
การจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนง ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดใน
กฎ ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
36.ในการกําหนดตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใดของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น
จะตองคํานึงถึงสิ่งใดเปนหลัก
ก. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ข. ลักษณะงาน ความประหยัด
ค. ลักษณะงาน ประสิทธิภาพ ไมซ้ําซอน
ง. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัด
ตอบ ง. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัด
ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญจะมีในสวนราชการใด จํานวนเทาใด และ เปน
ตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใหเปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกําหนด โดยตอง
คํานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัดเปนหลัก ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และตองเปนไปตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงตาม
มาตรา 48 (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 47)
37.ในการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น ในการจําแนก
ตําแหนงเปนประเภทและสายงานนั้น จะตองคํานึงถึงสิ่งใดเปนหลัก
ก. ประสิทธิผลและคุณภาพของงาน
ข. คุณภาพและคุณสมบัติของงาน
ค. หนาที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน
ง. หนาที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง
~ 21 ~

แนวขอสอบ ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา
เงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551
3. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไป
ราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจายหรือเงินนอก
งบประมาณ หมายความถึง
ก. เงินทดรองจาย
ข. เงินสํารอง
ค. เงินยืม
ง. เงินสํารองจาย
4. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินของทางราชการ
หมายความถึง
ก. ตูนิรภัย
ข. หีบเหล็ก
ค. ตูเก็บของ
ง. ตูเหล็ก
5. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจาย เงิน
รายไดแผนดิน เงินเบิกเกินสงคืน และเงินเหลือจายปเกาสงคืน หมายความถึงเงินในขอใด
ก. เงินรายไดแผนดิน
ข. เงินเบิกเกินสงคืน
ค. เงินเหลือจายปเกาสงคืน
ง. เงินนอกงบประมาณ
6. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐซึ่งปฏิบัติงานโดยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง
หรือผานชองทางอื่นที่กระทรวงการคลังกําหนดกอนนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร คือขอ
ใด
ก. GFMIT
ข. GFMIS
ค. GFMMT
ง. GFMNT
7. ขอใดไมใชขอมูลหลักของผูขาย
ก. เลขที่สัญญา
ค. เลขประจําตัวผูเสียภาษี

ข. เลขประจําตัวประชาชน
ง. ไมมีขอใดไมใชขอมูลหลัก

8. ผูรักษาการในระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง
พ.ศ. 2551 คือผูใด
~ 22 ~

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

En vedette

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ PomPam Comsci
 
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย techno UCH
 
คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1chalermchaisub
 

En vedette (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
 
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
 
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
 
คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1
 
พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อแนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 

Plus de บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (14)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือเตรียมสอบนักวิชาการเงินและบัญชี กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรม

  • 1. ~1~
  • 2. ~2~ ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี วิสัยทัศน พันธกิจและอํานาจหนาที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประเภทของการบังคับคดี การยึดทรัพย การอายัดทรัพย การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน การจําหนายทรัพย การบังคับคดีลมละลาย กระบวนการลมละลาย การฟนฟูกจการ ิ เงื่อนไขการฟนฟูกจการ ิ การวางทรัพย เหตุของการวางทรัพย ทรัพยที่วางได วิธีปฏิบติและหนาที่ของผูวางทรัพย ั แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้ ิ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551 ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ 5 5 5 6 6 7 8 8 9 9 9 10 10 12 13 14 14 14 15 18 20 21 22 24 26 72
  • 3. ~3~ ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน ขอสมมติฐานทางการบัญชี งบการเงิน สมการบัญชี การวิเคราะหรายการคา ผังบัญชี สมุดรายวันชั้นตน งบทดลอง การปรับปรุงรายการบัญชี กระดาษทําการ สมุดรายวันเฉพาะ การวิเคราะหงบการเงิน พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง 2551 ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ การรับและจายเงิน สนง.บังคับคดี แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน แนวขอสอบ ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพัสดุ แนวขอสอบ การบัญชี 85 89 91 94 103 107 114 119 135 140 160 164 194 207 228 299 302 314 335 344 353
  • 4. ~4~ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน กิ ต ติ สีห นนท เป น รัฐ มนตรีวา การกระทรวงยุติ ธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่ จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน ใหม ได แ ก สํ านั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ ข าดถึ ง ข อ พิ พ าท เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ คดีนับแตนั้นเปนตนมา วิสัยทัศน มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด
  • 5. ~5~ พันธกิจและอํานาจหนาที่ ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม ศึก ษา วิเ คราะห วิจั ย เพื่อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การบังคับคดีแพง ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
  • 6. ~6~ การยึดทรัพย การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ 1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง ี จะยึดทรัพยอื่นไมได 2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล 3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน 4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก 1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรบการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ ั ศาล 2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครื่องใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล ี 3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม 4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน การอายัดทรัพย ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ 1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน 2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ เรียกวา การอายัดหามโอน การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษา ่ ไดครอบครองทรัพย ดังกลาว 1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่
  • 7. ~7~ อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง 2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง การจําหนายทรัพย การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ ั ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304 1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ  ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287 2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ แจงใหนายทะเบียนทราบ ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี ี เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน ่ บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน การบังคับคดีลมละลาย การลมละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัว คือมีหนี้สินมากกวาทรั พยสิน จึงเกิด กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่ ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้ ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483 แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ 1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง
  • 8. ~8~ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 โดยที่เปนการสมควรกําหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการจางงานภาครัฐในสวนของ ลูกจางของสวนราชการใหมีความหลากหลาย เพื่อใหเกิดความเหมาะสมในการใชกําลังคน ภาครัฐและใหการปฏิบัตราชการมีความคลองตัวเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดย ิ สอดคลองตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม คณะรัฐมนตรีจึงเห็นสมควรใหมี การจางพนักงานราชการสําหรับการปฏิบัติงานของสวนราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 11 (8) แหงพระราชบัญญัตระเบียบบริหาร ิ ราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวาง ระเบียบไวดงตอไปนี้ ั ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงาน ราชการ พ.ศ. 2547” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เปนตนไป ั ขอ 3 ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่ เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการ ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายวาดวยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม เวนแตราชการสวนทองถิน ่ “หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือ หัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอืนของรัฐที่ ่ มีฐานะเปนสวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ “พนักงานราชการ” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจาง โดยไดรับคาตอบแทนจากงบประมาณของสวนราชการ เพือเปนพนักงานของรัฐในการ ่ ปฏิบัติงานใหกับสวนราชการนั้น “สัญญาจาง” หมายความวา สัญญาจางพนักงานราชการตามระเบียบนี้ ขอ 4 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติ คณะรัฐมนตรีที่กําหนดใหขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือละ เวนการปฏิบัติหรือเปนขอหามในเรื่องใด ใหถือวาพนักงานราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือ
  • 9. ~9~ ละเวนการปฏิบัติหรือตองหามเชนเดียวกับขาราชการหรือลูกจางดวย ทั้งนี้ เวนแตเรื่องใดมี กําหนดไวแลวโดยเฉพาะในระเบียบนี้หรือตามเงือนไขของสัญญาจาง หรือเปนกรณีที่สวน ่ ราชการประกาศกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนงในกลุมงานลักษณะใด ไดรับยกเวนไมตองปฏิบติเชนเดียวกับขาราชการหรือลูกจางในบางเรื่องเพื่อใหเหมาะสมกับ ั สภาพการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการตาม วรรคหนึ่ง เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได ขอ 5 ใหเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด 1 พนักงานราชการ ขอ 6 พนักงานราชการมีสองประเภท ดังตอไปนี้ (1) พนักงานราชการทัวไป ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะ ่ เปนงานประจําทั่วไปของสวนราชการในดานงานบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป งาน วิชาชีพเฉพาะหรืองานเชี่ยวชาญเฉพาะ (2) พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบติงานในลักษณะที่ ั ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและ ั จําเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว ขอ 7 ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดย จําแนกเปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน ดังตอไปนี้ (1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารทั่วไป (4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ในแตละกลุมงานตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจกําหนดใหมีกลุมงานยอย เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะงานของพนักงานราชการได การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการ กําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของ  คณะกรรมการ
  • 10. ~ 10 ~ สวนราชการซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการอาจกําหนดชื่อตําแหนงในกลุม งานตามความเหมาะสมกับหนาที่การปฏิบัติงานของพนักงานราชการทีจางได ่ ขอ 8 ผูซึ่งจะไดรับการจางเปนพนักงานราชการ ตองมีคณสมบัติและไมมี ุ ลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดป (3) ไมเปนบุคคลลมละลาย (4) ไมเปนผูมีกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ไรความสามารถ  หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ ขาราชการพลเรือน (5) ไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือ  เจาหนาที่ในพรรคการเมือง (6) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะ  กระทําความผิดทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ (7) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ  รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐ (8) ไมเปนขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการ พนักงานหรือลูกจางของ หนวยงานอืนของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานหรือลูกจางของราชการสวนทองถิ่น ่ (9) คุณสมบัติหรือลักษณะตองหามอื่นตามที่สวนราชการกําหนดไวใน  ประกาศการสรรหาหรือการเลือกสรรบุคคลเพือจางเปนพนักงานราชการ ทั้งนี้ ตองเปนไป ่ เพื่อความจําเปนหรือเหมาะสมกับภารกิจของสวนราชการนัน ้ ความใน (1) ไมใหใชบงคับกับพนักงานราชการชาวตางประเทศซึ่งสวน ั ราชการจําเปนตองจางตามขอผูกพันหรือตามความจําเปนของภารกิจของสวนราชการ ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจประกาศกําหนดคุณสมบัติหรือลักษณะ ตองหามเพิมขึ้น หรือกําหนดแนวทางปฏิบัติของสวนราชการในการจางพนักงานราชการ ่ เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการกําหนดใหมีพนักงานราชการตาม ระเบียบนี้ ขอ 9 ใหสวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่ ป โดยใหสอดคลองกับเปาหมายการปฏิบัตราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณ ิ
  • 11. ~ 11 ~ เชิงกลยุทธ ทั้งนี้ ตามแนวทางการจัดกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการที่คณะกรรมการ กําหนด กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการของสวนราชการตามวรรคหนึ่ง จะตองเสนอ ตอคณะกรรมการเพื่อใหความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการใหความเห็นชอบแลว ใหสํานัก งบประมาณสนับสนุนงบประมาณเพือเปนคาใชจายดานบุคคลตามความจําเปนและ ่  สอดคลองกับกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการดังกลาว ทังนี้ การเบิกจายงบประมาณให ้ เปนไปตามประเภทรายจายที่ไดรับการจัดสรรตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงการคลัง กําหนด ในกรณีท่มีเหตุผลความจําเปน สวนราชการอาจขอใหเปลี่ยนกรอบอัตรากําลัง ี พนักงานราชการได โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และแจงใหสํานัก งบประมาณทราบ ขอ 10 การสรรหาและการเลือกสรรบุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการให เปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ในกรณีที่สวนราชการใดจะขอยกเวนหรือเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสรรหาหรือการ เลือกสรรตามที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหสามารถกระทําไดโดยทําความตกลง กับคณะกรรมการ ขอ 11 การจางพนักงานราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ป หรือตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไว โดยอาจมีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ แบบสัญญาจางใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด การทําสัญญาตามวรรคหนึ่ง ใหหัวหนาสวนราชการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมาย  จากหัวหนาสวนราชการเปนผูลงนามในสัญญาจางกับผูไดรับการสรรหาหรือการเลือกสรร เปนพนักงานราชการ ขอ 12 การแตงกายและเครื่องแบบปกติ ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด เครื่องแบบพิธีการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด  ขอ 13 วันเวลาการทํางาน หรือวิธีการทํางานในกรณีที่ไมตองอยูปฏิบัติงาน ประจําสวนราชการ ใหเปนไปตามทีสวนราชการกําหนด ซึ่งอาจแตกตางกันไดตามหนาที่ ่ ของพนักงานราชการในแตละตําแหนง โดยคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน
  • 12. ~ 12 ~ หมวด 2 คาตอบแทนและสิทธิประโยชน ขอ 14 อัตราคาตอบแทนของพนักงานราชการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ ประกาศกําหนด ขอ 15 สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนง ในกลุมงานใดไดรับสิทธิประโยชนอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (1) สิทธิเกี่ยวกับการลา (2) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนระหวางลา (3) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลางาน (4) คาใชจายในการเดินทาง (5) คาเบี้ยประชุม (6) สิทธิในการขอรับเครืองราชอิสริยาภรณ ่ (7) การไดรับรถประจําตําแหนง (8) สิทธิอื่นๆ ที่คณะกรรมการประกาศกําหนด หลักเกณฑการไดรับสิทธิตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด  ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับหลักเกณฑที่กําหนดเกี่ยวกับการไดรับสิทธินั้นตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจเสนอตอ คณะรัฐมนตรีเพื่อใหแกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี เพื่อใหไดรับ สิทธิประโยชนตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจกําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการ กําหนดสิทธิประโยชนใหแกพนักงานราชการเพื่อใหสวนราชการปฏิบัติกได ็ ขอ 16 ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนอัตราคาตอบแทนและสิทธิ ประโยชนของพนักงานราชการตามขอ 14 และขอ 15 เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมเปนธรรม และมีมาตรฐาน โดยคํานึงถึงคาครองชีพที่เปลี่ยนแปลง คาตอบแทนของเอกชน อัตรา เงินเดือนของขาราชการพลเรือน และฐานะการคลังของประเทศ รวมทั้งปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ ิ ขอ 17 ใหพนักงานราชการไดรับสิทธิประโยชนและมีหนาที่ตองปฏิบัตตาม กฎหมายวาดวยการประกันสังคม ขอ 18 สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนง ในกลุมงานใดไดรับคาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผิดไดตามหลักเกณฑที่ คณะกรรมการกําหนด
  • 13. ~ 13 ~ ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบืองตน ้ ความหมายของการบัญชี การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น” นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่ เกิดขึ้น “AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ บั ญ ชี ว า “การบั ญ ชี เ ป น ศิ ล ปะของการเก็ บ รวบรวมจดบั น ทึ ก รายการ หรื อ เหตุ ก ารณ ที่ เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว” จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย กระบวนการดังตอไปนี้ 1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน (Recording Daily Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน ขั้นตน (Journatasin thongsean) 2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data) เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS) ตามหมวดหมูนั้น ๆ
  • 14. ~ 14 ~ สมการบัญชี ความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เขียนเปน สมการบัญชีไดดังนี้ สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ สมการบัญชี ใชเปนหลักในการวิเคราะหรายการบัญชี และการบันทึกขอมูล ทางการบัญชี ซึ่งการดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรก็ตาม สินทรัพยทั้งสินตองเทากับ หนี้สินและสวน ้ ของเจาของรวมกันเสมอ งบกําไรขาดทุน (Income Statement) งบกําไรขาดทุนเปนงบ หรือรายงานการเงินที่แสดงใหเห็นถึงผลการ ดําเนินงานของกิจการในชวงเวลาหนึง คือ 1 ป หรืออาจจะสั้นกวา 1 ปก็ได เชน งวด ่ 1 เดือน หรือรายไตรมาส อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เรียกวางบระหวางกาล ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามความตองการฝายบริหารที่จะใชภายในกิจการ การคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการกระทําไดโดย การเปรียบเทียบรายได และคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจาย เรียกวา กําไร สุทธิ หรือรายจายมากกวารายได เรียกวา ขาดทุนสุทธิ การวิเคราะหรายการคา การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction) เดบิต และ เครดิต หมายถึง ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่ เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน
  • 15. ~ 15 ~ เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบนทึกสินทรัพยที่ ั เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา รายการเดบิต เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่ ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา รายการเครดิต ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต (Debit Balance) ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต (Credit Balance) สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน จากสมการบัญชี กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให ่ เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามทีอยู ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สน หรือทุน ิ เดบิต สินทรัพย เครดิต เครดิต เพิ่ม + ลด – เดบิต หนี้สน เครดิต ิ เดบิต ทุน ลด ลด – เพิ่ม + – สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ : สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได เพิ่ม ลด สินทรัพย ดานที่อยู เดบิต + เดบิต - เครดิต หนี้สิน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต เพิ่ม +
  • 16. ~ 16 ~ ทุน รายได คาใชจาย “ “ “ เครดิต เครดิต เดบิต + เครดิต + เครดิต + เดบิต - เดบิต - เดบิต - เครดิต การวิเคราะหรายการคา เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1 มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ : 1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท 2. ซื้อของใชสนเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท ิ้ 3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน 15 ก.พ. 25xx 4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท 5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้  เงินเดือน 1,500 บาท คาเชา 2,000 บาท คาน้ํา–คาไฟฟา 280 บาท 6. กิจการตกลงชําระหนี้ใหเจาหนี้บางสวน 3,000 บาท 7. ณ วันสิ้นเดือนตรวจนับของใชสิ้นเปลือง ปรากฏวามีของเหลืออยูคิดเปน มูลคา 1,400 บาท แสดงวาในระหวางเดือนมีการนําของใชสิ้นเปลืองไปใชในการซักรีด 1,600 บาท (ซื้อมา 3,000 บาท หักจํานวนที่เหลือ 1,400 บาท) 8. นาย ก. ถอนเงินไปใชสวนตัว 5,000 บาท 9. นาย ก. จายคาเชาอาคารลวงหนา 3 เดือน เปนเงิน 6,000 บาท การ จายคาเชาอาคารทําใหกิจการมีสิทธิในการใชอาคารตลอดระยะเวลา 3 เดือน สิทธิในการใช อาคารนี้ถอเปนสินทรัพยของกิจการ ื
  • 17. ~ 17 ~ แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน ราชการ พ.ศ.2547 4."สวนราชการ" ในระเบียบฯ พ.ศ. 2547 หมายความถึงขอใด ก. กระทรวง ข. ทบวง ค. กรม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการตาม กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เวนแตราชการสวนทองถิ่น (ระเบียบฯ ขอ 3) 5."หัวหนาสวนราชการ" ในระเบียบฯ พ.ศ. 2547 หมายความถึงใคร ก. ปลัดกระทรวง ข. ปลัดทบวง ค. อธิบดี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนา สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอื่นของรัฐที่มีฐานะ เปนสวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ (ระเบียบฯ ขอ 3)  6.ผูใดรักษาการตามระเบียบฯ พ.ศ. 2547 คือผูใด ก. ปลัดกระทรวง ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ค. ปลัดทบวง ง. อธิบดี ตอบ ข. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้ (ระเบียบฯ ขอ 4) 7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
  • 18. ~ 18 ~ ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตอบ ข. 2 ประเภท พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6) 8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะทีตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน ่ พิเศษหมายถึงผูใด ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัตงานในลักษณะที่ตองใช ิ ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน ่ ั เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ุ ขอ 6 (2)) 9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7) (1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารทั่วไป (4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม ก. 4 กลุม ข. 5 กลุม
  • 19. ~ 19 ~ แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 33.ตําแหนงประเภทวิชาการของขาราชการพลเรือนสามัญนัน แบงเปนระดับใดบาง ้ ก. ระดับตน, ระดับสูง ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ ่ ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ ตอบ ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ ตําแหนงประเภทวิชาการ มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับปฏิบัติการ (ข) ระดับชํานาญการ (ค) ระดับชํานาญการพิเศษ (ง) ระดับเชียวชาญ ่ (จ) ระดับทรงคุณวุฒิ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46) 34.ตําแหนงประเภททั่วไปของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น แบงเปนระดับใดบาง ก. ระดับตน, ระดับสูง ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ ่ ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ ตอบ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ ตําแหนงประเภททั่วไป มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับปฏิบัติงาน (ข) ระดับชํานาญงาน (ค) ระดับอาวุโส (ง) ระดับทักษะพิเศษ
  • 20. ~ 20 ~ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46) 35.ในการกําหนดตําแหนงและระดับของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น เปนไปตามหลักเกณฑใด ก. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในราชกิจจานุเบกษา ข. ตามหลักเกณฑของกระทรวง ทบวง กรม ค. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎ ก.พ. ง. ตามหลักเกณฑที่กําหนดใน พรบ.บริหารราชการแผนดิน ตอบ ค. ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎ ก.พ. การจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนง ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดใน กฎ ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46) 36.ในการกําหนดตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใดของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น จะตองคํานึงถึงสิ่งใดเปนหลัก ก. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ข. ลักษณะงาน ความประหยัด ค. ลักษณะงาน ประสิทธิภาพ ไมซ้ําซอน ง. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัด ตอบ ง. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัด ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญจะมีในสวนราชการใด จํานวนเทาใด และ เปน ตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใหเปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกําหนด โดยตอง คํานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซอนและประหยัดเปนหลัก ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และตองเปนไปตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงตาม มาตรา 48 (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 47) 37.ในการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น ในการจําแนก ตําแหนงเปนประเภทและสายงานนั้น จะตองคํานึงถึงสิ่งใดเปนหลัก ก. ประสิทธิผลและคุณภาพของงาน ข. คุณภาพและคุณสมบัติของงาน ค. หนาที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ง. หนาที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง
  • 21. ~ 21 ~ แนวขอสอบ ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา เงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 3. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไป ราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจายหรือเงินนอก งบประมาณ หมายความถึง ก. เงินทดรองจาย ข. เงินสํารอง ค. เงินยืม ง. เงินสํารองจาย 4. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินของทางราชการ หมายความถึง ก. ตูนิรภัย ข. หีบเหล็ก ค. ตูเก็บของ ง. ตูเหล็ก 5. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจาย เงิน รายไดแผนดิน เงินเบิกเกินสงคืน และเงินเหลือจายปเกาสงคืน หมายความถึงเงินในขอใด ก. เงินรายไดแผนดิน ข. เงินเบิกเกินสงคืน ค. เงินเหลือจายปเกาสงคืน ง. เงินนอกงบประมาณ 6. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐซึ่งปฏิบัติงานโดยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง หรือผานชองทางอื่นที่กระทรวงการคลังกําหนดกอนนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร คือขอ ใด ก. GFMIT ข. GFMIS ค. GFMMT ง. GFMNT 7. ขอใดไมใชขอมูลหลักของผูขาย ก. เลขที่สัญญา ค. เลขประจําตัวผูเสียภาษี ข. เลขประจําตัวประชาชน ง. ไมมีขอใดไมใชขอมูลหลัก 8. ผูรักษาการในระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 คือผูใด
  • 22. ~ 22 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740