SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
1
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5
สัญลักษณ 6
การบริหารจัดการภาพลักษณ 7
ตราสัญลักษณประจําองคกร 8
สีประจําองคกร 9
ประวัติ/ภาระหนาที่ 9
ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12
การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13
ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13
จริยธรรม 21
ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 23
แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24
ธรรมภิบาล (Good Govermance) 24
สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง
กฎหมายการประปานครหลวง แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 34
พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 34
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 48
สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนงบริหารงาน
การบริหารงานทั่วไป 58
หลักการบริหารจัดการ 62
ระบบการบริหาร 63
พฤติกรรมองคการ 68
วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 74
การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 77
การบริหารสํานักงานสมัยใหม 81
การบริหารงานจัดการทั่วไป 90
3
การตัดสินใจทางการจัดการ 92
การจัดการเชิงกลยุทธ 102
เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 106
โครงการและการออกแบบองคการ 110
การจัดการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 126
การพัฒนาองคกร 128
กระบวนการควบคุม 132
การบริหารงานผลิต 135
จรรยาบรรณในวิชาชีพ 137
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ
สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 139
สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 148
การรางหนังสือราชการ 155
สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 162
แนวขอสอบระเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 172
แนวขอสอบ หลักการเขียนหนังสือราชการ 179
แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 184
แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 200
แนวขอสอบขาราชการพลเรือน 207
แนวขอสอบ การบริหารงานทั่วไป 227
4
การประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม
วิสัยทัศน
"เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับ
แนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา"
พันธกิจ
"ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ
และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ"
คานิยม
"มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย
ความรับผิดชอบ"
การจัดการองคกร
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced
Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวน
เสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่
มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ
คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโต
อยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับ
การยอมรับในระดับสากล
5
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา
การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth
Strategic)
ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การ
มีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency)
ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti –
Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหาร
จัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน
สัญลักษณ
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน
พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา
อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทําการ
อันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งในโบราณ
6
แลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรคอันตรายของ
มนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชชทั้งหลาย เพราะฉะนั้น
สิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ําเปนเครื่องชําระลาง ใน
ที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบสิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบ
ใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จพระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่
ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดรายตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรม
ศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองคบันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ํา
บําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมาจากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้
ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และ
สมความประสงคของเราแลสมความประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้
สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจากประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะ
เบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆ
ไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจใหพรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุข
สวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัวคนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป
ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา
(หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชในปจจุบัน)
การบริหารจัดการภาพลักษณ
วิสัยทัศนของแบรนด
การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ขึ้น
การวางตําแหนงแบรนด
เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ
ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี
ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม
รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิตสินคาที่มี
คุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่ลูกคา
ไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยใหประชาชนมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
บุคลิกภาพของแบรนด
7
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
1. ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ประกอบดวยยุทธศาสตรกี่ดาน
ก. 3 ดาน ข. 4 ดาน
ค. 5 ดาน ง. 6 ดาน
ตอบ ง. 6 ดาน
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic)
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
2. การยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกรเปนยุทธศาสตรดานใดของการประปานคร
หลวง
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic)
ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
3. ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ
ยอมรับในระดับสากล เปนยุทธศาสตรดานใด
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
8
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยาง
ทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการยอมรับในระดับสากล
4. ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา
การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล เปนยุทธศาสตรดานใด
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ํา
ดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการ
ที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
5. ขอใดไมใชสวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวง
ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
ตอบ ง. ทองทะเล
ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน
ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา
6. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงความเอื้อ
อารีของ กปน. และใหความหมายถึงธุรกิจประปา
ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
9
การบริหารงานทั่วไป
ไดมีผูใหความหมายของการบริหารไวตาง ๆ ดังนี้
Samual C. Certo กลาววา "การบริหาร คือ กระบวนการของการ
ออกแบบและบํารุงรักษาไวซึ่งสภาพแวดลอม เพื่อใหแตละบุคคลทํางานรวมกันเปนกลุม
และบรรลุเปาหมายที่ไดวางไวอยางมีประสิทธิภาพ"
Stephen P.Robbins กลาววา"การบริหารคือกระบวนการในการประสานงาน
และรวบรวมกิจกรรมในการทํางาน เพื่อใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผล
โดยอาศัยคน"
Harold D.Koontz กลาวสรุปสั้น ๆ วา "การบริหาร คือ กระบวนการเพื่อ
นําไปสูเปาหมายที่วางไว โดยอาศัยคนและทรัพยากรตาง ๆ
การบริหารงานเปนเรื่องของการดําเนินงานที่ใชทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ
การบริหารในแนวทางการปฏิบัติถือวาเปน "ศิลป" (Art) สวนองคความรูที่สําคัญเพื่อนํามา
ปฏิบัติคือ "ศาสตร" (Science) ซึ่งไดมีการพัฒนาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร และ
พัฒนาการทางดานทฤษฎีการจัดการ อันเปนเรื่องที่สืบเนื่องมาจากการพัฒนาแนวความคิด
(Concept), หลักการ(Principle) และเทคนิค (Technique) ตางๆ
หลักการบริหารหรือแนวความคิดทางการจัดการนั้น ถือเปนหลักสากล
(Universality) คือ สามารถนําไปประยุกตใชไดกับองคการทุกประเภท ทุกรูปแบบ และทุก
ระดับขององคการ ไมวาจะเปนองคการขนาดเล็กหรือขนาดใหญและไมวาจะเปนองคการของ
รัฐหรือเอกชน
ปจจัยนําเขา (Input)หรือปจจัยการผลิตที่จําเปนตองนํามาใชสําหรับกระบวนการ
บริหารงานของกิจการนั้น แตเดิมมี 4 ประการ เรียกวา 4 Ms ซึ่งไดแก บุคลากรหรือคน
(Man), เงิน (Money),วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ (Machine) โดยใน
ปจจุบันไดมีการเพิ่มเขามาอีก คือเทคโนโลยี(Technology)และขอมูลขาวสาร (Information)
เปาหมายของผูบริหารทุกคน คือ "ประสิทธิภาพในการทํากําไร" (Profitability)
ของกิจการ ซึ่งหมายถึง ศักยภาพในการทํากําไรชวงเวลาที่กําหนด นั่นคือ การทําให
อัตราสวนระหวางผลผลิต (Output) และปจจัยการผลิต (Input) เปนที่นาพอใจในเวลาที่
กําหนดอยางมีคุณภาพและบรรลุเปาหมายตามที่ตองการ โดยมีเปาประสงคที่จะใหเกิดสิ่ง
ตอไปนี้ คือ
10
1. "ประสิทธิภาพ" (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการใชทรัพยากร
หรือปจจัยนําเขา (Input) ใหนอยที่สุด และเกิดประโยชนหรือไดผลผลิต (Output) สูงสุด
นั่นคือ การทํางานที่สามารถลดตนทุนคาใชจายทั้งในดานเงินทุน ทรัพยากรคน และเวลา
ทํางานได
2. "ประสิทธิผล" (Effectiveness) หมายถึง การทํางานที่ไดผลลัพธตามที่
กําหนด หรือการบรรลุถึงวัตถุประสงคหรือเปาหมายตามที่ตองการ กลาวคือ เปนการมอง
ตั้งแตตนทางถึงปลายทาง จึงเปนการประเมินผลงานที่เกี่ยวกับผลลัพธจากการดําเนินงาน
หรือเปนการเขาถึงความสําเร็จที่ตองการไดตามเปาประสงค
3. "ผลิตภาพ (การเพิ่มผลผลิต) หรือประสิทธิภาพการผลิต" (Productivity)
หมายถึง การทํางานหรือการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแตละบุคคล
รวมตลอดของทั้งองคการ ซึ่งก็คือ ผลรวมของประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั่นเอง
หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions)
"หนาที่ของผูบริหาร" เปนกิจกรรมที่กอใหเกิดกระบวนการจัดการที่เปนหลัก
สากล อันหมายถึงหนาที่การบริหารจะตองถูกดําเนินการ ไมวาผูบริหารในระดับใดก็ตาม
ตองทําหนาที่บริหารงาน ซึ่งในปจจุบันไดมีการสรุปหนาที่ของผูบริหารไว 4 ประการ
(POLC) ดังนี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง การกําหนดเปาหมาย กลยุทธ
และจัดทําแผนงานเพื่อประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่จะกระทําในอนาคต เปนการเตรียมการ
เพื่อใหประสบความสําเร็จ และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
2. การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การพิจารณาถึงงานที่จะตอง
กระทํา ใครเปนผูทํางานนั้น ๆ ตองมีการจัดกลุมงานอยางไร ใครตองรายงานใคร และใคร
เปนผูตัดสินใจ นั่นคือ การมอบหมายหนาที่ ความรับผิดชอบ และการกําหนดสายการ
บังคับบัญชา
3. การชักนํา (Leading) หมายถึง การนําและจูงใจผูใตบังคับบัญชา การ
สั่งการ การเลือกชองทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และการขจัดความขัดแยง
หรือเปนการกระตุนใหพนักงานใชความพยายามอยางเต็มที่ที่จะทําใหเกิดความสําเร็จ
รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น
11
หลักการบริหารจัดการ
ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills)
"ทักษะหรือความสันทัด" (Skill) คือ ความสามารถในการนําความรูและ
ความสามารถมาปฏิบัติ ซึ่งทักษะทางการบริหารจะมีความสําคัญตอผูบริหารในการ
ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย โดยจะผันแปรไปตามระดับชั้นขององคการ
Robert Katz เปนผูที่วางรากฐานเกี่ยวกับแนวคิดของทักษะทางการบริหาร
โดยไดเสนอวา ทักษะของผูบริหารที่สําคัญมี 3 ประการ คือ
1. ทักษะดานเทคนิค (Technical Skill) คือ ทักษะทางดานความรู
ความสามารถในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิธีการ กระบวนการ และกรรมวิธีในการ
ปฏิบัติงาน อันเปนความชํานาญดานวิชาชีพเฉพาะดานใดดานหนึ่ง ซึ่งเปนทักษะที่
ผูบริหารระดับลางใชมากที่สุด และผูบริหารระดับสูงใชนอยที่สุด
2. ทักษะดานมนุษยสัมพันธ (Human Skill) คือทักษะทางดาน
ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น เปนความพยายามเพื่อใหเกิดความรวมมือ การ
ทํางานเปนทีม และการเสริมสรางบรรยากาศในการทํางาน หรือเปนทักษะทางดานการ
สื่อสารเพื่อการประสานงาน ซึ่งเปนทักษะที่มีความเกี่ยวพันอยางมากตอความสําเร็จหรือ
ความลมเหลวของผูบริหาร
3. ทักษะดานการประสมแนวความคิด (Conceptual Skill) คือ ทักษะ
ทางดานความสามารถในการมองภาพรวม เปนความสามารถในการคิดและวิเคราะห การ
แยกประเด็นปญหา เพื่อที่จะไดทราบถึงองคประกอบของสถานการณและสิ่งแวดลอม และ
เขาใจความสัมพันธขององคประกอบเหลานั้น เพื่อนํามาใชประโยชนกับองคการหรือการ
บริหารงานของตนเอง จึงเปนทักษะในการใชวิจารณญาณและการตัดสินใจที่ถูกตอง โดย
การนําเอาสิ่งที่ตนทราบมาใชประโยชนสูงสุด ซึ่งเปนทักษะที่ผูบริหารระดับสูงใชมากที่สุด
นอกจากนี้ยังมีทักษะที่ทําใหผูบริหารมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน ไดแก
การกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน, การหาวิธีแกไขปญหา, การบริหารความขัดแยง, การ
บริหารเวลา, การสื่อสารดวยวาจา และการทํางานดวยดีกับกลุม ฯลฯ
12
ระบบการบริหาร (Management System)
"ระบบ" (System) ในมุมมองเชิงระบบ หมายถึง กลุมหรือกระบวนการของ
ธุรกิจในสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันและขึ้นตอกัน ซึ่งทําหนาที่โดยรวมเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงครวมกัน
ระบบแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. ระบบปด (Closed System) เปนระบบที่เกิดขึ้นกอนป ค.ศ. 1930 เปน
ระบบที่ธุรกิจมุงความสนใจและใหความสําคัญแตเฉพาะการดําเนินงานภายในองคการของ
ตนเอง โดยไมสนใจตอสิ่งแวดลอมภายนอกธุรกิจ และไมยอมรับอิทธิพลใด ๆ มา
เปลี่ยนแปลงตนเอง
2. ระบบเปด (Opened System) เปนระบบซึ่งองคการดําเนินงานภายในที่
มีปฏิสัมพันธ (Interacts) กับสภาวะแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการ
ระบบมีสวนประกอบ 3 ประการ คือ
1. ปจจัยการผลิต (Input) เชน วัตถุดิบ คน เงิน ฯลฯ
2. กระบวนการแปลงสภาพ (Transformation) เชน กิจกรรมการทํางาน
กรรมวิธีการผลิต ฯลฯ
3. ผลผลิต (Output) เชน สินคาและบริการการ ผลทางการเงิน ฯลฯ
การจัดการในอดีตและในปจจุบัน
พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background)
กําแพงเมืองจีน (The Great Wall) และพีระมิด (Pyramid) ของอียิปต ถือ
เปนสิ่งมหัศจรรยของโลก ซึ่งถือเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่บงบอกถึงเรื่องราวการ
บริหารจัดการที่เกิดขึ้นในอดีต อันเปนการใชแรงงานคนมากกวาแสนคน และใชเวลา
มากกวา 20 ป ซึ่งจะตองใชหลักการบริหารทั้งดานการจัดการบุคลากร ระบบสินคาคงคลัง
รวมทั้งระบบบัญชีซึ่งเปนวิธีการควบคุมรายรับรายจาย เปนตน
แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory)
แนวความคิดทางการบริหารหลายอยางที่นํามาใชในปจจุบันเปนแนวความคิด
ที่มีมานานแลว เชน การประกอบชิ้นสวน (Assembly Line) มาตรฐานของงาน
มาตรฐานการผลิต การคลังสินคา ระบบสินคาคงคลัง ระบบบัญชี การจัดการบุคคล การ
13
การบริหารสํานักงานสมัยใหม
การบริหารขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงาน
การดําเนินงานโดยทั่วไปแลวมักจะมีความจําเปนตองเกี่ยวของกับงาน
ขาวสารขอมูลอยูเสมอ เชน การซื้อ การขาย การใหบริการ การผลิต บุคลากร การวางแผน
การควบคุมงาน เปนตน ดังนั้นจึงอาจถือวางานขาวสารขอมูลนั้นเปนสากลเพราะจะปรากฏ
อยูในองคการทุกประเภท เชน ในรานคา โรงเรียน ธุรกิจ วัด โรงพยาบาล กองทัพ และสวน
ราชการตาง ๆ เปนตน
งานขาวสารขอมูล (Information) นี้ อาจเรียกวา งานหนังสือหรืองานกระดาษ
(Paper Work) ทั้งนี้เพราะมักจะใชกระดาษเปนสื่อกลาง ซึ่งตามความเปนจริงนั้นอาจใชสิ่ง
อื่นนอกเหนือไปจากกระดาษ เชน บัตร เทป ดิสก ไมโครฟลม เปนตน ดังนั้นจึงควรเรียกวา
งานขาวสารขอมูลหรืองานสารสนเทศมากกวางานหนังสือ
สํานักงาน (Office) หมายถึง สถานที่ที่ใชดําเนินงานหนังสือหรืองานขาวสารขอมูล
ดังนั้นตําราบางเลมจึงใชคําวาการบริหารงานขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงานใน
ความหมายเดียวกัน คือ อาจใชสับเปลี่ยนแทนกันได แตในที่นี้เราจะใชคําวาการบริหารงาน
สํานักงานโดยตลอด
ขอสังเกต ในปจจุบันการเก็บรวบรวมและบันทึกขอมูล มักจะเก็บลงในแผนดิสก
ไมโครฟลมและอื่น ๆ แทนการเก็บลงบนกระดาษ ดังนั้นกระดาษจึงมีความสําคัญนอยลง
และสํานักงานในอนาคตก็มีแนวโนมที่จะเปน IT Office (Information Technology Office)
คือ ใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการเก็บขอมูลมากขึ้น ซึ่งก็เปนแนวโนมของสํานักงานแบบ
Paper Less (สํานักงานที่ไรกระดาษ) นั่นเอง
ลักษณะของงานสํานักงาน
งานสํานักงานนั้นเปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานอื่น ๆ ในองคการ (Staff
ประเภท Service) เพื่อชวยใหหนวยงานเหลานั้นไดดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เชน ชวยปอนขาวสารขอมูลใหกับผูบริหารสูงสุด ชวยฝายผลิตในดานการเก็บบันทึกขอมูล
ซึ่งจะนําไปใชประโยชนในการพิจารณาลดตนทุนการผลิตและหาวิธีปรับปรุงการผลิต ชวย
ฝายขายในการเก็บบันทึกขอมูลเกี่ยวกับการขาย เปนตน
14
ลักษณะสําคัญของงานสํานักงาน อาจสรุปไดดังนี้
1. เปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานตางๆ เพราะงานบริการนั้นถือ
วาเปนวัตถุประสงคหลักของการบริหารงานสํานักงาน
2. ขนาดของงานใหบริการในสํานักงานนั้นขึ้นอยูกับปจจัยภายนอก
องคการ ซึ่งไมอาจควบคุมได เชน จํานวนการสงของ จํานวนลูกหนี้ที่จะเรียกเก็บได จํานวน
จดหมายติดตอดานการขาย เปนตน
3. ไมอาจคํานวณหากําไรไดโดยตรง เนื่องจากงานสํานักงานนั้นเปนการ
ใหบริการแกหนวยงานหลัก เชน ฝายผลิต ฝายขาย และฝายการเงิน จึงอาจกลาววา งาน
สํานักงานมีสวนรวมทางออมในการทํากําไร ใหธุรกิจ
4. มีลักษณะแตกตางจากงานอื่น ๆ คือ เปนงานเกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ
การบันทึกขีดเขียนหรืองานหนังสือ หรืองานขาวสารขอมูล หรืองานสารสนเทศ
5. เปนงานสวนใหญในองคการบางประเภท เชน ในธนาคาร สวนราชการ
บริษัทประกันภัย บริษัทรับทําการโฆษณาตาง ๆ
วัตถุประสงคของการบริหารงานสํานักงาน
จุดประสงคพื้นฐานของการบริหารงานสํานักงาน ก็เพื่อที่จะจัดใหมีการรวมอํานาจ
ควบคุมงานสํานักงาน ตลอดจนงานดานบริการตาง ๆ ไวในสวนกลาง สวนวัตถุประสงค
โดยทั่วไปมีดังนี้
1. ประสานกิจกรรมอันเปนงานสํานักงานซึ่งปฏิบัติอยูในหนวยงานตาง ๆ
2. รักษามาตรฐานดานปริมาณและคุณภาพของการผลิต
3. จัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวยใหผลกําไรสูงขึ้น
4. จัดสภาพแวดลอมการทํางานทั้งดานปจจัยทางวัตถุและทางจิตใจใหเปนที่
พอใจของพนักงาน
5. จัดใหมีการควบคุมพนักงานสํานักงานอยางมีประสิทธิภาพ
6. จัดใหมีขอมูลที่จําเปนอยางครบถวนทันทวงทีตามตองการ
7. กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงาน สํานักงานและจัดสายการ
ติดตอสื่อสารใหเหมาะสม
8. กําหนดตารางเวลาการทํางานเพื่อใหสําเร็จตามเวลา
9. กําหนดวิธีปฏิบัติไวเพื่อจะไดเลือกบุคคลที่เหมาะสมกับงาน
10. ชวยใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพสูง
15
การบริหารงานจัดการทั่วไป
งานดานบริหาร (The Find of Management)
ผูบริหาร (Manager) คือ บุคคลซึ่งนําเอาเงิน (Money), กําลังคน (Manpower),
วัตถุดิบ (Materials) และเครื่องจักร (Machinery) ซึ่งจําเปนตองใชในการดําเนินธุรกิจมา
รวมเขาดวยกัน
การบริหารงาน (Management) คือ กระบวนการในการทําใหงานดําเนินไปโดยผาน
ทางบุคคลอื่น
หลักการบริหารงาน ซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานในการประกอบธุรกิจ มี 4 ประการ
เรียกวา หลัก 4 M’s ไดแก คน (Man), เงิน (Money), วัสดุอุปกรณ (Material) และการ
บริหาร (Management)
ในยุคปจจุบัน หนาที่หลักในการบริหารงาน ซึ่งถือเปนสากล (Universality) คือ
สามารถนําไปประยุกตใชกับองคการทุกรูปแบบและทุกระดับขององคการ มี 4 ประการ
ตามลําดับดังนี้
1. การวางแผน (Planning)
2. การจัดองคการ (Organizing)
3. การชักนํา (Leading)
4. การควบคุม (Controlling)
การบริหารงานอาจเรียกไดวาเปนศิลปะของการตัดสินใจ เพราะการตัดสินใจถือเปน
หนาที่หลักของผูบริหาร ซึ่งผูบริหารอาจตัดสินใจแกปญหาในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
1. ความตองการจางบุคลากรที่มีความชํานาญเพิ่มมากขึ้น
2. ปญหาการขาดงานที่สูงในบางแผนก
3. ลูกจางที่มีความซื่อสัตยเกิดการกระทําความผิด
4. ผูบริหารที่เกิดความไมพอใจขูจะลาออก
5. กําไรของบริษัทลดลงอยางรวดเร็ว
16
6. สหภาพแรงงานพยายามที่จะรวมตัวลูกจางเพื่อการเรียกรอง
7. มีการกลาวหาวาบริษัททําใหเกิดมลภาวะ
ระดับของการบริหารงาน แบงออกเปน 3 ระดับ คือ
1. การบริหารงานระดับสูงสุด (Top Management) ประกอบดวย คณะกรรมการ
บริหาร (Board of Director) ประธานกรรมการบริหาร (President) หรือหัวหนาผูบริหาร
(Chief Executive Officer) ฯลฯ โดยการบริหารงานระดับสูงจะตัดสินใจในการทํา
แผนงานกวาง ๆ ของบริษัท และทําการตัดสินใจในเรื่องที่มีความสําคัญ เชน การรวม
กิจการ และการออกหุนทุน เปนตน
2. การบริหารงานระดับกลาง (Middle Management ) ประกอบดวย ผูจัดการ
ทั่วไป ผูจัดการโรงงาน (หัวหนาผูควบคุมโรงงาน) ผูจัดการแผนก (หัวหนาแผนก) ฯลฯ
โดยการบริหารงานระดับกลางจะรับผิดชอบในการปรับปรุงโครงการดําเนินงาน ซึ่งชวย
ทําใหโครงการกวาง ๆ ที่ทําขึ้นโดยฝายบริหารสูงสุดสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี
3. การบริหารงานการดําเนินงาน (Operating Manager) คือ หัวหนาชั้นตน (First
– Line Supervisor) ประกอบดวย หัวหนางาน หัวหนาหนวย หัวหนาคนงาน (Foreman)
ฯลฯ โดยการบริหารระดับตนหรือระดับลางนี้จะมีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแล
คนงานซึ่งดําเนินงานเปนประจําวัน
ความสําคัญของการบริหาร มีบทบาทตอการดําเนินงานทางธุรกิจ ดังนี้
1. ชวยใหมวลมนุษยดํารงชีวิตอยางถูกตองตามแนวทางที่กําหนดไว
2. ชี้ใหเห็นถึงความเจริญกาวหนาโดยการนําเทคโนโลยีมาใช
3. เปนสิ่งควบคูกับการเมืองและสังคม ดังนั้นจะตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมตาง ๆ
4. ชี้ใหเห็นถึงความเจริญและความเสื่อมของสังคมในอนาคต
5. มีลักษณะเปนการทํางานรวมกัน ความสําเร็จจึงขึ้นอยูกับปจจัยทุกอยาง
การบริหารที่บรรลุตามเปาหมายจะตองเนนคุณคาของการบริหารในดานตาง ๆ คือ เนน
ในเรื่องการประหยัด,ประสิทธิภาพในการทํางาน, ความถูกตองเที่ยงธรรม, การมีคุณธรรม
,ความซื่อสัตย,ความรับผิดชอบตอหนาที่ ตอเพื่อนรวมงาน และตอบุคคลภายนอกที่
เกี่ยวของ
17
จรรยาบรรณในวิชาชีพ
ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility)
ความรับผิดชอบตอสังคม เปนการพิจารณาถึงผลกระทบของการกระทําของ
องคการหรือกิจการที่มีตอสังคมนั้นอยางจริงจัง ในทํานองเดียวกันการตอบสนองทางดาน
สังคม (Social Responsiveness) ก็เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานและนโยบายของ
กิจการที่มีตอสภาพแวดลอมทางสังคม ในทิศทางที่จะกอใหเกิดผลประโยชนตอสังคม
แนวความคิดของความรับผิดชอบตอสังคมมี 2 กลุม คือ
1. แนวความคิดแบบดั้งเดิม (Classical View) เห็นวา ความรับผิดชอบ
ตอสังคมในการบริหารมีเพียงอยางเดียว คือ การแสวงหากําไรสูงสุด ซึ่งเปนการทําใหผูถือ
หุนพอใจที่สุดในฐานะที่เปนเจาของกิจการ สวนการทําสิ่งอื่น ๆ นั้นแสดงวากําลังกระทําใน
สิ่งที่ผิดจากวัตถุประสงคหรือเปาหมายทางธุรกิจ ซึ่งผูที่สนับสนุนแนวคิดนี้ก็คือ Milton
Friedman นักเศรษฐศาสตรผูที่ไดรับรางวัลโนเบล
2. แนวความคิดของกลุมเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic View)
เนนวา ความรับผิดชอบทางสังคมจะตองมีการคุมครองปองกันและพัฒนาสวัสดิการทาง
สังคมกอนการทํากําไร เนื่องจากธุรกิจไมใชหนวยงานที่แยกจากสังคม หรือรับผิดชอบ
เฉพาะผูถือหุนเทานั้น ดังนั้นตามแนวคิดนี้ธุรกิจควรจัดลําดับเปาหมายของการดําเนินธุรกิจ
ของตนดังนี้คือยืนหยัดใหนานที่สุด(Survival),แสวงหาความมั่งคั่งสูงสุด(Wealth Maximi-
zation) และแสวงหากําไรสูงสุด (Profit Maximization)
จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics)
จริยธรรม (Ethics) เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎเกณฑของความดีและความ
เลว รวมทั้งภาระหนาที่ทางศีลธรรม ที่ไมเพียงแตพิจารณาถึงความอยูเย็นเปนสุขของตนเอง
แตตองคํานึงถึงเพื่อนมนุษยคนอื่นดวย ซึ่งไดแก จริยธรรมของแตละบุคคล (Personal
Ethics), จริยธรรมของนักบัญชี (Accounting Ethics) และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ
(Business Ethics)
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการสะทอนถึง
คานิยมในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ โดยองคการธุรกิจจะตองพยายามสรางสรรคเพื่อ
กอใหเกิดคุณคาและประโยชนตาง ๆ แก Stakeholder ที่ธุรกิจดําเนินการเกี่ยวของอยู ซึ่ง
18
คําวา Stakeholder นี้หมายถึง กลุมที่ไดรับประโยชนจากองคการ ไดแก ผูถือหุนหรือ
เจาของกิจการ ผูบริหาร พนักงาน ลูกคา ผูสงวัตถุดิบ ชุมชนที่ธุรกิจตั้งอยู รวมทั้ง
หนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐ (สวน Stockholder หมายถึง ผูถือหุนหรือเจาของกิจการ)
จริยธรรมทางธุรกิจนั้นเปนการแสดงออกซึ่งความรับผิดชอบตอสังคมสวนรวม
ดังนั้นในการวางแผนจําเปนตองคํานึงถึงหลักจริยธรรม ซึ่งหลักการวางแผนที่ถูกหลัก
จริยธรรม มีดังนี้
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utilitarian Theory) คือ ตองพยายามใหเกิด
ผลประโยชนตอคนหมูมากใหมากที่สุด
2. ทฤษฎีสิทธิ (Right Theory) คือ ตองไมละเมิดสิทธิของผูอื่น (Individual
Right)
3. ทฤษฎีความยุติธรรม (Justice Theory) คือ ตองใหความเที่ยงธรรม
ความยุติธรรมและความเสมอภาคแกทุกคน
คุณสมบัติของบุคคลซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่มีจริยธรรม
ไดแก
1. คานิยม (Value) อันเปนขอกําหนดพื้นฐานวาอะไรถูกอะไรผิด
2. การยึดตนเองเปนหลัก (Ego Strength)
3. การกําหนดวิถีชีวิต (Locus of Control)
การบริหารโดยยึดหลักคานิยม (Value - based Management) เปนวิธีการ
ทางการจัดการ ซึ่งฝายบริหารเปนผูกําหนด สนับสนุน และปฏิบัติตามคานิยมที่ยึดถือ
รวมกัน โดยมีจุดประสงคเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจ การปฏิบัติทางการจัดการ และ
ความพยายามดานการตลาดขององคการ รวมทั้งเปนแนวทางอันกอใหเกิดน้ําใจไมตรีของทีม
(Team Spirit) ในองคการ ซึ่งเปนรูปแบบของความพยายามสรางความมีจริยธรรมภายใน
องคการ โดยนําเอาสิ่งที่คนในองคการมองรวมกันวา เปนสิ่งที่ถูกตองมาชวยในการ
บริหารงาน
การบริหารสีเขียว (The Green of Management) มีความหมายในแงของการ
จัดการ คือ การตระหนักวาการตัดสินใจขององคการธุรกิจยอมมีผลกระทบตอสภาพแวดลอม
ตามธรรมชาติ นั่นคือ การคํานึงถึงการบริหารงานที่จะตองไมทําใหเกิดผลกระทบกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ หรือสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ ไมวาเรื่องใด ๆ เพราะการขาดยั้ง
คิดในการบริหารงาน หรือการตัดสินใจอยางผิดพลาดมักจะนําไปสูปญหาตาง ๆ ได
******************************************************************************************************
19
สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548
ความหมาย
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ
จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ
รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน
ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให
ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล
อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้
ชนิดของหนังสือ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
หนังสือ มี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือภายนอก
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ
5. หนังสือประชาสัมพันธ
6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
20
หนังสือภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน
หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่
มีถึงบุคคลภายนอก
หนังสือภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน
หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ
หนังสือประทับตรา
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ
ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน
ราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้ง
ระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่
ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
5. การเตือนเรื่องที่คาง
6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ
ประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ
หนังสือสั่งการ
หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ
ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ
คําสั่ง คือ บรรดาขอความที่ผูบังคับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมายใช
กระดาษตราครุฑ
ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมาย
หรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ
21
สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540
พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มีผล
ใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป และมีายก
รัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนองพระบรมราช
โองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือ
สิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และ
ไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย
ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึก
ไวปรากฏได
“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือ
ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือ
ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวน
ทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณา
พิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่
กําหนดในกฎกระทรวง
“เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ
“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล
เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน
บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลาย
พิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสาร
เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู
ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้
(1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ
ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ
(2) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว
(3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว
22
แนวขอสอบ ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทาง
ราชการ พ.ศ. 2544
4.ในการกําหนดชั้นความลับนั้น ใหคํานึงถึงสิ่งใด
ก. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐ
ข. ประโยชนแหงรัฐ
ค. ความปลอดภัยและมั่นคงของรัฐ
ง. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกัน
ตอบ ง. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกัน
“ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตาม ม.14 หรือ ม.15 ที่มีคําสั่ง
ไมใหเปดเผยและอยูในความครอบครอง หรือ ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะ
เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือ ที่เกี่ยวกับเอกชน ซึ่งมีการกําหนดใหมีชั้น
ความลับเปน ชั้นลีบ ชั้นลับมาก หรือ ชั้นลับที่สุด ตามระเบียบนี้ โดยคํานึงถึงการปฏิบัติ
หนาที่ของหนวยงานของรัฐ และประโยชนแหงรัฐประกอบกัน (ระเบียบ วาดวยการ
รักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5)
5."ประโยชนแหงรัฐ" หมายความรวมถึงการดําเนินงานของรัฐเกี่ยวกับสิ่งใด
ก. ประโยชนสาธารณะ
ข. ประโยชนของเอกชน
ค. ประโยชนของรัฐบาล
ง. ประโยชนสาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน
ตอบ ง. ประโยชนสาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน
“ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดําเนินงานของรัฐที่เกี่ยวกับประโยชน
สาธารณะ หรือ ประโยชนของเอกชนประกอบกัน ไมวาจะเปนเรื่องความมั่นคงของรัฐที่
เกี่ยวกับการเมืองภายในประเทศ หรือระหวางประเทศ การปองกันประเทศ
เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดลอม
(ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5)
23
6.ขอใดไมใชเรื่องของประโยชนแหงรัฐ
ก. การเมืองระหวางประเทศ
ข. เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
ค. การพลังงานและสิ่งแวดลอม
ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง
ตอบ ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง
คําอธิบายดังขอขางตน
7.หัวหนาหนวยงานของรัฐ มีฐานะเปนอะไร
ก. นิติบุคคล ข. นิติรัฐ
ค. หนวยงานอิสระ ง. รัฐวิสาหกิจ
ตอบ ก. นิติบุคคล
หัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนนิติบุคคล สําหรับสวนราชการในสังกัด
กระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึง หัวหนาสวนราชการที่ขึ้นตรงตอ สํานักงาน
ปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก
กองทัพเรือและกองทัพอากาศ (ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.
2544 ขอ 5)
8.หัวหนาหนวยงานของรัฐ สําหรับราชการสวนภูมิภาคคือผูใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. รองนายกรัฐมนตรี
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
“ หัวหนาหนวยงานของรัฐ” หมายความวา ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการ
สวนภูมิภาค (ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5)
9.จากขอขางตน สําหรับสวนราชการอื่นนั้นมีผูใดไมใชหัวหนาหนวยงานของรัฐ
ก. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. นายกเมืองพัทยา
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
24
แนวขอสอบ การบริหารงานทั่วไป
1. การโอนเอกสารแบบ Perpetual หมายถึง
ก. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที
ข. การยายเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที
ค. การโอนเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บในแผนกเก็บเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด
ง. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด
ตอบ ก. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที
การโอนเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจากที่เก็บเอกสารที่อยูในระหวางปฏิบัติ (Active
File) ไปเก็บไวในที่เก็บเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จแลว (Inactive File) ซึ่งอาจเปนศูนยเก็บ
เอกสาร มีวิธีโอน 2 วิธีคือ
1. วิธีโอนเปนงวด ๆ (Periodic) หมายถึง การโอนยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจาก
Active File ไปเก็บใน Inactive File ณ วันที่ที่กําหนดไว
2. วิธีโอนติดตอ (Perpetual) หมายถึง การโอนยายเอกสารเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
หรือโครงการใดโครงการหนึ่งจาก Active File ไปไวใน Inactive File ในทันทีที่เรื่องนั้น หรือ
โครงการนั้นไดเสร็จสิ้นลง
2. ขอใดเปนแนวทางการปฏิบัติงานแบบวิทยาศาสตร
ก. ศึกษาการจัดระบบและวิธีปฏิบัติ ข. ใชเครื่องมืออัตโนมัติ
ค. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักการเคลื่อนไหว ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
แนวทางการปฏิบัติงานสํานักงานแบบวิทยาศาสตร มีดังนี้
1. ผูบริหารจะตองวางแผน จัดองคการ ควบคุมงาน และนําพนักงานปฏิบัติงานให
สําเร็จ
2. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักวิทยาศาสตรเพื่อขจัดการเคลื่อนไหวที่ไมจําเปน
3. ใชเครื่องจักรเครื่องมืออัตโนมัติ
4. หาวิธีทํางานใหงายขึ้น
5. ศึกษาหาวิธีจัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
6. ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารใหสอดคลอง
25
3. ขอใดไมใชองคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน
ก. จํานวนฉบับที่จัดทํา ข. ระยะเวลาในการเก็บรายงาน
ค. ความถี่ของการจัดทํา ง. จํานวนหนาที่จัดทํา
ตอบ ง. จํานวนหนาที่จัดทํา
องคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน ไดแก ชื่อและคําอธิบายโดย
ยอ, จํานวน ฉบับที่จัดทํา, จัดทําที่ไหนอยางไร, แจกจายใหใครบาง, เพื่ออะไร, ระยะเวลาใน
การเก็บรายงาน, ความถี่ของการจัดทํา และตนทุน
4. โครงรางของแบบฟอรมตอนใด พิมพขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมนั้นเกี่ยวกับ
ใคร
ก. ชื่อแบบฟอรม ข. การเริ่มเรื่อง
ค. เนื้อเรื่อง ง. คําสั่งหรือคําแนะนํา
ตอบ ข. การเริ่มเรื่อง
การเริ่มเรื่อง (Introduction) คือ ขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมนั้น ๆ เกี่ยวกับ
ใคร อะไร และเมื่อไร
5. ขอใดไมใชแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนา
ก. ปริมาณสูงสุดของสําเนาที่ตองการ
ข. ลักษณะและประเภทตัวแบบตนฉบับที่ใชทําสําเนา
ค. ตองการทําเอกสารเปนสีอื่น ๆ นอกจากสีขาวดํา
ง. ไมมีขอใดถูก
ตอบ ง. ไมมีขอใดถูก
ตัวเลือกขอ ก – ค ถือเปนแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนาเอกสาร นอกจากนี้
ยังมีแนวทาง อื่น ๆ อีก คือ คุณภาพของสําเนาที่ตองการ, งบประมาณคาใชจายเปนคา
เครื่องและคาใชจายในการผลิตสําเนาใหไดคุณภาพดีมากนอยตามตองการ
6. ความหมายของการจัดแผนผังสํานักงาน ขอใดกลาวผิด
ก. การจัดสภาพแวดลอมในการทํางานอยางเหมาะสม
ข. การกําหนดตําแหนงที่ตั้งหนวยงานตาง ๆ ของพื้นที่ทั้งหมด
ค. การจัดสายทางเดินของงานอยางมีประสิทธิภาพ
26
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (15)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบนักบริหารงาน การประปานครหลวง แนวข้อสอบ กปน ปี 57 E-BOOK Download

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5 สัญลักษณ 6 การบริหารจัดการภาพลักษณ 7 ตราสัญลักษณประจําองคกร 8 สีประจําองคกร 9 ประวัติ/ภาระหนาที่ 9 ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12 การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13 ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13 จริยธรรม 21 ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 23 แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24 ธรรมภิบาล (Good Govermance) 24 สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง กฎหมายการประปานครหลวง แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 34 พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 34 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 48 สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนงบริหารงาน การบริหารงานทั่วไป 58 หลักการบริหารจัดการ 62 ระบบการบริหาร 63 พฤติกรรมองคการ 68 วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 74 การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 77 การบริหารสํานักงานสมัยใหม 81 การบริหารงานจัดการทั่วไป 90
  • 3. 3 การตัดสินใจทางการจัดการ 92 การจัดการเชิงกลยุทธ 102 เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 106 โครงการและการออกแบบองคการ 110 การจัดการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 126 การพัฒนาองคกร 128 กระบวนการควบคุม 132 การบริหารงานผลิต 135 จรรยาบรรณในวิชาชีพ 137 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 139 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 148 การรางหนังสือราชการ 155 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 162 แนวขอสอบระเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 172 แนวขอสอบ หลักการเขียนหนังสือราชการ 179 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 184 แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 200 แนวขอสอบขาราชการพลเรือน 207 แนวขอสอบ การบริหารงานทั่วไป 227
  • 4. 4 การประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม วิสัยทัศน "เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับ แนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา" พันธกิจ "ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ" คานิยม "มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย ความรับผิดชอบ" การจัดการองคกร ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวน เสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่ มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโต อยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับ การยอมรับในระดับสากล
  • 5. 5 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การ มีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหาร จัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน สัญลักษณ พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทําการ อันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งในโบราณ
  • 6. 6 แลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรคอันตรายของ มนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชชทั้งหลาย เพราะฉะนั้น สิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ําเปนเครื่องชําระลาง ใน ที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบสิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบ ใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จพระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่ ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดรายตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรม ศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองคบันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ํา บําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมาจากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้ ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และ สมความประสงคของเราแลสมความประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้ สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจากประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะ เบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆ ไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจใหพรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุข สวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัวคนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา (หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชในปจจุบัน) การบริหารจัดการภาพลักษณ วิสัยทัศนของแบรนด การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น การวางตําแหนงแบรนด เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิตสินคาที่มี คุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่ลูกคา ไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยใหประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บุคลิกภาพของแบรนด
  • 7. 7 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 1. ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ประกอบดวยยุทธศาสตรกี่ดาน ก. 3 ดาน ข. 4 ดาน ค. 5 ดาน ง. 6 ดาน ตอบ ง. 6 ดาน ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) 2. การยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกรเปนยุทธศาสตรดานใดของการประปานคร หลวง ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 3. ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ ยอมรับในระดับสากล เปนยุทธศาสตรดานใด ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
  • 8. 8 ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยาง ทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการยอมรับในระดับสากล 4. ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล เปนยุทธศาสตรดานใด ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ํา ดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการ ที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5. ขอใดไมใชสวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวง ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล ตอบ ง. ทองทะเล ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา 6. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงความเอื้อ อารีของ กปน. และใหความหมายถึงธุรกิจประปา ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
  • 9. 9 การบริหารงานทั่วไป ไดมีผูใหความหมายของการบริหารไวตาง ๆ ดังนี้ Samual C. Certo กลาววา "การบริหาร คือ กระบวนการของการ ออกแบบและบํารุงรักษาไวซึ่งสภาพแวดลอม เพื่อใหแตละบุคคลทํางานรวมกันเปนกลุม และบรรลุเปาหมายที่ไดวางไวอยางมีประสิทธิภาพ" Stephen P.Robbins กลาววา"การบริหารคือกระบวนการในการประสานงาน และรวบรวมกิจกรรมในการทํางาน เพื่อใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผล โดยอาศัยคน" Harold D.Koontz กลาวสรุปสั้น ๆ วา "การบริหาร คือ กระบวนการเพื่อ นําไปสูเปาหมายที่วางไว โดยอาศัยคนและทรัพยากรตาง ๆ การบริหารงานเปนเรื่องของการดําเนินงานที่ใชทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ การบริหารในแนวทางการปฏิบัติถือวาเปน "ศิลป" (Art) สวนองคความรูที่สําคัญเพื่อนํามา ปฏิบัติคือ "ศาสตร" (Science) ซึ่งไดมีการพัฒนาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร และ พัฒนาการทางดานทฤษฎีการจัดการ อันเปนเรื่องที่สืบเนื่องมาจากการพัฒนาแนวความคิด (Concept), หลักการ(Principle) และเทคนิค (Technique) ตางๆ หลักการบริหารหรือแนวความคิดทางการจัดการนั้น ถือเปนหลักสากล (Universality) คือ สามารถนําไปประยุกตใชไดกับองคการทุกประเภท ทุกรูปแบบ และทุก ระดับขององคการ ไมวาจะเปนองคการขนาดเล็กหรือขนาดใหญและไมวาจะเปนองคการของ รัฐหรือเอกชน ปจจัยนําเขา (Input)หรือปจจัยการผลิตที่จําเปนตองนํามาใชสําหรับกระบวนการ บริหารงานของกิจการนั้น แตเดิมมี 4 ประการ เรียกวา 4 Ms ซึ่งไดแก บุคลากรหรือคน (Man), เงิน (Money),วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ (Machine) โดยใน ปจจุบันไดมีการเพิ่มเขามาอีก คือเทคโนโลยี(Technology)และขอมูลขาวสาร (Information) เปาหมายของผูบริหารทุกคน คือ "ประสิทธิภาพในการทํากําไร" (Profitability) ของกิจการ ซึ่งหมายถึง ศักยภาพในการทํากําไรชวงเวลาที่กําหนด นั่นคือ การทําให อัตราสวนระหวางผลผลิต (Output) และปจจัยการผลิต (Input) เปนที่นาพอใจในเวลาที่ กําหนดอยางมีคุณภาพและบรรลุเปาหมายตามที่ตองการ โดยมีเปาประสงคที่จะใหเกิดสิ่ง ตอไปนี้ คือ
  • 10. 10 1. "ประสิทธิภาพ" (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการใชทรัพยากร หรือปจจัยนําเขา (Input) ใหนอยที่สุด และเกิดประโยชนหรือไดผลผลิต (Output) สูงสุด นั่นคือ การทํางานที่สามารถลดตนทุนคาใชจายทั้งในดานเงินทุน ทรัพยากรคน และเวลา ทํางานได 2. "ประสิทธิผล" (Effectiveness) หมายถึง การทํางานที่ไดผลลัพธตามที่ กําหนด หรือการบรรลุถึงวัตถุประสงคหรือเปาหมายตามที่ตองการ กลาวคือ เปนการมอง ตั้งแตตนทางถึงปลายทาง จึงเปนการประเมินผลงานที่เกี่ยวกับผลลัพธจากการดําเนินงาน หรือเปนการเขาถึงความสําเร็จที่ตองการไดตามเปาประสงค 3. "ผลิตภาพ (การเพิ่มผลผลิต) หรือประสิทธิภาพการผลิต" (Productivity) หมายถึง การทํางานหรือการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแตละบุคคล รวมตลอดของทั้งองคการ ซึ่งก็คือ ผลรวมของประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั่นเอง หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions) "หนาที่ของผูบริหาร" เปนกิจกรรมที่กอใหเกิดกระบวนการจัดการที่เปนหลัก สากล อันหมายถึงหนาที่การบริหารจะตองถูกดําเนินการ ไมวาผูบริหารในระดับใดก็ตาม ตองทําหนาที่บริหารงาน ซึ่งในปจจุบันไดมีการสรุปหนาที่ของผูบริหารไว 4 ประการ (POLC) ดังนี้คือ 1. การวางแผน (Planning) หมายถึง การกําหนดเปาหมาย กลยุทธ และจัดทําแผนงานเพื่อประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่จะกระทําในอนาคต เปนการเตรียมการ เพื่อใหประสบความสําเร็จ และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต 2. การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การพิจารณาถึงงานที่จะตอง กระทํา ใครเปนผูทํางานนั้น ๆ ตองมีการจัดกลุมงานอยางไร ใครตองรายงานใคร และใคร เปนผูตัดสินใจ นั่นคือ การมอบหมายหนาที่ ความรับผิดชอบ และการกําหนดสายการ บังคับบัญชา 3. การชักนํา (Leading) หมายถึง การนําและจูงใจผูใตบังคับบัญชา การ สั่งการ การเลือกชองทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และการขจัดความขัดแยง หรือเปนการกระตุนใหพนักงานใชความพยายามอยางเต็มที่ที่จะทําใหเกิดความสําเร็จ รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น
  • 11. 11 หลักการบริหารจัดการ ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) "ทักษะหรือความสันทัด" (Skill) คือ ความสามารถในการนําความรูและ ความสามารถมาปฏิบัติ ซึ่งทักษะทางการบริหารจะมีความสําคัญตอผูบริหารในการ ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย โดยจะผันแปรไปตามระดับชั้นขององคการ Robert Katz เปนผูที่วางรากฐานเกี่ยวกับแนวคิดของทักษะทางการบริหาร โดยไดเสนอวา ทักษะของผูบริหารที่สําคัญมี 3 ประการ คือ 1. ทักษะดานเทคนิค (Technical Skill) คือ ทักษะทางดานความรู ความสามารถในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิธีการ กระบวนการ และกรรมวิธีในการ ปฏิบัติงาน อันเปนความชํานาญดานวิชาชีพเฉพาะดานใดดานหนึ่ง ซึ่งเปนทักษะที่ ผูบริหารระดับลางใชมากที่สุด และผูบริหารระดับสูงใชนอยที่สุด 2. ทักษะดานมนุษยสัมพันธ (Human Skill) คือทักษะทางดาน ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น เปนความพยายามเพื่อใหเกิดความรวมมือ การ ทํางานเปนทีม และการเสริมสรางบรรยากาศในการทํางาน หรือเปนทักษะทางดานการ สื่อสารเพื่อการประสานงาน ซึ่งเปนทักษะที่มีความเกี่ยวพันอยางมากตอความสําเร็จหรือ ความลมเหลวของผูบริหาร 3. ทักษะดานการประสมแนวความคิด (Conceptual Skill) คือ ทักษะ ทางดานความสามารถในการมองภาพรวม เปนความสามารถในการคิดและวิเคราะห การ แยกประเด็นปญหา เพื่อที่จะไดทราบถึงองคประกอบของสถานการณและสิ่งแวดลอม และ เขาใจความสัมพันธขององคประกอบเหลานั้น เพื่อนํามาใชประโยชนกับองคการหรือการ บริหารงานของตนเอง จึงเปนทักษะในการใชวิจารณญาณและการตัดสินใจที่ถูกตอง โดย การนําเอาสิ่งที่ตนทราบมาใชประโยชนสูงสุด ซึ่งเปนทักษะที่ผูบริหารระดับสูงใชมากที่สุด นอกจากนี้ยังมีทักษะที่ทําใหผูบริหารมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน ไดแก การกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน, การหาวิธีแกไขปญหา, การบริหารความขัดแยง, การ บริหารเวลา, การสื่อสารดวยวาจา และการทํางานดวยดีกับกลุม ฯลฯ
  • 12. 12 ระบบการบริหาร (Management System) "ระบบ" (System) ในมุมมองเชิงระบบ หมายถึง กลุมหรือกระบวนการของ ธุรกิจในสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันและขึ้นตอกัน ซึ่งทําหนาที่โดยรวมเพื่อบรรลุ วัตถุประสงครวมกัน ระบบแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ระบบปด (Closed System) เปนระบบที่เกิดขึ้นกอนป ค.ศ. 1930 เปน ระบบที่ธุรกิจมุงความสนใจและใหความสําคัญแตเฉพาะการดําเนินงานภายในองคการของ ตนเอง โดยไมสนใจตอสิ่งแวดลอมภายนอกธุรกิจ และไมยอมรับอิทธิพลใด ๆ มา เปลี่ยนแปลงตนเอง 2. ระบบเปด (Opened System) เปนระบบซึ่งองคการดําเนินงานภายในที่ มีปฏิสัมพันธ (Interacts) กับสภาวะแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการ ระบบมีสวนประกอบ 3 ประการ คือ 1. ปจจัยการผลิต (Input) เชน วัตถุดิบ คน เงิน ฯลฯ 2. กระบวนการแปลงสภาพ (Transformation) เชน กิจกรรมการทํางาน กรรมวิธีการผลิต ฯลฯ 3. ผลผลิต (Output) เชน สินคาและบริการการ ผลทางการเงิน ฯลฯ การจัดการในอดีตและในปจจุบัน พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) กําแพงเมืองจีน (The Great Wall) และพีระมิด (Pyramid) ของอียิปต ถือ เปนสิ่งมหัศจรรยของโลก ซึ่งถือเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่บงบอกถึงเรื่องราวการ บริหารจัดการที่เกิดขึ้นในอดีต อันเปนการใชแรงงานคนมากกวาแสนคน และใชเวลา มากกวา 20 ป ซึ่งจะตองใชหลักการบริหารทั้งดานการจัดการบุคลากร ระบบสินคาคงคลัง รวมทั้งระบบบัญชีซึ่งเปนวิธีการควบคุมรายรับรายจาย เปนตน แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) แนวความคิดทางการบริหารหลายอยางที่นํามาใชในปจจุบันเปนแนวความคิด ที่มีมานานแลว เชน การประกอบชิ้นสวน (Assembly Line) มาตรฐานของงาน มาตรฐานการผลิต การคลังสินคา ระบบสินคาคงคลัง ระบบบัญชี การจัดการบุคคล การ
  • 13. 13 การบริหารสํานักงานสมัยใหม การบริหารขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงาน การดําเนินงานโดยทั่วไปแลวมักจะมีความจําเปนตองเกี่ยวของกับงาน ขาวสารขอมูลอยูเสมอ เชน การซื้อ การขาย การใหบริการ การผลิต บุคลากร การวางแผน การควบคุมงาน เปนตน ดังนั้นจึงอาจถือวางานขาวสารขอมูลนั้นเปนสากลเพราะจะปรากฏ อยูในองคการทุกประเภท เชน ในรานคา โรงเรียน ธุรกิจ วัด โรงพยาบาล กองทัพ และสวน ราชการตาง ๆ เปนตน งานขาวสารขอมูล (Information) นี้ อาจเรียกวา งานหนังสือหรืองานกระดาษ (Paper Work) ทั้งนี้เพราะมักจะใชกระดาษเปนสื่อกลาง ซึ่งตามความเปนจริงนั้นอาจใชสิ่ง อื่นนอกเหนือไปจากกระดาษ เชน บัตร เทป ดิสก ไมโครฟลม เปนตน ดังนั้นจึงควรเรียกวา งานขาวสารขอมูลหรืองานสารสนเทศมากกวางานหนังสือ สํานักงาน (Office) หมายถึง สถานที่ที่ใชดําเนินงานหนังสือหรืองานขาวสารขอมูล ดังนั้นตําราบางเลมจึงใชคําวาการบริหารงานขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงานใน ความหมายเดียวกัน คือ อาจใชสับเปลี่ยนแทนกันได แตในที่นี้เราจะใชคําวาการบริหารงาน สํานักงานโดยตลอด ขอสังเกต ในปจจุบันการเก็บรวบรวมและบันทึกขอมูล มักจะเก็บลงในแผนดิสก ไมโครฟลมและอื่น ๆ แทนการเก็บลงบนกระดาษ ดังนั้นกระดาษจึงมีความสําคัญนอยลง และสํานักงานในอนาคตก็มีแนวโนมที่จะเปน IT Office (Information Technology Office) คือ ใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการเก็บขอมูลมากขึ้น ซึ่งก็เปนแนวโนมของสํานักงานแบบ Paper Less (สํานักงานที่ไรกระดาษ) นั่นเอง ลักษณะของงานสํานักงาน งานสํานักงานนั้นเปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานอื่น ๆ ในองคการ (Staff ประเภท Service) เพื่อชวยใหหนวยงานเหลานั้นไดดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เชน ชวยปอนขาวสารขอมูลใหกับผูบริหารสูงสุด ชวยฝายผลิตในดานการเก็บบันทึกขอมูล ซึ่งจะนําไปใชประโยชนในการพิจารณาลดตนทุนการผลิตและหาวิธีปรับปรุงการผลิต ชวย ฝายขายในการเก็บบันทึกขอมูลเกี่ยวกับการขาย เปนตน
  • 14. 14 ลักษณะสําคัญของงานสํานักงาน อาจสรุปไดดังนี้ 1. เปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานตางๆ เพราะงานบริการนั้นถือ วาเปนวัตถุประสงคหลักของการบริหารงานสํานักงาน 2. ขนาดของงานใหบริการในสํานักงานนั้นขึ้นอยูกับปจจัยภายนอก องคการ ซึ่งไมอาจควบคุมได เชน จํานวนการสงของ จํานวนลูกหนี้ที่จะเรียกเก็บได จํานวน จดหมายติดตอดานการขาย เปนตน 3. ไมอาจคํานวณหากําไรไดโดยตรง เนื่องจากงานสํานักงานนั้นเปนการ ใหบริการแกหนวยงานหลัก เชน ฝายผลิต ฝายขาย และฝายการเงิน จึงอาจกลาววา งาน สํานักงานมีสวนรวมทางออมในการทํากําไร ใหธุรกิจ 4. มีลักษณะแตกตางจากงานอื่น ๆ คือ เปนงานเกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ การบันทึกขีดเขียนหรืองานหนังสือ หรืองานขาวสารขอมูล หรืองานสารสนเทศ 5. เปนงานสวนใหญในองคการบางประเภท เชน ในธนาคาร สวนราชการ บริษัทประกันภัย บริษัทรับทําการโฆษณาตาง ๆ วัตถุประสงคของการบริหารงานสํานักงาน จุดประสงคพื้นฐานของการบริหารงานสํานักงาน ก็เพื่อที่จะจัดใหมีการรวมอํานาจ ควบคุมงานสํานักงาน ตลอดจนงานดานบริการตาง ๆ ไวในสวนกลาง สวนวัตถุประสงค โดยทั่วไปมีดังนี้ 1. ประสานกิจกรรมอันเปนงานสํานักงานซึ่งปฏิบัติอยูในหนวยงานตาง ๆ 2. รักษามาตรฐานดานปริมาณและคุณภาพของการผลิต 3. จัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวยใหผลกําไรสูงขึ้น 4. จัดสภาพแวดลอมการทํางานทั้งดานปจจัยทางวัตถุและทางจิตใจใหเปนที่ พอใจของพนักงาน 5. จัดใหมีการควบคุมพนักงานสํานักงานอยางมีประสิทธิภาพ 6. จัดใหมีขอมูลที่จําเปนอยางครบถวนทันทวงทีตามตองการ 7. กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงาน สํานักงานและจัดสายการ ติดตอสื่อสารใหเหมาะสม 8. กําหนดตารางเวลาการทํางานเพื่อใหสําเร็จตามเวลา 9. กําหนดวิธีปฏิบัติไวเพื่อจะไดเลือกบุคคลที่เหมาะสมกับงาน 10. ชวยใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพสูง
  • 15. 15 การบริหารงานจัดการทั่วไป งานดานบริหาร (The Find of Management) ผูบริหาร (Manager) คือ บุคคลซึ่งนําเอาเงิน (Money), กําลังคน (Manpower), วัตถุดิบ (Materials) และเครื่องจักร (Machinery) ซึ่งจําเปนตองใชในการดําเนินธุรกิจมา รวมเขาดวยกัน การบริหารงาน (Management) คือ กระบวนการในการทําใหงานดําเนินไปโดยผาน ทางบุคคลอื่น หลักการบริหารงาน ซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานในการประกอบธุรกิจ มี 4 ประการ เรียกวา หลัก 4 M’s ไดแก คน (Man), เงิน (Money), วัสดุอุปกรณ (Material) และการ บริหาร (Management) ในยุคปจจุบัน หนาที่หลักในการบริหารงาน ซึ่งถือเปนสากล (Universality) คือ สามารถนําไปประยุกตใชกับองคการทุกรูปแบบและทุกระดับขององคการ มี 4 ประการ ตามลําดับดังนี้ 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองคการ (Organizing) 3. การชักนํา (Leading) 4. การควบคุม (Controlling) การบริหารงานอาจเรียกไดวาเปนศิลปะของการตัดสินใจ เพราะการตัดสินใจถือเปน หนาที่หลักของผูบริหาร ซึ่งผูบริหารอาจตัดสินใจแกปญหาในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ 1. ความตองการจางบุคลากรที่มีความชํานาญเพิ่มมากขึ้น 2. ปญหาการขาดงานที่สูงในบางแผนก 3. ลูกจางที่มีความซื่อสัตยเกิดการกระทําความผิด 4. ผูบริหารที่เกิดความไมพอใจขูจะลาออก 5. กําไรของบริษัทลดลงอยางรวดเร็ว
  • 16. 16 6. สหภาพแรงงานพยายามที่จะรวมตัวลูกจางเพื่อการเรียกรอง 7. มีการกลาวหาวาบริษัททําใหเกิดมลภาวะ ระดับของการบริหารงาน แบงออกเปน 3 ระดับ คือ 1. การบริหารงานระดับสูงสุด (Top Management) ประกอบดวย คณะกรรมการ บริหาร (Board of Director) ประธานกรรมการบริหาร (President) หรือหัวหนาผูบริหาร (Chief Executive Officer) ฯลฯ โดยการบริหารงานระดับสูงจะตัดสินใจในการทํา แผนงานกวาง ๆ ของบริษัท และทําการตัดสินใจในเรื่องที่มีความสําคัญ เชน การรวม กิจการ และการออกหุนทุน เปนตน 2. การบริหารงานระดับกลาง (Middle Management ) ประกอบดวย ผูจัดการ ทั่วไป ผูจัดการโรงงาน (หัวหนาผูควบคุมโรงงาน) ผูจัดการแผนก (หัวหนาแผนก) ฯลฯ โดยการบริหารงานระดับกลางจะรับผิดชอบในการปรับปรุงโครงการดําเนินงาน ซึ่งชวย ทําใหโครงการกวาง ๆ ที่ทําขึ้นโดยฝายบริหารสูงสุดสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี 3. การบริหารงานการดําเนินงาน (Operating Manager) คือ หัวหนาชั้นตน (First – Line Supervisor) ประกอบดวย หัวหนางาน หัวหนาหนวย หัวหนาคนงาน (Foreman) ฯลฯ โดยการบริหารระดับตนหรือระดับลางนี้จะมีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแล คนงานซึ่งดําเนินงานเปนประจําวัน ความสําคัญของการบริหาร มีบทบาทตอการดําเนินงานทางธุรกิจ ดังนี้ 1. ชวยใหมวลมนุษยดํารงชีวิตอยางถูกตองตามแนวทางที่กําหนดไว 2. ชี้ใหเห็นถึงความเจริญกาวหนาโดยการนําเทคโนโลยีมาใช 3. เปนสิ่งควบคูกับการเมืองและสังคม ดังนั้นจะตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมตาง ๆ 4. ชี้ใหเห็นถึงความเจริญและความเสื่อมของสังคมในอนาคต 5. มีลักษณะเปนการทํางานรวมกัน ความสําเร็จจึงขึ้นอยูกับปจจัยทุกอยาง การบริหารที่บรรลุตามเปาหมายจะตองเนนคุณคาของการบริหารในดานตาง ๆ คือ เนน ในเรื่องการประหยัด,ประสิทธิภาพในการทํางาน, ความถูกตองเที่ยงธรรม, การมีคุณธรรม ,ความซื่อสัตย,ความรับผิดชอบตอหนาที่ ตอเพื่อนรวมงาน และตอบุคคลภายนอกที่ เกี่ยวของ
  • 17. 17 จรรยาบรรณในวิชาชีพ ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) ความรับผิดชอบตอสังคม เปนการพิจารณาถึงผลกระทบของการกระทําของ องคการหรือกิจการที่มีตอสังคมนั้นอยางจริงจัง ในทํานองเดียวกันการตอบสนองทางดาน สังคม (Social Responsiveness) ก็เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานและนโยบายของ กิจการที่มีตอสภาพแวดลอมทางสังคม ในทิศทางที่จะกอใหเกิดผลประโยชนตอสังคม แนวความคิดของความรับผิดชอบตอสังคมมี 2 กลุม คือ 1. แนวความคิดแบบดั้งเดิม (Classical View) เห็นวา ความรับผิดชอบ ตอสังคมในการบริหารมีเพียงอยางเดียว คือ การแสวงหากําไรสูงสุด ซึ่งเปนการทําใหผูถือ หุนพอใจที่สุดในฐานะที่เปนเจาของกิจการ สวนการทําสิ่งอื่น ๆ นั้นแสดงวากําลังกระทําใน สิ่งที่ผิดจากวัตถุประสงคหรือเปาหมายทางธุรกิจ ซึ่งผูที่สนับสนุนแนวคิดนี้ก็คือ Milton Friedman นักเศรษฐศาสตรผูที่ไดรับรางวัลโนเบล 2. แนวความคิดของกลุมเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic View) เนนวา ความรับผิดชอบทางสังคมจะตองมีการคุมครองปองกันและพัฒนาสวัสดิการทาง สังคมกอนการทํากําไร เนื่องจากธุรกิจไมใชหนวยงานที่แยกจากสังคม หรือรับผิดชอบ เฉพาะผูถือหุนเทานั้น ดังนั้นตามแนวคิดนี้ธุรกิจควรจัดลําดับเปาหมายของการดําเนินธุรกิจ ของตนดังนี้คือยืนหยัดใหนานที่สุด(Survival),แสวงหาความมั่งคั่งสูงสุด(Wealth Maximi- zation) และแสวงหากําไรสูงสุด (Profit Maximization) จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) จริยธรรม (Ethics) เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับกฎเกณฑของความดีและความ เลว รวมทั้งภาระหนาที่ทางศีลธรรม ที่ไมเพียงแตพิจารณาถึงความอยูเย็นเปนสุขของตนเอง แตตองคํานึงถึงเพื่อนมนุษยคนอื่นดวย ซึ่งไดแก จริยธรรมของแตละบุคคล (Personal Ethics), จริยธรรมของนักบัญชี (Accounting Ethics) และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ (Business Ethics) จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการสะทอนถึง คานิยมในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ โดยองคการธุรกิจจะตองพยายามสรางสรรคเพื่อ กอใหเกิดคุณคาและประโยชนตาง ๆ แก Stakeholder ที่ธุรกิจดําเนินการเกี่ยวของอยู ซึ่ง
  • 18. 18 คําวา Stakeholder นี้หมายถึง กลุมที่ไดรับประโยชนจากองคการ ไดแก ผูถือหุนหรือ เจาของกิจการ ผูบริหาร พนักงาน ลูกคา ผูสงวัตถุดิบ ชุมชนที่ธุรกิจตั้งอยู รวมทั้ง หนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐ (สวน Stockholder หมายถึง ผูถือหุนหรือเจาของกิจการ) จริยธรรมทางธุรกิจนั้นเปนการแสดงออกซึ่งความรับผิดชอบตอสังคมสวนรวม ดังนั้นในการวางแผนจําเปนตองคํานึงถึงหลักจริยธรรม ซึ่งหลักการวางแผนที่ถูกหลัก จริยธรรม มีดังนี้ 1. ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utilitarian Theory) คือ ตองพยายามใหเกิด ผลประโยชนตอคนหมูมากใหมากที่สุด 2. ทฤษฎีสิทธิ (Right Theory) คือ ตองไมละเมิดสิทธิของผูอื่น (Individual Right) 3. ทฤษฎีความยุติธรรม (Justice Theory) คือ ตองใหความเที่ยงธรรม ความยุติธรรมและความเสมอภาคแกทุกคน คุณสมบัติของบุคคลซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ไดแก 1. คานิยม (Value) อันเปนขอกําหนดพื้นฐานวาอะไรถูกอะไรผิด 2. การยึดตนเองเปนหลัก (Ego Strength) 3. การกําหนดวิถีชีวิต (Locus of Control) การบริหารโดยยึดหลักคานิยม (Value - based Management) เปนวิธีการ ทางการจัดการ ซึ่งฝายบริหารเปนผูกําหนด สนับสนุน และปฏิบัติตามคานิยมที่ยึดถือ รวมกัน โดยมีจุดประสงคเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจ การปฏิบัติทางการจัดการ และ ความพยายามดานการตลาดขององคการ รวมทั้งเปนแนวทางอันกอใหเกิดน้ําใจไมตรีของทีม (Team Spirit) ในองคการ ซึ่งเปนรูปแบบของความพยายามสรางความมีจริยธรรมภายใน องคการ โดยนําเอาสิ่งที่คนในองคการมองรวมกันวา เปนสิ่งที่ถูกตองมาชวยในการ บริหารงาน การบริหารสีเขียว (The Green of Management) มีความหมายในแงของการ จัดการ คือ การตระหนักวาการตัดสินใจขององคการธุรกิจยอมมีผลกระทบตอสภาพแวดลอม ตามธรรมชาติ นั่นคือ การคํานึงถึงการบริหารงานที่จะตองไมทําใหเกิดผลกระทบกับ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ ไมวาเรื่องใด ๆ เพราะการขาดยั้ง คิดในการบริหารงาน หรือการตัดสินใจอยางผิดพลาดมักจะนําไปสูปญหาตาง ๆ ได ******************************************************************************************************
  • 19. 19 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
  • 20. 20 หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่ มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน ราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้ง ระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ หนังสือสั่งการ หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ คําสั่ง คือ บรรดาขอความที่ผูบังคับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมายใช กระดาษตราครุฑ ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมาย หรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ
  • 21. 21 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มีผล ใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป และมีายก รัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนองพระบรมราช โองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือ สิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และ ไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึก ไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือ ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือ ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวน ทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณา พิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่ กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ “ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลาย พิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสาร เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ “คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้ (1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ (2) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว (3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว
  • 22. 22 แนวขอสอบ ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทาง ราชการ พ.ศ. 2544 4.ในการกําหนดชั้นความลับนั้น ใหคํานึงถึงสิ่งใด ก. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐ ข. ประโยชนแหงรัฐ ค. ความปลอดภัยและมั่นคงของรัฐ ง. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกัน ตอบ ง. การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกัน “ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตาม ม.14 หรือ ม.15 ที่มีคําสั่ง ไมใหเปดเผยและอยูในความครอบครอง หรือ ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะ เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือ ที่เกี่ยวกับเอกชน ซึ่งมีการกําหนดใหมีชั้น ความลับเปน ชั้นลีบ ชั้นลับมาก หรือ ชั้นลับที่สุด ตามระเบียบนี้ โดยคํานึงถึงการปฏิบัติ หนาที่ของหนวยงานของรัฐ และประโยชนแหงรัฐประกอบกัน (ระเบียบ วาดวยการ รักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5) 5."ประโยชนแหงรัฐ" หมายความรวมถึงการดําเนินงานของรัฐเกี่ยวกับสิ่งใด ก. ประโยชนสาธารณะ ข. ประโยชนของเอกชน ค. ประโยชนของรัฐบาล ง. ประโยชนสาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน ตอบ ง. ประโยชนสาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน “ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดําเนินงานของรัฐที่เกี่ยวกับประโยชน สาธารณะ หรือ ประโยชนของเอกชนประกอบกัน ไมวาจะเปนเรื่องความมั่นคงของรัฐที่ เกี่ยวกับการเมืองภายในประเทศ หรือระหวางประเทศ การปองกันประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดลอม (ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5)
  • 23. 23 6.ขอใดไมใชเรื่องของประโยชนแหงรัฐ ก. การเมืองระหวางประเทศ ข. เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ค. การพลังงานและสิ่งแวดลอม ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง ตอบ ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง คําอธิบายดังขอขางตน 7.หัวหนาหนวยงานของรัฐ มีฐานะเปนอะไร ก. นิติบุคคล ข. นิติรัฐ ค. หนวยงานอิสระ ง. รัฐวิสาหกิจ ตอบ ก. นิติบุคคล หัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนนิติบุคคล สําหรับสวนราชการในสังกัด กระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึง หัวหนาสวนราชการที่ขึ้นตรงตอ สํานักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ (ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5) 8.หัวหนาหนวยงานของรัฐ สําหรับราชการสวนภูมิภาคคือผูใด ก. นายกรัฐมนตรี ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. รองนายกรัฐมนตรี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด “ หัวหนาหนวยงานของรัฐ” หมายความวา ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการ สวนภูมิภาค (ระเบียบ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ขอ 5) 9.จากขอขางตน สําหรับสวนราชการอื่นนั้นมีผูใดไมใชหัวหนาหนวยงานของรัฐ ก. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายกเมืองพัทยา ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
  • 24. 24 แนวขอสอบ การบริหารงานทั่วไป 1. การโอนเอกสารแบบ Perpetual หมายถึง ก. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที ข. การยายเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที ค. การโอนเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บในแผนกเก็บเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด ง. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด ตอบ ก. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที การโอนเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจากที่เก็บเอกสารที่อยูในระหวางปฏิบัติ (Active File) ไปเก็บไวในที่เก็บเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จแลว (Inactive File) ซึ่งอาจเปนศูนยเก็บ เอกสาร มีวิธีโอน 2 วิธีคือ 1. วิธีโอนเปนงวด ๆ (Periodic) หมายถึง การโอนยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจาก Active File ไปเก็บใน Inactive File ณ วันที่ที่กําหนดไว 2. วิธีโอนติดตอ (Perpetual) หมายถึง การโอนยายเอกสารเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือโครงการใดโครงการหนึ่งจาก Active File ไปไวใน Inactive File ในทันทีที่เรื่องนั้น หรือ โครงการนั้นไดเสร็จสิ้นลง 2. ขอใดเปนแนวทางการปฏิบัติงานแบบวิทยาศาสตร ก. ศึกษาการจัดระบบและวิธีปฏิบัติ ข. ใชเครื่องมืออัตโนมัติ ค. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักการเคลื่อนไหว ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ แนวทางการปฏิบัติงานสํานักงานแบบวิทยาศาสตร มีดังนี้ 1. ผูบริหารจะตองวางแผน จัดองคการ ควบคุมงาน และนําพนักงานปฏิบัติงานให สําเร็จ 2. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักวิทยาศาสตรเพื่อขจัดการเคลื่อนไหวที่ไมจําเปน 3. ใชเครื่องจักรเครื่องมืออัตโนมัติ 4. หาวิธีทํางานใหงายขึ้น 5. ศึกษาหาวิธีจัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 6. ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารใหสอดคลอง
  • 25. 25 3. ขอใดไมใชองคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน ก. จํานวนฉบับที่จัดทํา ข. ระยะเวลาในการเก็บรายงาน ค. ความถี่ของการจัดทํา ง. จํานวนหนาที่จัดทํา ตอบ ง. จํานวนหนาที่จัดทํา องคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน ไดแก ชื่อและคําอธิบายโดย ยอ, จํานวน ฉบับที่จัดทํา, จัดทําที่ไหนอยางไร, แจกจายใหใครบาง, เพื่ออะไร, ระยะเวลาใน การเก็บรายงาน, ความถี่ของการจัดทํา และตนทุน 4. โครงรางของแบบฟอรมตอนใด พิมพขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมนั้นเกี่ยวกับ ใคร ก. ชื่อแบบฟอรม ข. การเริ่มเรื่อง ค. เนื้อเรื่อง ง. คําสั่งหรือคําแนะนํา ตอบ ข. การเริ่มเรื่อง การเริ่มเรื่อง (Introduction) คือ ขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมนั้น ๆ เกี่ยวกับ ใคร อะไร และเมื่อไร 5. ขอใดไมใชแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนา ก. ปริมาณสูงสุดของสําเนาที่ตองการ ข. ลักษณะและประเภทตัวแบบตนฉบับที่ใชทําสําเนา ค. ตองการทําเอกสารเปนสีอื่น ๆ นอกจากสีขาวดํา ง. ไมมีขอใดถูก ตอบ ง. ไมมีขอใดถูก ตัวเลือกขอ ก – ค ถือเปนแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนาเอกสาร นอกจากนี้ ยังมีแนวทาง อื่น ๆ อีก คือ คุณภาพของสําเนาที่ตองการ, งบประมาณคาใชจายเปนคา เครื่องและคาใชจายในการผลิตสําเนาใหไดคุณภาพดีมากนอยตามตองการ 6. ความหมายของการจัดแผนผังสํานักงาน ขอใดกลาวผิด ก. การจัดสภาพแวดลอมในการทํางานอยางเหมาะสม ข. การกําหนดตําแหนงที่ตั้งหนวยงานตาง ๆ ของพื้นที่ทั้งหมด ค. การจัดสายทางเดินของงานอยางมีประสิทธิภาพ
  • 26. 26 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740