SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
~ 1 ~
~ 2 ~
สารบัญ
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 6
สัญลักษณ 7
การบริหารจัดการภาพลักษณ 8
ตราสัญลักษณประจําองคกร 10
สีประจําองคกร 10
ประวัติ/ภาระหนาที่ 10
ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 14
การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 15
ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 15
จริยธรรม 23
ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 25
แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 26
ธรรมภิบาล (Good Govermance) 27
สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง
พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 37
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 52
สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนงบริหารงาน
หลักและทฤษฎีการสื่อสาร 62
ความเปนมาของการสื่อสาร 62
ความหมายของการสื่อสาร 63
หลักการสื่อสารที่สําคัญ 68
ความหมายของคําวา “มวลชน” 69
ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” 70
กระบวนการสื่อสารมวลชน 72
กระบวนการสื่อสารมวลขน (Mass Communication Process) 76
ทฤษฎีการสื่อสารที่เกี่ยวของ 85
แนวคิดทฤษฎีผูกรองสาร (Gatekeeper Theory) 86
แนวคิดทฤษฎีการใชสื่อเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ 87
แนวคิดทฤษฎีการเลน 88
ระบบการสื่อสารมวลชน 90
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีเสรีนิยม 92
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต 93
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีความรับผิดชอบตอสังคม 94
ความรูเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ มวลชนสัมพันธ 97
ความหมายของการประชาสัมพันธ 97
~ 3 ~
ลักษณะสําคัญของการประชาสัมพันธ 100
องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธ 103
กลุมมวลชน (Publics) 105
การเขียนขาวประชาสัมพันธ 108
เอกสารประชาสัมพันธ 109
การสื่อสารทางสื่อมวลชน 112
แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน 112
การสื่อสารทางสื่อสิ่งพิมพ 113
ระบบการพิมพ 115
การเขียนบรรยายภาพขาว 118
องคประกอบของเหตุการณที่มีคุณคาทางขาว 119
ประเภทและชนิดของขาว 120
คุณสมบัติของขาวที่ดี 122
นโยบายดานขาวของหนังสือพิมพ 122
การรวบรวมขอมูลขาว 123
เทคนิคการเขียน 134
การจัดทํารายการวิทยุ 137
หลักการเขียนขาววิทยุ 150
การพาสื่อมวลชน/กลุมเปาหมายเยี่ยมชมกิจการ 150
หลักสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีใหแกหนวยงาน 151
การสรางภาพลักษณขององคกรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคน 151
การใหขาวแกสื่อมวลชน 152
การเขียนบทสัมภาษณและการสัมภาษณผูบริหาร 154
การรวบรวมขอมูลขาวจากการสัมภาษณ 154
การใชอุปกรณในการรวบรวมขอมูลขาว 155
การจัดนิทรรศการ 157
การจัดแผนปาย 157
ประเภทของแผนปาย 157
เทคนิคการจัดทําแผนปาย 159
การจัดปายนิเทศ 159
การจัดปายนิเทศใหสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค 162
การกําหนดบริเวณวางในนิทรรศการ 163
การกําหนดทางเดินชมนิทรรศการ 164
การวางแผนเพื่อปฏิบัติงานประชาสัมพันธ 165
หลักการประชาสัมพันธ 165
วัตถุประสงคของการประชาสัมพันธ 167
หัวใจของการวางแผนงานประชาสัมพันธ 169
การวางแผนใหบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง 170
โครงสรางการเขียนขาวทุกประเภท 170
จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172
~ 4 ~
จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172
จริยธรรมการดําเนินงานของการประปานครหลวง 172
จริยธรรมการดําเนินงานขององคกร 173
จริยธรรมการดําเนินงานของคณะกรรมการ 174
จริยธรรมการดําเนินงานของพนักงานและลูกจาง 176
นักประชาสัมพันธและคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ 177
กฎหมายที่เกี่ยวของ
พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 180
แนวขอสอบ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 188
พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 197
แนวขอสอบ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 206
แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 211
แนวขอสอบ นักประชาสัมพันธ การประปานครหลวง 237
~ 5 ~
การประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม
วิสัยทัศน  
"เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับแนว
หนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา"
พันธกิจ
"ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ
และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ"
คานิยม
"มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวยความ
รับผิดชอบ"
การจัดการองคกร
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced
Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวนเสีย ใน
ที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่มี
ความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ
คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโตอยาง
ยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
~ 6 ~
ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ
ยอมรับในระดับสากล
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา
การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและ
เกิดประสิทธิผล
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic)
ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การมีสวน
รวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความ
รับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหารจัดการทั้งองคกร
สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน
สัญลักษณ
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง
~ 7 ~
ตราสัญลักษณประจําองคกร
หมายเหตุ : สามารถเลือกใชได 2 แบบ ตามความเหมาะสม และไมควรดัดแปลง/แกไขตรา
สัญลักษณประจําองคกร
สีประจําองคกร
ประวัติ/ภาระหนาที่
พระผูกอตั้งกิจการประปา
วัน ที่ 13 เดือนกรกฏาคม พ.ศ.2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ได
ประกาศพระบรมราชโองการทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกรมศุขาภิบาลจัดการที่จะนําน้ํามา
ใชในพระนครตามแบบอยางที่สมควรแก ภูมิประเทศการที่จะตองจัดทํานั้นคือ
• ใหตั้งทําที่น้ําขังที่คลองเชียงราก แขวงเมืองปทุมธานี อันเปนที่พนเขตน้ําเค็มขึ้นถึงทุก
ฤดู
สีน้ําเงิน
C95 M70 Y15K0 หรือ PANETONE 653 C
สีเขียวน้ําทะเล
C80 M0 Y35 K0 หรือ PANETONE 325 C
สีฟาใส
C30 M0 Y0 K0 หรือ PANETONE 290 C
~ 8 ~
ธรรมมาภิบาล (Good Governance) 
ประเทศไทยประสบกับปญหาการทุจริตคอรรัปชั่นจนกลายเปนวิกฤตในสังคมซึ่งสงผล
กระทบตอการดําเนินนโยบายของรัฐจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองสรางจิตสํานึกดานคุณธรรมจริยธรรม
ใหกับเจาหนาที่ของรัฐผูซึ่งมีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ตามนโยบายของรัฐและใหบริการ
แกประชาชนเพื่อนําไปสูความเจริญรุงเรืองของประเทศชาติ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงมีสาระสําคัญประการหนึ่งที่
มุงแกไขปญหาการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม รวมทั้งการ
ดําเนินการทางการเมืองที่ขาดความโปรงใสไมมีคุณธรรม จริยธรรม โดยการบัญญัติถึงการ
สรางมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐ
แตละประเภทซึ่งรวมถึงรัฐวิสาหกิจไวเปนเรื่องสําคัญ กําหนดใหหนวยงานของรัฐทุกแหงตอง
จัดใหมีประมวลจริยธรรมเพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของตนและใหเจาหนาที่ของรัฐ
ภายในหนวยงานประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมนั้นอยางเครงครัดเพื่อมุงเนนใหการ
ใชอํานาจรัฐมีความโปรงใส มีคุณธรรมและจริยธรรม โดยกําหนดไวในหมวด 13 จริยธรรมของ
ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศสูสังคมอยู
เย็นเปนสุขรวมกัน คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชน
เขมแข็ง สังคมสันติสุข และ นโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายดานการปฏิรูปการเมือง การ
ปกครอง และการบริหาร ซึ่งมุงเสริมสรางมาตรการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติ
มิชอบในภาคการเมืองและภาคราชการทั้งในระดับทองถิ่นและในระดับชาติโดยถือวาการ
ปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเปนเครื่องมือหนึ่งในการเสริมสรางคุณธรรมและ
จริยธรรมในองคกร
เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งเพื่อให
การดําเนินการเสริมสรางจริยธรรมและคุณธรรมของการประปานครหลวงบังเกิดผลอยางเปน
รูปธรรม คณะกรรมการการประปานครหลวง จึงไดสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของการประปา
นครหลวง โดยการจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวงกําหนดเปนขอบังคับการ
ประปานครหลวง ฉบับที่ 133 วาดวย ประมวลจริยธรรมของผูวาการและพนักงาน การประปา
นครหลวงพ.ศ.2552
~ 9 ~
กองวินัยและเสริมสรางจริยธรรม ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล ในฐานะหนวยงานซึ่ง
ปฏิบัติงานดานเสริมสรางจริยธรรมในองคกรและเปนหนวยงานหลักที่ไดรับมอบหมายในการ
ประสานงานจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง รวมทั้งมีบทบาทสําคัญในการ
ติดตาม ควบคุม และดูแลใหพนักงานการประปานครหลวงปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมที่ได
กําหนดไวในประมวลจริยธรรม จึงไดจัดทําคูมือจริยธรรมของการประปานครหลวงฉบับนี้
ขึ้น โดยมีสาระสําคัญเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง ทั้งในสวนความ
เปนมา มาตรฐานทางจริยธรรม กลไกการบังคับใช และขั้นตอนลงโทษ เพื่อเผยแพรความรู
เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมใหกับพนักงานและผูปฏิบัติงานไดรับทราบและนํามายึดถือเปน
แนวทางในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองพรอมทั้งหลีกเลี่ยงมิใหเกิดการฝาฝนมาตรฐาน
จริยธรรมที่กําหนดไว เสริมสรางจริยธรรมในองคกร และเผยแพรภาพลักษณที่ดีขององคกรให
เปนที่ยอมรับของสังคม อันจะนําพาองคกรไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว และ
กอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศชาติ
จริยธรรม
คําวา“จริยธรรม” แยกออกไดเปนจริย+ธรรมซึ่งคําวาจริยะหมายถึงความประพฤติหรือ
กิริยาที่ควรประพฤติ สวนคําวาธรรมมีความหมายหลายประการเชนคุณความดี, หลักคําสอนของ
ศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้งสองมารวมกันเปน "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา
“หลักแหงความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการประพฤติ” ที่กลาวมานั้นเปนความหมายตาม
ตัวอักษรของคําวา “จริยธรรม” ซึ่งเปนแนวทางใหนักวิชาการหลายทาน ไดให
ความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวคลายคลึงกัน ดังตัวอยางตอไปนี้
จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ,ศีลธรรม,กฎศีลธรรม - พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
จริยธรรม หมายถึง แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอันทรงคุณคา
พึงประสงค - ผลการสัมมนาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ เรื่อง จริยธรรมใน
สังคมไทยปจจุบัน ซึ่งจัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT)
จริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติเปนหลักสําหรับใหบุคคลยึดถือใน
การปฏิบัติตน - วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก
~ 10 ~
จริยธรรม หมายถึง ระเบียบปฏิบัติที่มุงปฏิบัติเพื่อใหเกิดความผาสุกในสังคม เปนสิ่งที่
มนุษยทําขึ้น แตงขึ้นตามเหตุผลของมนุษยเอง หรือตามความตองการของมนุษย – พุทธทาส
ภิกขุ
จริยธรรม หมายถึง การนําความรูในความจริงหรือกฎธรรมชาติไปใชใหเกิดประโยชน
ตอการดําเนินชีวิตที่ดีงาม อันจะทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม – พระราชวรมุนี
ตามนิยามขางตน สามารถประมวลสรุปความไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการ
ประพฤติปฏิบัติตนใหเปนคนดี เปนประโยชนสุขแกตนเองและสวนรวม
นอกจากนี้ จริยธรรมไมใชกฎหมาย เพราะกฎหมายเปนสิ่งบังคับใหคนทําตาม และมี
บทลงโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนั้น สาเหตุที่คนเคารพเชื่อฟงกฎหมายเพราะกลัวถูกลงโทษ
ในขณะที่จริยธรรมไมมีบทลงโทษ ดังนั้น คนจึงมีจริยธรรมเพราะมีแรงจูงใจ แตอยางไรก็ตาม
กฎหมายก็มีสวนเกี่ยวของกับจริยธรรมในฐานะเปนแรงหนุนจากภายนอกเพื่อใหคนมีจริยธรรม
และโดยทั่วไปจริยธรรมมักอิงอยูกับศาสนา ทั้งนี้เพราะคําสอนทางศาสนามีสวนสรางระบบ
จริยธรรมใหสังคม แตทั้งนี้มิไดหมายความวา จริยธรรมอิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียง
อยางเดียว แทที่จริงนั้นจริยธรรมหยั่งรากอยูบนขนบธรรมเนียมประเพณี โดยนัยนี้ บางคนเรียก
หลักแหงความประพฤติอันเนื่องมาจากคําสอนทางศาสนาวา "ศีลธรรม" และเรียกหลักแหง
ความประพฤติอันพัฒนามาจากแหลงอื่น ๆ วา "จริยธรรม" ในทรรศนะของนักวิชาการหลาย
ทาน ศีลธรรมกับจริยธรรมจึงเปนอันเดียวกัน ไมอาจแยกเด็ดขาดจากกันได ความแตกตางอยู
ตรงแหลงที่มา ถาแหลงแหงความประพฤตินั้นมาจากศาสนาหรือขอบัญญัติของศาสนา นั่นคือ
ศีลธรรม แตถาเปนหลักทั่ว ๆ ไป ไมเกี่ยวกับศาสนา เชน คําสอนของนักปรัชญา นั่นคือ
จริยธรรม กลาวคือ จริยธรรมจะมีความหมายกวางกวาศีลธรรมเพราะศีลธรรมเปนหลักคําสอนทาง
ศาสนาที่วาดวยความประพฤติปฏิบัติชอบ สวนจริยธรรมหมายถึงหลักแหงความประพฤติปฏิบัติ
ชอบอันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียมประเพณี
กลาวโดยสรุป จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี ซึ่งมี
ลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติปฏิบัติตามอันถือกันวาเปนการกระทําที่ดี ดังนั้น การ
ดําเนินชีวิตตามหลักจริยธรรมเปนสิ่งที่สังคมตองการ สังคมจึงไดจัดใหมีการวางแนวทางของ
การประพฤติปฏิบัติตนและมีการสั่งสอนอบรมเรื่องจริยธรรมแกสมาชิกของสังคม ผลที่สังคม
คาดหวังคือการที่สมาชิกนอมนําเอาจริยธรรมไปประพฤติในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับ การ
กําหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีประมวลจริยธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเพื่อ
~ 11 ~
หลักและทฤษฎีการสื่อสาร
ตนกําเนิดของภาษา (The Origins of Language)
มนุษยในสมัยกอน เชน Australopithecus, Homo Habilis และ Homo Erectus นั้น ยังไม
สามารถพูดไดหรือยังไมมีการพูดเพื่อสื่อสารกัน ที่เปนเชนนั้นเพราะลักษณะโครงสรางทางกายภาพ อัน
ไดแกโครงสรางของกลองเสียงยังเหมือนกับพวกลิงที่สงเสียงไดเทานั้น จึงทําใหไมสามารถควบคุมเสียงให
เปลงออกมาเปนคําพูดได
ในยุคของมนุษยพวก Neanderthal (Homo Sapiens Neanderthalensis) ที่อาศัยอยูตั้งแตสมัย
โบราณ ประมาณ 150,000 – 125,000 ปมาแลว จะสามารถสื่อสารกันไดโดยใชภาษาทาทาง ดวยวิธีการ
เคลื่อนไหวรางกาย และเสียงเทาที่สามารถเปลงออกมาได
ตอมาในชวง 90,000 ถึง 35,000 ปที่ผานมา มีมนุษยเกิดขึ้นมากมายหลายจําพวกเขามาแทนพวก
Neanderthal มนุษยพวกนี้มีชื่อเรียกวา Cro–Magnon (Homo Sapiens Sapiens) ซึ่งถือไดวาเปนบรรพ
บุรุษของพวกมนุษยในปจจุบัน
ถาใหพวก Cro–Magnon แตงตัวดวยเสื้อผาที่ทันสมัย ก็จะไมมีอะไรที่แตกตางจากมนุษยในปจจุบัน
เลย เพราะพวกนี้มีกลองเสียง ลิ้น และโครงสรางของริมฝปากที่เหมือนกับมนุษยปจจุบัน สามารถควบคุม
เสียงที่เปลงออกมาได จึงมีความเปนไปไดที่พวก Cro–Magnon อาจพูดได และเกิดการพัฒนาจนเปน
ภาษาในเวลาตอมา
การใชภาษาจึงเริ่มตนขึ้นเมื่อประมาณ 40,000 ปมาแลว และการสื่อสารก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเปน
ครั้งแรกเชนกัน จึงกลาวไดวาภาษาคือจุดเริ่มตนของกระบวนการสื่อสารของมนุษย ที่พัฒนาตอมาจนถึง
การสื่อสารมวลชน และการสื่อสารของมนุษยก็คือพื้นฐานของการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน
ความเปนมาของการสื่อสาร
การสื่อสารเกิดขึ้นมาพรอม ๆ กับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยไดตอสูกับธรรมชาติและดิ้นรน
เพื่อการมีชีวิต อยูรอด โดยใชการสื่อสารเปนเครื่องมือ เพื่อชวยใหบรรลุผลในการทํางานตางๆ มนุษยอยู
รวมกันไดเปนชนเผา เปนสังคม เปนประเทศชาติ โดยใชการสื่อสารระหวางกัน เพื่อการเขาใจรวมกัน สราง
จุดมุงหมายรวมกัน การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือที่มนุษยใชเพื่อสรางและพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน
มนุษยจึงเล็งเห็นความสําคัญและใหความสนใจศึกษาคนควาเกี่ยวกับการสื่อสารมาเปนเวลานานแลว
~ 12 ~
การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารไดเริ่มมีมาเปนเวลานับพันปแลว ตั้งแตยุคที่อารยธรรมกรีกและโรมัน
ยังเจริญรุงเรืองอยูในยุโรปโบราณ นักปราชญชาวกรีก คือ อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งเปนปรมาจารยที่ได
ศึกษาในเรื่องของศาสตรเกี่ยวกับการ สื่อสาร และเปนผูที่มองเห็นความสําคัญของการสื่อสารวาเปน
ชองทางใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการได
กําเนิดของการสื่อสาร
คนเราจําเปนตองเกี่ยวของกับการสื่อสารตลอดทั้งชีวิตของเราโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเรา
มักจะไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะพัฒนาใหมีความเขาใจในการสื่อสารได ดังนั้นการที่เรารูเรื่องของการ
สื่อสารวามันคืออะไร จะเปนโอกาสดีที่ทําใหเราเขาไปเกี่ยวของกับการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ
ความหมายของการสื่อสาร
“การสื่อสาร” (Communication) หมายถึง การผลิตสารอยางตั้งใจ และไดถายทอดสารนั้นโดย
บุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอื่น หรือหลาย ๆ คน เมื่อผูรับสารไดรับสารแลว จะทําการแปลสารใหเขาใจตรง
ตามที่ผูสงสารตองการ ก็ถือไดวาการ สื่อสารนั้นประสบผลสําเร็จ
แตถาหากผูรับสารไดรับสารแลว แปลสารไมตรงตามความหมายที่ผูสงสารตองการ การสื่อสารนั้นก็
เกิดความ ลมเหลวไมประสบผลสําเร็จ สิ่งนี้เราเรียกไดวา การสื่อสารเกิดความลมเหลว
(Communication Breakdown) หรือเกิดความผิดพลาดในการสื่อสาร (Miscommunication)
Communication มาจากภาษาลาตินวา Communis, Common เมื่อคนเราทําการสื่อสารนั่นหมายถึง
การที่เรากําลังสรางความคุนเคยกับคน ๆ หนึ่ง โดยที่เราพยายามจะแลกเปลี่ยน (Share) ขาวสาร
(Information) ความคิด (Idea) และทัศนคติ (Attitude)
ดังนั้นการสื่อสารจึงหมายถึงการที่คนเราทําการสื่อสารความคิด โดยมีความพยายามใหผูสงสาร
(Sender) และ ผูรับสาร (Receiver) ปรับความคิดเขาหากัน เพื่อจะไดเขาใจสารไดตรงกัน
องคประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสารโดยทั่ว ๆ ไป มีองคประกอบที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ
~ 13 ~
1.แหลงขาวสาร (Source) อาจเปนบุคคลคนเดียว (Individual) ที่ใชวิธีการพูด การเขียน การวาด
ภาพ กิริยาทาทาง หรือเปนการสื่อสารแบบองคกร (Organization) ที่มีแหลงขาวสาร ซึ่งไดแก
หนังสือพิมพ นิตยสาร สถานีวิทยุ – โทรทัศน โรงถายภาพยนตร เปนตน
2.สาร (Message) อาจเปนรูปแบบของหมึกที่ใชในการพิมพบนกระดาษ คลื่นวิทยุในอากาศ การวิ่ง
ของกระแสไฟ การโบกมือ ธงโบกสะบัด หรือสัญญาณอื่น ๆ ที่สามารถแปลความหมายใหเขาใจไดก็ถือวา
เปนสาร
3.จุดหมายปลายทาง (Destination) อาจเปนบุคคลคนหนึ่งที่กําลังฟง กําลังดู กําลังอานหรืออาจ
เปนกลุมคน เชน กลุมสนทนา กลุมผูฟงการบรรยาย กลุมผูชมฟุตบอล กลุมประทวง หรืออาจเปนบุคคล
จากกลุม ๆ หนึ่ง ที่เราเรียกวา ผูรับสารมวลชน (Mass Audience) เชน กลุมผูอานหนังสือพิมพ กลุมผูรับ
ฟงรายการวิทยุ กลุมผูชมภาพยนตร หรือกลุมผูชม รายการวิทยุโทรทัศน เปนตน
ถาแหลงขาวสารพยายามที่จะสรางความเขาใจในความหมายของสารที่ตรงกัน รวมกัน ใหกับผูรับ
สารที่แหลง ขาวสารตองการสงสารให กอนอื่นผูสงสารหรือแหลงขาวสารจะทําการเขารหัสสาร (Encoder)
ที่อาจจะเปนขาวสารหรือความรูสึกที่ตองการจะแลกเปลี่ยนกับผูรับสาร โดยทําใหเปนรูปแบบที่สามารถ
ถายทอดออกมาใหเขาใจได เพราะ “รูปภาพที่อยูในหัวในสมองของเรา” ไมสามารถถายทอดใหเห็นออกมา
เปนภาพไดจนกวาจะนําสารนั้นมาเขารหัสความหมายกอนจึงจะสามารถเขาใจได
เมื่อรูปภาพถูกนํามาเขารหัสเปนคําพูดที่สามารถถายทอดใหเขาใจไดงายขึ้นและมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น แตการ ถายทอดนั้นอาจมีอุปสรรคที่ไมสามารถสงไปไดไกลนัก ถาตองการใหสารไปไดไกล ๆ ก็ตอง
อาศัยคลื่นวิทยุเปนตัวนําไปจึงจะไปไดไกลกวา
แตถาสารถูกนํามาใสรหัสเปนตัวหนังสือ สารนั้นจะถูกถายทอดไปไดชากวาคําพูด แตก็ไปไดไกลกวา
และอยูไดนานมากกวาคําพูด และการที่จะทําใหการสื่อสารดําเนินไปอยางสมบูรณ สารที่สงมาตองถูก
ถอดรหัส (Decoder) โดยผูรับสาร เพื่อใหเขาใจความหมายของสารไดตรงกันกับที่ผูสงสารใสความหมาย
ไว
ระบบการสื่อสารของมนุษย
ระบบการสื่อสารของมนุษยมีลักษณะคลายกับวงจรการทํางานของวิทยุและโทรทัศน ดังแผนภูมิ
Source Encoder Signal Decoder Destination
Encoder หมายถึง ไมโครโฟนที่ใชสําหรับการเขารหัสสาร
~ 14 ~
Decoder หมายถึง หูฟงที่ใชสําหรับการถอดรหัสสาร
Signal หมายถึง สัญญาณหรือสัญลักษณที่ใชในระบบการสื่อสารขั้นพื้นฐานของมนุษย (Human
Communication) ซึ่งก็คือ ภาษา (Language) อันเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความเขาใจรวมกัน และเปน
จุดเริ่มตนของกระบวนการ สื่อสารของมนุษย
มนุษยเราสื่อสารกันอยางไร
การสื่อสารของมนุษยยอมแตกตางจากสิ่งตาง ๆ ที่ดํารงชีวิตอยูบนโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งมนุษยเรา
สื่อสารกันโดยใช “ภาษาพูดและภาษาเขียน” ซึ่งเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีความเจริญและซับซอนมาก
ขึ้น
สัตวใชการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ เปนการสื่อความหมาย ซึ่งสวนใหญแลวพฤติกรรมตาง ๆ นั้น
ไดรับการ ถายทอดสืบตอกันมา บางครั้งไดมาจากการเรียนรู แตก็ไมไดขึ้นกับวัฒนธรรมเหมือนกับมนุษย
เพราะมีแตมนุษยเทานั้นที่ทําการสื่อสารกันโดยตองคํานึงถึงวัฒนธรรมและกฎระเบียบตาง ๆ ของสังคม
การใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาทาทาง
(The Use of Verbal and Nonverbal Symbols)
ในปจจุบันมนุษยเรายังคงทําการสื่อสารกัน ไมวาจะเปนการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน (Face to
Face) หรือการ สื่อสารที่ตองผานสื่อตาง ๆ โดยใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาที่ไมออกเสียง
สัญลักษณที่ใช ไดแก คําพูด กิริยาทาทาง หรือสิ่งที่แทนความหมายในภาษาของแตละชุมชน ซึ่งขึ้นอยูกับ
วัฒนธรรมดวย เชน ไมกางเขน แหวนแตงงาน แหวนหมั้น ฯลฯ
การสื่อสารของมนุษย :แบบจําลองแนวเสนตรง
(HumanCommunication:ABasicLinearModel)
ถึงแมวาสัญลักษณ ความหมาย ไวยากรณ โครงสรางของคํา โครงสรางของประโยค และการออก
เสียงจะเปนสิ่งที่สําคัญของภาษา แตสิ่งเหลานี้ไมไดแสดงใหเห็นเลยวามนุษยเราสื่อสารกันอยางไร ดังนั้น
เพื่อแสดงใหเห็นวาคนเรามีความ เกี่ยวของกับการสื่อสารกันไดอยางไรบาง จึงมีความจําเปนที่จะตองศึกษา
กระบวนการสื่อสารทุกขั้นตอนโดยละเอียด
ขั้นตอนของกระบวนการสื่อสารมีอยู 6 ขั้นตอน ดังนี้
~ 15 ~
หลักการสื่อสารที่สําคัญ
ความเปนมาของการสื่อสารมวลชน
มนุษยเราเริ่มทําการสื่อสารกันมาเปนเวลาชานานแลว นับตั้งแตอดีตเปนตนมา แตความสามารถใน
การที่จะใชสื่อตาง ๆ เพื่อเก็บหรือถายทอดขอมูลขาวสารจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพิ่งจะมีการพัฒนาขึ้นมาใน
ระยะหลังนี้เอง
สื่อ คือเครื่องมือที่ใชสําหรับถายทอดขอมูลขาวสารผานระยะเวลาและระยะทาง โดยผูสงสารจะสง
สารไปหรือบันทึกไวโดยใชสื่อผานไปใหผูรับสารที่อยูที่อื่นหรือเวลาอื่น เมื่อผูรับสารไดรับสารแลวก็จะแปล
สารที่ไดรับ
การสื่อสารแบบใชสื่อกลางก็เหมือนกับการสื่อสารในรูปแบบอื่นของมนุษย คือ กระบวนการที่
เชื่อมโยงผูสงสารกับ ผูรับสารที่ทําการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารโดยใชภาษาพูดหรือภาษาเขียน ใน
ความหมายนี้จะเห็นไดวามีการใชสื่อมานานแลว
ในปจจุบันสื่อไดกระตุนใหมนุษยมีความตื่นตัวที่จะเอาชนะระยะเวลาและระยะทาง เพราะเรากําลัง
อยูในยุคของการปฏิวัติการสื่อสารซึ่งกําลังเขามาแทนที่การสื่อสารแบบเดิมที่มนุษยเราใชภาษาเพื่อการ
สื่อสารเทานั้น
ปจจุบันสื่อมวลชนสามารถเขาถึงผูรับสารไดเปนจํานวนนับลาน โดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมไดอยาง
นามหัศจรรย แตอยางไรก็ตาม สื่อมวลชนก็ยังคงทําหนาที่เหมือนเดิมเชนที่เคยปฏิบัติกันมาตั้งแตสมัย
โบราณตัวอักษรหรือสัญลักษณอียิปตโบราณ สัญญาณควันไฟ เสียงกลองไดถูกสงผานระยะเวลาและ
ระยะทางมาถึงปจจุบัน
สิ่งที่แตกตางกันระหวางอดีตกับปจจุบันก็คือ ในปจจุบันผูสงสารสามารถสงสารไปยังผูรับสารจํานวน
มากได พรอมกันทันทีในเวลาเดียวกัน ถึงแมผูรับสารจะอยูในที่ตาง ๆ กันก็ตาม
อยางไรก็ตาม สื่อไมใชสาร แตสารที่ถูกสรางขึ้นก็อาจมีขอจํากัด และอาจเขาใจไดยาก เพราะสื่อหนึ่ง
ก็มีความ แตกตางไปจากสื่ออื่น ซึ่งอาจเสริมสรางประสบการณของการสื่อสารดวยการรับรู หรือการ
จินตนาการโดยไมมีการเผชิญหนากันในระหวางการสนทนา หรือสารอาจจะมีความถูกตองนอยลงก็ได เมื่อ
สารไดไปถึงผูรับสาร
ถึงแมเรากําลังอยูในยุคของความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสมัยใหม แตเราก็ยังอยูกับ
กระบวนการสื่อสารขั้น พื้นฐานของมนุษยที่ใชกันมาตั้งแตสมัยโบราณ ผูรายงานขาวจะใชคําใชประโยคใน
~ 16 ~
หนังสือพิมพหรือทางวิทยุโทรทัศนอยางไร จึงจะเปนภาษาที่ถูกตอง เพื่อใหผูรับสารสามารถเขาใจเรื่องราว
ไดทันที
ความหมายของคําวา “มวลชน”
“มวลชน” (Mass) หมายถึง ประชาชนจํานวนมาก ซึ่งขาวสาร (Information or Texts) ใน
กระบวนการสื่อสาร มวลชน (Process of Mass Communication) เผยแพรไปถึง
“สื่อมวลชน” (Mass Media) หมายถึง เครื่องมือที่ใชในการสงสารหรือสื่อขาวสารไปสูประชาชนหรือ
มวลชน
“การสื่อสารมวลชน” (Mass Communication) หมายถึง การสงสารโดยใชเทคโนโลยีบางอยาง
เพื่อใหขาวสารไปถึงผูรับสารจํานวนมากในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการสื่อสารมวลชนจึงเปนการสงสารไปสู
ประชาชนจํานวนมาก (มวลชน) มากกวาที่จะเปนการสงสารถึงคนเพียงคนเดียว หรือ 2 – 3 คน หรือกลุม
ใดกลุมหนึ่งเทานั้น
Lazarsfeld และ Kendall ไดใหคําจํากัดความของคําวา “มวลชน” ไววา มวลชนนั้นควรที่จะใช
สําหรับสื่อดานวิทยุกระจายเสียง (ซึ่งเหมาะมากกวาสื่ออื่นที่เขาถึงกลุมประชาชนอยางไมเปนทางการ)
Friedson ไดโตแยงการใหความหมายของคําวา มวลชน (Mass) ของ Lazarsfeld และ Kendall
วายังมีไม มากพอ ดังนั้นเขาจึงไดใหความหมายของคําวา มวลชน เพิ่มเติมขึ้นมาใน 4 ลักษณะดังนี้
1. ผูรับสารมีความแตกตางกัน เพราะมาจากกลุมที่มีความแตกตางกันในสังคม
2. ผูรับสารแตละคนไมรูจักซึ่งกันและกัน
3. ผูรับสารอยูในที่ตาง ๆ กัน ไมสามารถมีปฏิกิริยาหรือแลกเปลี่ยนประสบการณตอกันได
4. ไมมีหัวหนากลุมในมวลชน และถาเปนองคกร ก็เปนองคกรที่มีความอิสระมาก
Herbert Blumer นักสังคมวิทยา ไดใหความหมายของคําวา มวลชน ไวดังนี้
มวลชน ไมใชองคกรทางสังคม ไมมีขนบธรรมเนียมประเพณี ไมมีการกําหนดกฎเกณฑ ไมมีพิธีการ
ไมมีความ รูสึกตอกัน ไมมีโครงสราง ไมมีบทบาท ไมมีหัวหนากลุม แตเปนเพียงกลุมคน ซึ่งแยกกันอยู
โดยไมระบุชื่อวาเปนใคร
มวลชนในที่นี้เกี่ยวของกับสารสําหรับคนจํานวนมาก และเผยแพรโดยสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง แตกตาง
กันจากสารเฉพาะตัว เชน ในจดหมาย หรือในการสนทนากันทางโทรศัพท รายการโทรทัศนตางก็มีผูรับชม
ในที่ตาง ๆ จากเครื่องรับหลาย ๆ เครื่อง โดยการที่มีผูชมรายการมากเทาใดจะขึ้นอยูกับรายการที่เผยแพร
อยูดวย
~ 17 ~
ความหมายของคําวา “การสื่อสาร”
การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรือ
ไปยังคนอีกกลุมหนึ่ง ซึ่งในการสื่อสารจะไมคํานึงถึงกระบวนการ แตจะคํานึงถึงสาร (Message) ที่ถูกสง
มามากกวา
คําวา Communicationและ Community มาจากรากศัพทภาษาลาติน ซึ่งเหมือนกับคําวา Common,
Communis ลักษณะที่เหมือนกันนี้เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเราเขาใจกระบวนการสื่อสารไดใน 2 ระดับ คือ
1.คุณลักษณะของกระบวนการสื่อสารควรจะมีมากกวาผูที่มีสวนรวมในสิ่งที่เหมือน ๆ กัน เชน
ประสบการณที่ผานมา คานิยม และความเชื่อ สิ่งเหลานี้ก็คือคุณลักษณะของชุมชนของแตละบุคคลดวย
2. กระบวนการสื่อสารมวลชนตองการการเขารหัส (Encoding) โดยผูสงสาร และถอดรหัส
(Decoding) โดยผูรับสาร ซึ่งสามารถทําใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ เพียงผูที่มีสวนรวมเขาใจในการ
เขารหัสและถอดรหัสรวมกัน และสิ่งที่ทําใหเกิดความเขาใจรวมกันก็คือ ภาษา
ระดับของการสื่อสาร (Levels of Communication)
การสื่อสารของมนุษย คือ การปฏิบัติการสงความคิดและทัศนคติ จากคน ๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง
การเขียน จดหมายถึงกัน และการพูดคุยกัน คือ 2 วิธีการที่ใชสําหรับการสื่อสารของมนุษย นอกจากนี้เรา
ยังสื่อสารกันดวยกิริยาทาทาง การเคลื่อนไหวรางกาย หรือแมกระทั่งการกะพริบตา การขมวดคิ้ว ก็เปน
การสื่อสารของมนุษยทั้งสิ้น
ระดับของการสื่อสารสามารถจําแนกออกเปนระดับ ดังนี้คือ
1.การสื่อสารสวนบุคคล (Intrapersonal Communication)
เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในรางกายหรือในตัวของเราเอง ไดแก การที่เราพูดกับตัวเอง เมื่อเรา
คิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราก็อาจพูดเบา ๆ กับตัวเองหรือพูดออกมาลอย ๆ
โดยเรื่องราวหรือเนื้อหาของการสื่อสารสวนบุคคล จะประกอบดวยความคิด (Thought) ซึ่งสื่อกลาง
หรือชองทางของการสื่อสารสวนบุคคลนี้คือระบบประสาทที่ผานความคิดและผานกระบวนการในสมองอีก
ทีหนึ่ง
2.การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication)
เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลหนึ่งกับอีกบุคคลหนึ่งหรือกับคนอื่นที่มีจํานวนไมมากนัก ซึ่ง
บางครั้งผูสงสารจะมีความคุนเคยกัน เชน ในงานเลี้ยงสังสรรค ฯลฯ แตบางครั้งก็ไมคุนเคยกัน เชน เมื่อ
คนแปลกหนาพูดอยูบนถนน บนรถโดยสารหรือในหางสรรพสินคา
~ 18 ~
สื่อกลางในกรณีนี้คือคลื่นอากาศ และเนื้อหาก็คือสิ่งที่ไดพูด สวนสิ่งสําคัญในการสื่อสารคือ การ
ใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ผานทางภาษาทาทาง การแสดงสีหนา เสื้อผา และสิ่งอื่น ๆ
3.การสื่อสารกลุมยอย (Small Group Communication)
เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับคนจํานวนหนึ่งที่ทําการสื่อสาร เชน การบรรยายในหองเรียน การ
ประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือการแสดงสุนทรพจนในการรวมตัวเปนกลุมของประชาชน โดยใชภาษาและ
การพูด เชนเดียวกับการใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ในการสื่อสาร
การสื่อสารกลุมยอยจะเกิดขึ้นเมื่อมีคนกลุมยอยมารวมตัวกันเพื่อที่จะแกปญหา ในเรื่องตาง ๆ
รวมกัน สมาชิกของกลุมยอยนี้ควรมีจํานวนไมมากนัก เพื่อทุกคนจะไดมีโอกาสพูดคุยกันไดถวนหนา
4.การสื่อสารในที่สาธารณะ (Public Communication)
เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการพูดในที่สาธารณะ (Public Speaking) โดยผูที่พูดจะตองมีการ
เตรียมตัวมาอยางดีที่สุด และการพูดก็ตองมีรูปแบบเปนทางการมากกวาการพูดแบบ 2 คนหรือแบบ
กลุมยอย ซึ่งลักษณะสําคัญของการพูดชนิดนี้ คือ
1) จะตองเกิดขึ้นในที่สาธารณะมากกวาในที่สวนบุคคล (Private Place) เชน ในหองบรรยาย
หองประชุม
2) เปนการพูดแบบทางการมากกวาการพูดในที่สวนบุคคล โดยจะตองมีการวางแผนการพูดลวงหนา
และผูพูดจะตองรูหนาที่กอนวาจะพูดเรื่องอะไร ตอนไหน เพราะมักจะมีผูพูดหลายคนในงานเดียวกันนี้
3) จะเกี่ยวของกับพฤติกรรมที่มีรูปแบบชัดเจน เชน จะตองมีการซักถามปญหาจากผูฟงหลังจาก
การพูดจบลงแลว
5.การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร
ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เพื่อทําการสื่อสารกับคนจํานวนมาก ซึ่งอยูในที่ตาง ๆ ทั่ว
ประเทศ หรือทั่วโลก
ผูรับสารของการสื่อสารมวลชนอาจเปนกลุมคนที่มีจํานวนมากนอยแตกตางกันไป หรืออาจจะเปน
คนเพียงคนเดียวก็ได ปจจัยสําคัญที่แตกตางกันในสื่อการสื่อสารมวลชนคือ ภาพลักษณ ภาษาพูด ภาษา
เขียน เสียงประกอบ ดนตรี สี แสง และเทคนิคตาง ๆ ที่ถูกใชในการสื่อสาร เนื้อหา และผลที่เกิดขึ้น
โดยเฉพาะ
~ 19 ~
ลักษณะที่สําคัญของการสื่อสารมวลชน
ลักษณะที่สําคัญของการสื่อสารมวลชน ซึ่งแตกตางจากการสื่อสารรูปแบบอื่น มีลักษณะดังนี้ คือ
1. ตองอาศัยเครื่องมือหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส
2. ผูรับสารมีจํานวนมากและมีความหลากหลายแตกตางกัน
3. ผูรับสารมวลชนอยูในที่ตาง ๆ
ผลที่เกิดจากการใชสื่อ (The Consequence of Using Media)
การสื่อสารของมนุษยจะขึ้นอยูกับสัญลักษณของภาษาพูด (Verbal) และภาษาทาทาง (Nonverbal)
และขั้นตอนของแบบจําลองแนวเสนตรง (Linear Model) โดยการนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสาร
ระหวางคนสองคน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการอยางชัดเจน
การนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสารกลุมยอยหรือระหวางคน 2 คน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 2
ประการ คือ
1. การขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบ (Feedback)
2. ขอจํากัดที่เครงครัดของผลที่เกิดขึ้น เพราะการขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบนั้น
การสื่อสารมวลชนเปนกระบวนการสื่อสารในแนวเสนตรง (Linear Process) ซึ่งผูสงสารไดเขารหัส
ความหมายของสารและสงสารมากมายหลายชนิดไปยังที่ตาง ๆ ในสาธารณะดวยเหตุผลหลายประการ ซึ่ง
การสงสารโดยผานสื่อมวลชนนั้น สารจะถูกสงกระจายไปยังผูรับสารจํานวนมากที่มีความแตกตางกัน
ผูรับสารจะเลือกรับสารตามวิธีการของแตละคน และจะแปลความหมายของสารที่คัดเลือกไว ซึ่ง
ความหมายของสารอาจจะเหมือนกันหรือไมเหมือนกันกับความหมายที่ผูสงสารตองการหมายถึงก็ได
การสื่อสารมวลชนและการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน มีความแตกตางกันหลายประการ เชน
ปฏิกิริยาโตตอบและการแสดงบทบาท ซึ่งการสื่อสารระหวางบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงและมีอิทธิพลได
สวนการสื่อสารมวลชนเปนการสื่อสารทางเดียว เปนกระบวนการที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง
การศึกษาในเรื่องของการสื่อสารมวลชน จะตองศึกษาในหลักใหญ ๆ 3 หลักดวยกัน คือ
1. ประวัติศาสตร คานิยม เศรษฐกิจและการเมือง ซึ่งมีผลตอสื่อ
2. สื่อแตละชนิดมีความเปนเอกลักษณของตัวเอง ซึ่งจะมีความแตกตางกันไป
3. สื่อที่มีผลตอเรา ตอสังคม และตอวัฒนธรรมของเรา
~ 20 ~
การสื่อสารทางสื่อมวลชน
มโนทัศน
1. สื่อมวลชนเปนการสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับที่มีจํานวนมากและอยูตาง
ถิ่นตางที่กันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน
2. สื่อมวลชนครอบคลุมสิ่งพิมพ ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและ
โทรคมนาคม
3. การสื่อสารดวยสื่อสิ่งพิมพครอบคลุมการสื่อสารทางหนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร ตํารา
และสิ่งตีพิมพในรูปแบบอื่นๆ
4. การสื่อสารดวยภาพยนตรเปนการเสนอสารที่ใหผูชมไดเห็นภาพเคลื่อนไหวและอาจมี
เสียงควบคูกันไป
แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน
สื่อมวลชน หมายถึง สื่อที่ใชสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับที่มีจํานวนมากและอยูตางถิ่น
ตางที่กันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน โดยมีจุดมุงหมายที่จะสงสารซึ่งไดแก ขาว ความรู ความ
คิดเห็น ทัศนคติ ความบันเทิง และแจงความ ฯลฯ ไปสูมวลชนดวยความรวดเร็ว เที่ยงตรง และประหยัด
ขอสังเกต การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) ซึ่งหมายถึงกระบวนการสงขาวสารทัศนคติ
ไปสูคนจํานวนมากโดยผานสื่อตางๆ นั้น สามารถแยกสวนประกอบไดดังนี้
1. Mass หมายถึง ผูรับสารหรือมวลชน ซึ่งมักจะมีความหลากหลายและไมสามารถกําหนด
จํานวนที่แนนอนได
2. Mass Media หมายถึง สื่อมวลชนหรือชองทางการนําสารไปสูมวลชน ซึ่งอาจเปนตัว
บุคคล ไดแก นักหนังสือพิมพ นักจัดรายการวิทยุ เปนตน หรืออาจเปนชองทางในการนําสารประกอบตางๆ
ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ และสิ่งตีพิมพอื่นๆ เปนตน
ประเภทของสื่อมวลชน สื่อมวลชนที่ดําเนินอยูในปจจุบันครอบคลุมสื่อ 6 ประเภท คือ
1. สิ่งพิมพ ไดแก หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร แบบเรียน ตํารา สารานุกรม และสิ่งพิมพ
อื่นๆ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงสารไปใหผูอาน เชน ใบปลิว โปสเตอรโฆษณา
2. ภาพยนตร รวมทั้งภาพยนตรสารคดี ภาพยนตรเรื่องและภาพยนตรการศึกษาบางประเภท
~ 21 ~
แนวขอสอบ นักประชาสัมพันธ การประปานครหลวง
1.สื่อมวลตองปฏิบัติตามหนาที่ของสื่อบนหลักการที่เนนการเสนอขอเท็จจริง และขอถกเถียงโดยปราศจาก
การใสรายหรืออคติ ตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
ตอบ ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
2.สื่อมวลชนมีหนาที่คนหาความจริง และตรวจสอบการทํางานของรัฐถือเปนการปฏิบัติหนาที่ตามทฤษฎีใด
ตอไปนี้
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
ตอบ ค. ทฤษฎีเสรีนิยม
3.ทฤษฎีใดตอไปนี้ที่สื่อมวลชนขาดอิสรภาพทางการเมือง แตมีความมิสระที่จะวิจารณทางดานเศรษฐกิจ
และสังคม
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
4.ทฤษฎีใดตอไปนี้มักเปนทฤษฎีการสื่อสาร ในประเทศโลกที่สาม
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม
5.การสื่อสารแบบเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication
ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication
~ 22 ~
ตอบ ข. Face–to–Face Communication
การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารที่ประกอบดวย
บุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป มาทําการสื่อสารกันในลักษณะที่ทั้งผูสงสาร และผูรับสารสามารถแลกเปลี่ยน
สารกันไดโดยตรง (Direct) และเปนการสื่อสารแบบตัวตอตัว (Person to Person) หรือเปนการสื่อสาร
แบบเผชิญหนา (Face–to–Face Communication) ซึ่งผูสงสารและผูรับสารสามารถเห็นหนากันและกัน
ไดในขณะที่ทําการสื่อสารกัน
6.การสื่อสารแบบไมเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication
ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication
ตอบ ก. Intrapersonal Communication
7.การสงอีเมลจัดเปนการสื่อสารแบบใดตอไปนี้
ก. Interpersonal Communication ข. Face–to–Face Communication
ค. Intrapersonal Communication ง. Interracial Communication
ตอบ ก. Interpersonal Communication
การสื่อสารระหวางบุคคล นั้นเกิดขึ้นไดทั้งแบบเผชิญหนา (Face–to–Face) เชนการพูดคุยของคน
2 คนที่อาศัยอากาศเปนสื่อหรือพาหนะในการนําเสียงของผูสงสารไปสูโสตสัมผัสทางหูของผูรับสาร ฯลฯ
และแบบตัวตอ (Person–to–Person) ที่ไมไดเผชิญหนา เชน การพูดโทรศัพท การเขียนจดหมาย
โตตอบกัน การสงอีเมล ฯลฯ
8.ผูใดตอไปนี้ ที่กลาววา เวลาพูดได คือกลางวันมีความหมายอยางหนึ่ง กลางคืนมีความหมายอีกอยาง
หนึ่ง
ก. Jurgen Ruesch ข. Hoveland
ค. Edward Hall ง. Warren W. Weaver
ตอบ ก. Jurgen Ruesch
เจอรเกน รอยซ และ เกรเกอรี เบทสัน (Jurgen Ruesch and Gregory Bateson) ใหความเห็นวา
"การสื่อสารไมไดหมายถึงการถายทอดสารดวยภาษาพูดและภาษาเขียนที่ชัดแจงและแสดงเจตนารมณ
~ 23 ~
35. การจัดตั้ง การประปานครหลวงขึ้น มีวัตถุประสงคตามขอใด
ก. สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการประปา
ข. ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัด
สมุทรปราการ
ค.ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ใหจัดตั้งการประปาขึ้นเรียกวา “การประปานครหลวง” มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้
(1) สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการประปา
(2) ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ
จังหวัดสมุทรปราการ และควบคุมมาตรฐานเกี่ยวกับระบบประปาเอกชนในเขตทองที่ดังกลาว
(3) ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา
36. การผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาของการประปานครหลวงนั้น ขอใดไมใชเขตพื้นที่รับผิดชอบของ
การประปานครหลวง
ก. กรุงเทพมหานคร ข. จังหวัดนนทบุรี
ค. จังหวัดสมุทรปราการ ง. จังหวัดธนบุรี
ตอบ ง. จังหวัดธนบุรี
37. ขอใดเปนอํานาจหนาที่ของผูวาการการประปานครหลวง
ก. บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน
ข. ลงโทษพนักงานและลูกจาง
ค. วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของการประปานครหลวงโดยไมขัดหรือแยงกับขอบังคับที่
คณะกรรมการวางไว
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูวาการมีอํานาจ
(1) บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน ตลอดจนลงโทษพนักงานและ
ลูกจาง ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการวางไว แตถาเปนพนักงานชั้นที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ
ผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอน
~ 24 ~
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (10)

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี 57 E-BOOK

  • 2. ~ 2 ~ สารบัญ สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 6 สัญลักษณ 7 การบริหารจัดการภาพลักษณ 8 ตราสัญลักษณประจําองคกร 10 สีประจําองคกร 10 ประวัติ/ภาระหนาที่ 10 ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 14 การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 15 ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 15 จริยธรรม 23 ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 25 แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 26 ธรรมภิบาล (Good Govermance) 27 สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 37 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 52 สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนงบริหารงาน หลักและทฤษฎีการสื่อสาร 62 ความเปนมาของการสื่อสาร 62 ความหมายของการสื่อสาร 63 หลักการสื่อสารที่สําคัญ 68 ความหมายของคําวา “มวลชน” 69 ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” 70 กระบวนการสื่อสารมวลชน 72 กระบวนการสื่อสารมวลขน (Mass Communication Process) 76 ทฤษฎีการสื่อสารที่เกี่ยวของ 85 แนวคิดทฤษฎีผูกรองสาร (Gatekeeper Theory) 86 แนวคิดทฤษฎีการใชสื่อเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ 87 แนวคิดทฤษฎีการเลน 88 ระบบการสื่อสารมวลชน 90 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีเสรีนิยม 92 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต 93 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีความรับผิดชอบตอสังคม 94 ความรูเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ มวลชนสัมพันธ 97 ความหมายของการประชาสัมพันธ 97
  • 3. ~ 3 ~ ลักษณะสําคัญของการประชาสัมพันธ 100 องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธ 103 กลุมมวลชน (Publics) 105 การเขียนขาวประชาสัมพันธ 108 เอกสารประชาสัมพันธ 109 การสื่อสารทางสื่อมวลชน 112 แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน 112 การสื่อสารทางสื่อสิ่งพิมพ 113 ระบบการพิมพ 115 การเขียนบรรยายภาพขาว 118 องคประกอบของเหตุการณที่มีคุณคาทางขาว 119 ประเภทและชนิดของขาว 120 คุณสมบัติของขาวที่ดี 122 นโยบายดานขาวของหนังสือพิมพ 122 การรวบรวมขอมูลขาว 123 เทคนิคการเขียน 134 การจัดทํารายการวิทยุ 137 หลักการเขียนขาววิทยุ 150 การพาสื่อมวลชน/กลุมเปาหมายเยี่ยมชมกิจการ 150 หลักสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีใหแกหนวยงาน 151 การสรางภาพลักษณขององคกรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคน 151 การใหขาวแกสื่อมวลชน 152 การเขียนบทสัมภาษณและการสัมภาษณผูบริหาร 154 การรวบรวมขอมูลขาวจากการสัมภาษณ 154 การใชอุปกรณในการรวบรวมขอมูลขาว 155 การจัดนิทรรศการ 157 การจัดแผนปาย 157 ประเภทของแผนปาย 157 เทคนิคการจัดทําแผนปาย 159 การจัดปายนิเทศ 159 การจัดปายนิเทศใหสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค 162 การกําหนดบริเวณวางในนิทรรศการ 163 การกําหนดทางเดินชมนิทรรศการ 164 การวางแผนเพื่อปฏิบัติงานประชาสัมพันธ 165 หลักการประชาสัมพันธ 165 วัตถุประสงคของการประชาสัมพันธ 167 หัวใจของการวางแผนงานประชาสัมพันธ 169 การวางแผนใหบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง 170 โครงสรางการเขียนขาวทุกประเภท 170 จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172
  • 4. ~ 4 ~ จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172 จริยธรรมการดําเนินงานของการประปานครหลวง 172 จริยธรรมการดําเนินงานขององคกร 173 จริยธรรมการดําเนินงานของคณะกรรมการ 174 จริยธรรมการดําเนินงานของพนักงานและลูกจาง 176 นักประชาสัมพันธและคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ 177 กฎหมายที่เกี่ยวของ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 180 แนวขอสอบ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 188 พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 197 แนวขอสอบ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 206 แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 211 แนวขอสอบ นักประชาสัมพันธ การประปานครหลวง 237
  • 5. ~ 5 ~ การประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม วิสัยทัศน   "เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับแนว หนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา" พันธกิจ "ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ" คานิยม "มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวยความ รับผิดชอบ" การจัดการองคกร ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวนเสีย ใน ที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่มี ความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโตอยาง ยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
  • 6. ~ 6 ~ ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ ยอมรับในระดับสากล 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การมีสวน รวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความ รับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหารจัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน สัญลักษณ พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง
  • 7. ~ 7 ~ ตราสัญลักษณประจําองคกร หมายเหตุ : สามารถเลือกใชได 2 แบบ ตามความเหมาะสม และไมควรดัดแปลง/แกไขตรา สัญลักษณประจําองคกร สีประจําองคกร ประวัติ/ภาระหนาที่ พระผูกอตั้งกิจการประปา วัน ที่ 13 เดือนกรกฏาคม พ.ศ.2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ได ประกาศพระบรมราชโองการทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกรมศุขาภิบาลจัดการที่จะนําน้ํามา ใชในพระนครตามแบบอยางที่สมควรแก ภูมิประเทศการที่จะตองจัดทํานั้นคือ • ใหตั้งทําที่น้ําขังที่คลองเชียงราก แขวงเมืองปทุมธานี อันเปนที่พนเขตน้ําเค็มขึ้นถึงทุก ฤดู สีน้ําเงิน C95 M70 Y15K0 หรือ PANETONE 653 C สีเขียวน้ําทะเล C80 M0 Y35 K0 หรือ PANETONE 325 C สีฟาใส C30 M0 Y0 K0 หรือ PANETONE 290 C
  • 8. ~ 8 ~ ธรรมมาภิบาล (Good Governance)  ประเทศไทยประสบกับปญหาการทุจริตคอรรัปชั่นจนกลายเปนวิกฤตในสังคมซึ่งสงผล กระทบตอการดําเนินนโยบายของรัฐจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองสรางจิตสํานึกดานคุณธรรมจริยธรรม ใหกับเจาหนาที่ของรัฐผูซึ่งมีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ตามนโยบายของรัฐและใหบริการ แกประชาชนเพื่อนําไปสูความเจริญรุงเรืองของประเทศชาติ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงมีสาระสําคัญประการหนึ่งที่ มุงแกไขปญหาการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม รวมทั้งการ ดําเนินการทางการเมืองที่ขาดความโปรงใสไมมีคุณธรรม จริยธรรม โดยการบัญญัติถึงการ สรางมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐ แตละประเภทซึ่งรวมถึงรัฐวิสาหกิจไวเปนเรื่องสําคัญ กําหนดใหหนวยงานของรัฐทุกแหงตอง จัดใหมีประมวลจริยธรรมเพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของตนและใหเจาหนาที่ของรัฐ ภายในหนวยงานประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมนั้นอยางเครงครัดเพื่อมุงเนนใหการ ใชอํานาจรัฐมีความโปรงใส มีคุณธรรมและจริยธรรม โดยกําหนดไวในหมวด 13 จริยธรรมของ ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศสูสังคมอยู เย็นเปนสุขรวมกัน คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง สังคมสันติสุข และ นโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายดานการปฏิรูปการเมือง การ ปกครอง และการบริหาร ซึ่งมุงเสริมสรางมาตรการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติ มิชอบในภาคการเมืองและภาคราชการทั้งในระดับทองถิ่นและในระดับชาติโดยถือวาการ ปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเปนเครื่องมือหนึ่งในการเสริมสรางคุณธรรมและ จริยธรรมในองคกร เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งเพื่อให การดําเนินการเสริมสรางจริยธรรมและคุณธรรมของการประปานครหลวงบังเกิดผลอยางเปน รูปธรรม คณะกรรมการการประปานครหลวง จึงไดสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของการประปา นครหลวง โดยการจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวงกําหนดเปนขอบังคับการ ประปานครหลวง ฉบับที่ 133 วาดวย ประมวลจริยธรรมของผูวาการและพนักงาน การประปา นครหลวงพ.ศ.2552
  • 9. ~ 9 ~ กองวินัยและเสริมสรางจริยธรรม ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล ในฐานะหนวยงานซึ่ง ปฏิบัติงานดานเสริมสรางจริยธรรมในองคกรและเปนหนวยงานหลักที่ไดรับมอบหมายในการ ประสานงานจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง รวมทั้งมีบทบาทสําคัญในการ ติดตาม ควบคุม และดูแลใหพนักงานการประปานครหลวงปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมที่ได กําหนดไวในประมวลจริยธรรม จึงไดจัดทําคูมือจริยธรรมของการประปานครหลวงฉบับนี้ ขึ้น โดยมีสาระสําคัญเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง ทั้งในสวนความ เปนมา มาตรฐานทางจริยธรรม กลไกการบังคับใช และขั้นตอนลงโทษ เพื่อเผยแพรความรู เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมใหกับพนักงานและผูปฏิบัติงานไดรับทราบและนํามายึดถือเปน แนวทางในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองพรอมทั้งหลีกเลี่ยงมิใหเกิดการฝาฝนมาตรฐาน จริยธรรมที่กําหนดไว เสริมสรางจริยธรรมในองคกร และเผยแพรภาพลักษณที่ดีขององคกรให เปนที่ยอมรับของสังคม อันจะนําพาองคกรไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว และ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศชาติ จริยธรรม คําวา“จริยธรรม” แยกออกไดเปนจริย+ธรรมซึ่งคําวาจริยะหมายถึงความประพฤติหรือ กิริยาที่ควรประพฤติ สวนคําวาธรรมมีความหมายหลายประการเชนคุณความดี, หลักคําสอนของ ศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้งสองมารวมกันเปน "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา “หลักแหงความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการประพฤติ” ที่กลาวมานั้นเปนความหมายตาม ตัวอักษรของคําวา “จริยธรรม” ซึ่งเปนแนวทางใหนักวิชาการหลายทาน ไดให ความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวคลายคลึงกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ,ศีลธรรม,กฎศีลธรรม - พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 จริยธรรม หมายถึง แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอันทรงคุณคา พึงประสงค - ผลการสัมมนาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ เรื่อง จริยธรรมใน สังคมไทยปจจุบัน ซึ่งจัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) จริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติเปนหลักสําหรับใหบุคคลยึดถือใน การปฏิบัติตน - วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก
  • 10. ~ 10 ~ จริยธรรม หมายถึง ระเบียบปฏิบัติที่มุงปฏิบัติเพื่อใหเกิดความผาสุกในสังคม เปนสิ่งที่ มนุษยทําขึ้น แตงขึ้นตามเหตุผลของมนุษยเอง หรือตามความตองการของมนุษย – พุทธทาส ภิกขุ จริยธรรม หมายถึง การนําความรูในความจริงหรือกฎธรรมชาติไปใชใหเกิดประโยชน ตอการดําเนินชีวิตที่ดีงาม อันจะทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม – พระราชวรมุนี ตามนิยามขางตน สามารถประมวลสรุปความไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการ ประพฤติปฏิบัติตนใหเปนคนดี เปนประโยชนสุขแกตนเองและสวนรวม นอกจากนี้ จริยธรรมไมใชกฎหมาย เพราะกฎหมายเปนสิ่งบังคับใหคนทําตาม และมี บทลงโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนั้น สาเหตุที่คนเคารพเชื่อฟงกฎหมายเพราะกลัวถูกลงโทษ ในขณะที่จริยธรรมไมมีบทลงโทษ ดังนั้น คนจึงมีจริยธรรมเพราะมีแรงจูงใจ แตอยางไรก็ตาม กฎหมายก็มีสวนเกี่ยวของกับจริยธรรมในฐานะเปนแรงหนุนจากภายนอกเพื่อใหคนมีจริยธรรม และโดยทั่วไปจริยธรรมมักอิงอยูกับศาสนา ทั้งนี้เพราะคําสอนทางศาสนามีสวนสรางระบบ จริยธรรมใหสังคม แตทั้งนี้มิไดหมายความวา จริยธรรมอิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียง อยางเดียว แทที่จริงนั้นจริยธรรมหยั่งรากอยูบนขนบธรรมเนียมประเพณี โดยนัยนี้ บางคนเรียก หลักแหงความประพฤติอันเนื่องมาจากคําสอนทางศาสนาวา "ศีลธรรม" และเรียกหลักแหง ความประพฤติอันพัฒนามาจากแหลงอื่น ๆ วา "จริยธรรม" ในทรรศนะของนักวิชาการหลาย ทาน ศีลธรรมกับจริยธรรมจึงเปนอันเดียวกัน ไมอาจแยกเด็ดขาดจากกันได ความแตกตางอยู ตรงแหลงที่มา ถาแหลงแหงความประพฤตินั้นมาจากศาสนาหรือขอบัญญัติของศาสนา นั่นคือ ศีลธรรม แตถาเปนหลักทั่ว ๆ ไป ไมเกี่ยวกับศาสนา เชน คําสอนของนักปรัชญา นั่นคือ จริยธรรม กลาวคือ จริยธรรมจะมีความหมายกวางกวาศีลธรรมเพราะศีลธรรมเปนหลักคําสอนทาง ศาสนาที่วาดวยความประพฤติปฏิบัติชอบ สวนจริยธรรมหมายถึงหลักแหงความประพฤติปฏิบัติ ชอบอันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียมประเพณี กลาวโดยสรุป จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี ซึ่งมี ลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติปฏิบัติตามอันถือกันวาเปนการกระทําที่ดี ดังนั้น การ ดําเนินชีวิตตามหลักจริยธรรมเปนสิ่งที่สังคมตองการ สังคมจึงไดจัดใหมีการวางแนวทางของ การประพฤติปฏิบัติตนและมีการสั่งสอนอบรมเรื่องจริยธรรมแกสมาชิกของสังคม ผลที่สังคม คาดหวังคือการที่สมาชิกนอมนําเอาจริยธรรมไปประพฤติในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับ การ กําหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีประมวลจริยธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเพื่อ
  • 11. ~ 11 ~ หลักและทฤษฎีการสื่อสาร ตนกําเนิดของภาษา (The Origins of Language) มนุษยในสมัยกอน เชน Australopithecus, Homo Habilis และ Homo Erectus นั้น ยังไม สามารถพูดไดหรือยังไมมีการพูดเพื่อสื่อสารกัน ที่เปนเชนนั้นเพราะลักษณะโครงสรางทางกายภาพ อัน ไดแกโครงสรางของกลองเสียงยังเหมือนกับพวกลิงที่สงเสียงไดเทานั้น จึงทําใหไมสามารถควบคุมเสียงให เปลงออกมาเปนคําพูดได ในยุคของมนุษยพวก Neanderthal (Homo Sapiens Neanderthalensis) ที่อาศัยอยูตั้งแตสมัย โบราณ ประมาณ 150,000 – 125,000 ปมาแลว จะสามารถสื่อสารกันไดโดยใชภาษาทาทาง ดวยวิธีการ เคลื่อนไหวรางกาย และเสียงเทาที่สามารถเปลงออกมาได ตอมาในชวง 90,000 ถึง 35,000 ปที่ผานมา มีมนุษยเกิดขึ้นมากมายหลายจําพวกเขามาแทนพวก Neanderthal มนุษยพวกนี้มีชื่อเรียกวา Cro–Magnon (Homo Sapiens Sapiens) ซึ่งถือไดวาเปนบรรพ บุรุษของพวกมนุษยในปจจุบัน ถาใหพวก Cro–Magnon แตงตัวดวยเสื้อผาที่ทันสมัย ก็จะไมมีอะไรที่แตกตางจากมนุษยในปจจุบัน เลย เพราะพวกนี้มีกลองเสียง ลิ้น และโครงสรางของริมฝปากที่เหมือนกับมนุษยปจจุบัน สามารถควบคุม เสียงที่เปลงออกมาได จึงมีความเปนไปไดที่พวก Cro–Magnon อาจพูดได และเกิดการพัฒนาจนเปน ภาษาในเวลาตอมา การใชภาษาจึงเริ่มตนขึ้นเมื่อประมาณ 40,000 ปมาแลว และการสื่อสารก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเปน ครั้งแรกเชนกัน จึงกลาวไดวาภาษาคือจุดเริ่มตนของกระบวนการสื่อสารของมนุษย ที่พัฒนาตอมาจนถึง การสื่อสารมวลชน และการสื่อสารของมนุษยก็คือพื้นฐานของการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน ความเปนมาของการสื่อสาร การสื่อสารเกิดขึ้นมาพรอม ๆ กับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยไดตอสูกับธรรมชาติและดิ้นรน เพื่อการมีชีวิต อยูรอด โดยใชการสื่อสารเปนเครื่องมือ เพื่อชวยใหบรรลุผลในการทํางานตางๆ มนุษยอยู รวมกันไดเปนชนเผา เปนสังคม เปนประเทศชาติ โดยใชการสื่อสารระหวางกัน เพื่อการเขาใจรวมกัน สราง จุดมุงหมายรวมกัน การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือที่มนุษยใชเพื่อสรางและพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน มนุษยจึงเล็งเห็นความสําคัญและใหความสนใจศึกษาคนควาเกี่ยวกับการสื่อสารมาเปนเวลานานแลว
  • 12. ~ 12 ~ การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารไดเริ่มมีมาเปนเวลานับพันปแลว ตั้งแตยุคที่อารยธรรมกรีกและโรมัน ยังเจริญรุงเรืองอยูในยุโรปโบราณ นักปราชญชาวกรีก คือ อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งเปนปรมาจารยที่ได ศึกษาในเรื่องของศาสตรเกี่ยวกับการ สื่อสาร และเปนผูที่มองเห็นความสําคัญของการสื่อสารวาเปน ชองทางใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการได กําเนิดของการสื่อสาร คนเราจําเปนตองเกี่ยวของกับการสื่อสารตลอดทั้งชีวิตของเราโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเรา มักจะไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะพัฒนาใหมีความเขาใจในการสื่อสารได ดังนั้นการที่เรารูเรื่องของการ สื่อสารวามันคืออะไร จะเปนโอกาสดีที่ทําใหเราเขาไปเกี่ยวของกับการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ความหมายของการสื่อสาร “การสื่อสาร” (Communication) หมายถึง การผลิตสารอยางตั้งใจ และไดถายทอดสารนั้นโดย บุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอื่น หรือหลาย ๆ คน เมื่อผูรับสารไดรับสารแลว จะทําการแปลสารใหเขาใจตรง ตามที่ผูสงสารตองการ ก็ถือไดวาการ สื่อสารนั้นประสบผลสําเร็จ แตถาหากผูรับสารไดรับสารแลว แปลสารไมตรงตามความหมายที่ผูสงสารตองการ การสื่อสารนั้นก็ เกิดความ ลมเหลวไมประสบผลสําเร็จ สิ่งนี้เราเรียกไดวา การสื่อสารเกิดความลมเหลว (Communication Breakdown) หรือเกิดความผิดพลาดในการสื่อสาร (Miscommunication) Communication มาจากภาษาลาตินวา Communis, Common เมื่อคนเราทําการสื่อสารนั่นหมายถึง การที่เรากําลังสรางความคุนเคยกับคน ๆ หนึ่ง โดยที่เราพยายามจะแลกเปลี่ยน (Share) ขาวสาร (Information) ความคิด (Idea) และทัศนคติ (Attitude) ดังนั้นการสื่อสารจึงหมายถึงการที่คนเราทําการสื่อสารความคิด โดยมีความพยายามใหผูสงสาร (Sender) และ ผูรับสาร (Receiver) ปรับความคิดเขาหากัน เพื่อจะไดเขาใจสารไดตรงกัน องคประกอบของการสื่อสาร การสื่อสารโดยทั่ว ๆ ไป มีองคประกอบที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ
  • 13. ~ 13 ~ 1.แหลงขาวสาร (Source) อาจเปนบุคคลคนเดียว (Individual) ที่ใชวิธีการพูด การเขียน การวาด ภาพ กิริยาทาทาง หรือเปนการสื่อสารแบบองคกร (Organization) ที่มีแหลงขาวสาร ซึ่งไดแก หนังสือพิมพ นิตยสาร สถานีวิทยุ – โทรทัศน โรงถายภาพยนตร เปนตน 2.สาร (Message) อาจเปนรูปแบบของหมึกที่ใชในการพิมพบนกระดาษ คลื่นวิทยุในอากาศ การวิ่ง ของกระแสไฟ การโบกมือ ธงโบกสะบัด หรือสัญญาณอื่น ๆ ที่สามารถแปลความหมายใหเขาใจไดก็ถือวา เปนสาร 3.จุดหมายปลายทาง (Destination) อาจเปนบุคคลคนหนึ่งที่กําลังฟง กําลังดู กําลังอานหรืออาจ เปนกลุมคน เชน กลุมสนทนา กลุมผูฟงการบรรยาย กลุมผูชมฟุตบอล กลุมประทวง หรืออาจเปนบุคคล จากกลุม ๆ หนึ่ง ที่เราเรียกวา ผูรับสารมวลชน (Mass Audience) เชน กลุมผูอานหนังสือพิมพ กลุมผูรับ ฟงรายการวิทยุ กลุมผูชมภาพยนตร หรือกลุมผูชม รายการวิทยุโทรทัศน เปนตน ถาแหลงขาวสารพยายามที่จะสรางความเขาใจในความหมายของสารที่ตรงกัน รวมกัน ใหกับผูรับ สารที่แหลง ขาวสารตองการสงสารให กอนอื่นผูสงสารหรือแหลงขาวสารจะทําการเขารหัสสาร (Encoder) ที่อาจจะเปนขาวสารหรือความรูสึกที่ตองการจะแลกเปลี่ยนกับผูรับสาร โดยทําใหเปนรูปแบบที่สามารถ ถายทอดออกมาใหเขาใจได เพราะ “รูปภาพที่อยูในหัวในสมองของเรา” ไมสามารถถายทอดใหเห็นออกมา เปนภาพไดจนกวาจะนําสารนั้นมาเขารหัสความหมายกอนจึงจะสามารถเขาใจได เมื่อรูปภาพถูกนํามาเขารหัสเปนคําพูดที่สามารถถายทอดใหเขาใจไดงายขึ้นและมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น แตการ ถายทอดนั้นอาจมีอุปสรรคที่ไมสามารถสงไปไดไกลนัก ถาตองการใหสารไปไดไกล ๆ ก็ตอง อาศัยคลื่นวิทยุเปนตัวนําไปจึงจะไปไดไกลกวา แตถาสารถูกนํามาใสรหัสเปนตัวหนังสือ สารนั้นจะถูกถายทอดไปไดชากวาคําพูด แตก็ไปไดไกลกวา และอยูไดนานมากกวาคําพูด และการที่จะทําใหการสื่อสารดําเนินไปอยางสมบูรณ สารที่สงมาตองถูก ถอดรหัส (Decoder) โดยผูรับสาร เพื่อใหเขาใจความหมายของสารไดตรงกันกับที่ผูสงสารใสความหมาย ไว ระบบการสื่อสารของมนุษย ระบบการสื่อสารของมนุษยมีลักษณะคลายกับวงจรการทํางานของวิทยุและโทรทัศน ดังแผนภูมิ Source Encoder Signal Decoder Destination Encoder หมายถึง ไมโครโฟนที่ใชสําหรับการเขารหัสสาร
  • 14. ~ 14 ~ Decoder หมายถึง หูฟงที่ใชสําหรับการถอดรหัสสาร Signal หมายถึง สัญญาณหรือสัญลักษณที่ใชในระบบการสื่อสารขั้นพื้นฐานของมนุษย (Human Communication) ซึ่งก็คือ ภาษา (Language) อันเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความเขาใจรวมกัน และเปน จุดเริ่มตนของกระบวนการ สื่อสารของมนุษย มนุษยเราสื่อสารกันอยางไร การสื่อสารของมนุษยยอมแตกตางจากสิ่งตาง ๆ ที่ดํารงชีวิตอยูบนโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งมนุษยเรา สื่อสารกันโดยใช “ภาษาพูดและภาษาเขียน” ซึ่งเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีความเจริญและซับซอนมาก ขึ้น สัตวใชการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ เปนการสื่อความหมาย ซึ่งสวนใหญแลวพฤติกรรมตาง ๆ นั้น ไดรับการ ถายทอดสืบตอกันมา บางครั้งไดมาจากการเรียนรู แตก็ไมไดขึ้นกับวัฒนธรรมเหมือนกับมนุษย เพราะมีแตมนุษยเทานั้นที่ทําการสื่อสารกันโดยตองคํานึงถึงวัฒนธรรมและกฎระเบียบตาง ๆ ของสังคม การใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาทาทาง (The Use of Verbal and Nonverbal Symbols) ในปจจุบันมนุษยเรายังคงทําการสื่อสารกัน ไมวาจะเปนการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน (Face to Face) หรือการ สื่อสารที่ตองผานสื่อตาง ๆ โดยใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาที่ไมออกเสียง สัญลักษณที่ใช ไดแก คําพูด กิริยาทาทาง หรือสิ่งที่แทนความหมายในภาษาของแตละชุมชน ซึ่งขึ้นอยูกับ วัฒนธรรมดวย เชน ไมกางเขน แหวนแตงงาน แหวนหมั้น ฯลฯ การสื่อสารของมนุษย :แบบจําลองแนวเสนตรง (HumanCommunication:ABasicLinearModel) ถึงแมวาสัญลักษณ ความหมาย ไวยากรณ โครงสรางของคํา โครงสรางของประโยค และการออก เสียงจะเปนสิ่งที่สําคัญของภาษา แตสิ่งเหลานี้ไมไดแสดงใหเห็นเลยวามนุษยเราสื่อสารกันอยางไร ดังนั้น เพื่อแสดงใหเห็นวาคนเรามีความ เกี่ยวของกับการสื่อสารกันไดอยางไรบาง จึงมีความจําเปนที่จะตองศึกษา กระบวนการสื่อสารทุกขั้นตอนโดยละเอียด ขั้นตอนของกระบวนการสื่อสารมีอยู 6 ขั้นตอน ดังนี้
  • 15. ~ 15 ~ หลักการสื่อสารที่สําคัญ ความเปนมาของการสื่อสารมวลชน มนุษยเราเริ่มทําการสื่อสารกันมาเปนเวลาชานานแลว นับตั้งแตอดีตเปนตนมา แตความสามารถใน การที่จะใชสื่อตาง ๆ เพื่อเก็บหรือถายทอดขอมูลขาวสารจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพิ่งจะมีการพัฒนาขึ้นมาใน ระยะหลังนี้เอง สื่อ คือเครื่องมือที่ใชสําหรับถายทอดขอมูลขาวสารผานระยะเวลาและระยะทาง โดยผูสงสารจะสง สารไปหรือบันทึกไวโดยใชสื่อผานไปใหผูรับสารที่อยูที่อื่นหรือเวลาอื่น เมื่อผูรับสารไดรับสารแลวก็จะแปล สารที่ไดรับ การสื่อสารแบบใชสื่อกลางก็เหมือนกับการสื่อสารในรูปแบบอื่นของมนุษย คือ กระบวนการที่ เชื่อมโยงผูสงสารกับ ผูรับสารที่ทําการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารโดยใชภาษาพูดหรือภาษาเขียน ใน ความหมายนี้จะเห็นไดวามีการใชสื่อมานานแลว ในปจจุบันสื่อไดกระตุนใหมนุษยมีความตื่นตัวที่จะเอาชนะระยะเวลาและระยะทาง เพราะเรากําลัง อยูในยุคของการปฏิวัติการสื่อสารซึ่งกําลังเขามาแทนที่การสื่อสารแบบเดิมที่มนุษยเราใชภาษาเพื่อการ สื่อสารเทานั้น ปจจุบันสื่อมวลชนสามารถเขาถึงผูรับสารไดเปนจํานวนนับลาน โดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมไดอยาง นามหัศจรรย แตอยางไรก็ตาม สื่อมวลชนก็ยังคงทําหนาที่เหมือนเดิมเชนที่เคยปฏิบัติกันมาตั้งแตสมัย โบราณตัวอักษรหรือสัญลักษณอียิปตโบราณ สัญญาณควันไฟ เสียงกลองไดถูกสงผานระยะเวลาและ ระยะทางมาถึงปจจุบัน สิ่งที่แตกตางกันระหวางอดีตกับปจจุบันก็คือ ในปจจุบันผูสงสารสามารถสงสารไปยังผูรับสารจํานวน มากได พรอมกันทันทีในเวลาเดียวกัน ถึงแมผูรับสารจะอยูในที่ตาง ๆ กันก็ตาม อยางไรก็ตาม สื่อไมใชสาร แตสารที่ถูกสรางขึ้นก็อาจมีขอจํากัด และอาจเขาใจไดยาก เพราะสื่อหนึ่ง ก็มีความ แตกตางไปจากสื่ออื่น ซึ่งอาจเสริมสรางประสบการณของการสื่อสารดวยการรับรู หรือการ จินตนาการโดยไมมีการเผชิญหนากันในระหวางการสนทนา หรือสารอาจจะมีความถูกตองนอยลงก็ได เมื่อ สารไดไปถึงผูรับสาร ถึงแมเรากําลังอยูในยุคของความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสมัยใหม แตเราก็ยังอยูกับ กระบวนการสื่อสารขั้น พื้นฐานของมนุษยที่ใชกันมาตั้งแตสมัยโบราณ ผูรายงานขาวจะใชคําใชประโยคใน
  • 16. ~ 16 ~ หนังสือพิมพหรือทางวิทยุโทรทัศนอยางไร จึงจะเปนภาษาที่ถูกตอง เพื่อใหผูรับสารสามารถเขาใจเรื่องราว ไดทันที ความหมายของคําวา “มวลชน” “มวลชน” (Mass) หมายถึง ประชาชนจํานวนมาก ซึ่งขาวสาร (Information or Texts) ใน กระบวนการสื่อสาร มวลชน (Process of Mass Communication) เผยแพรไปถึง “สื่อมวลชน” (Mass Media) หมายถึง เครื่องมือที่ใชในการสงสารหรือสื่อขาวสารไปสูประชาชนหรือ มวลชน “การสื่อสารมวลชน” (Mass Communication) หมายถึง การสงสารโดยใชเทคโนโลยีบางอยาง เพื่อใหขาวสารไปถึงผูรับสารจํานวนมากในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการสื่อสารมวลชนจึงเปนการสงสารไปสู ประชาชนจํานวนมาก (มวลชน) มากกวาที่จะเปนการสงสารถึงคนเพียงคนเดียว หรือ 2 – 3 คน หรือกลุม ใดกลุมหนึ่งเทานั้น Lazarsfeld และ Kendall ไดใหคําจํากัดความของคําวา “มวลชน” ไววา มวลชนนั้นควรที่จะใช สําหรับสื่อดานวิทยุกระจายเสียง (ซึ่งเหมาะมากกวาสื่ออื่นที่เขาถึงกลุมประชาชนอยางไมเปนทางการ) Friedson ไดโตแยงการใหความหมายของคําวา มวลชน (Mass) ของ Lazarsfeld และ Kendall วายังมีไม มากพอ ดังนั้นเขาจึงไดใหความหมายของคําวา มวลชน เพิ่มเติมขึ้นมาใน 4 ลักษณะดังนี้ 1. ผูรับสารมีความแตกตางกัน เพราะมาจากกลุมที่มีความแตกตางกันในสังคม 2. ผูรับสารแตละคนไมรูจักซึ่งกันและกัน 3. ผูรับสารอยูในที่ตาง ๆ กัน ไมสามารถมีปฏิกิริยาหรือแลกเปลี่ยนประสบการณตอกันได 4. ไมมีหัวหนากลุมในมวลชน และถาเปนองคกร ก็เปนองคกรที่มีความอิสระมาก Herbert Blumer นักสังคมวิทยา ไดใหความหมายของคําวา มวลชน ไวดังนี้ มวลชน ไมใชองคกรทางสังคม ไมมีขนบธรรมเนียมประเพณี ไมมีการกําหนดกฎเกณฑ ไมมีพิธีการ ไมมีความ รูสึกตอกัน ไมมีโครงสราง ไมมีบทบาท ไมมีหัวหนากลุม แตเปนเพียงกลุมคน ซึ่งแยกกันอยู โดยไมระบุชื่อวาเปนใคร มวลชนในที่นี้เกี่ยวของกับสารสําหรับคนจํานวนมาก และเผยแพรโดยสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง แตกตาง กันจากสารเฉพาะตัว เชน ในจดหมาย หรือในการสนทนากันทางโทรศัพท รายการโทรทัศนตางก็มีผูรับชม ในที่ตาง ๆ จากเครื่องรับหลาย ๆ เครื่อง โดยการที่มีผูชมรายการมากเทาใดจะขึ้นอยูกับรายการที่เผยแพร อยูดวย
  • 17. ~ 17 ~ ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรือ ไปยังคนอีกกลุมหนึ่ง ซึ่งในการสื่อสารจะไมคํานึงถึงกระบวนการ แตจะคํานึงถึงสาร (Message) ที่ถูกสง มามากกวา คําวา Communicationและ Community มาจากรากศัพทภาษาลาติน ซึ่งเหมือนกับคําวา Common, Communis ลักษณะที่เหมือนกันนี้เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเราเขาใจกระบวนการสื่อสารไดใน 2 ระดับ คือ 1.คุณลักษณะของกระบวนการสื่อสารควรจะมีมากกวาผูที่มีสวนรวมในสิ่งที่เหมือน ๆ กัน เชน ประสบการณที่ผานมา คานิยม และความเชื่อ สิ่งเหลานี้ก็คือคุณลักษณะของชุมชนของแตละบุคคลดวย 2. กระบวนการสื่อสารมวลชนตองการการเขารหัส (Encoding) โดยผูสงสาร และถอดรหัส (Decoding) โดยผูรับสาร ซึ่งสามารถทําใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ เพียงผูที่มีสวนรวมเขาใจในการ เขารหัสและถอดรหัสรวมกัน และสิ่งที่ทําใหเกิดความเขาใจรวมกันก็คือ ภาษา ระดับของการสื่อสาร (Levels of Communication) การสื่อสารของมนุษย คือ การปฏิบัติการสงความคิดและทัศนคติ จากคน ๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง การเขียน จดหมายถึงกัน และการพูดคุยกัน คือ 2 วิธีการที่ใชสําหรับการสื่อสารของมนุษย นอกจากนี้เรา ยังสื่อสารกันดวยกิริยาทาทาง การเคลื่อนไหวรางกาย หรือแมกระทั่งการกะพริบตา การขมวดคิ้ว ก็เปน การสื่อสารของมนุษยทั้งสิ้น ระดับของการสื่อสารสามารถจําแนกออกเปนระดับ ดังนี้คือ 1.การสื่อสารสวนบุคคล (Intrapersonal Communication) เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในรางกายหรือในตัวของเราเอง ไดแก การที่เราพูดกับตัวเอง เมื่อเรา คิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราก็อาจพูดเบา ๆ กับตัวเองหรือพูดออกมาลอย ๆ โดยเรื่องราวหรือเนื้อหาของการสื่อสารสวนบุคคล จะประกอบดวยความคิด (Thought) ซึ่งสื่อกลาง หรือชองทางของการสื่อสารสวนบุคคลนี้คือระบบประสาทที่ผานความคิดและผานกระบวนการในสมองอีก ทีหนึ่ง 2.การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลหนึ่งกับอีกบุคคลหนึ่งหรือกับคนอื่นที่มีจํานวนไมมากนัก ซึ่ง บางครั้งผูสงสารจะมีความคุนเคยกัน เชน ในงานเลี้ยงสังสรรค ฯลฯ แตบางครั้งก็ไมคุนเคยกัน เชน เมื่อ คนแปลกหนาพูดอยูบนถนน บนรถโดยสารหรือในหางสรรพสินคา
  • 18. ~ 18 ~ สื่อกลางในกรณีนี้คือคลื่นอากาศ และเนื้อหาก็คือสิ่งที่ไดพูด สวนสิ่งสําคัญในการสื่อสารคือ การ ใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ผานทางภาษาทาทาง การแสดงสีหนา เสื้อผา และสิ่งอื่น ๆ 3.การสื่อสารกลุมยอย (Small Group Communication) เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับคนจํานวนหนึ่งที่ทําการสื่อสาร เชน การบรรยายในหองเรียน การ ประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือการแสดงสุนทรพจนในการรวมตัวเปนกลุมของประชาชน โดยใชภาษาและ การพูด เชนเดียวกับการใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ในการสื่อสาร การสื่อสารกลุมยอยจะเกิดขึ้นเมื่อมีคนกลุมยอยมารวมตัวกันเพื่อที่จะแกปญหา ในเรื่องตาง ๆ รวมกัน สมาชิกของกลุมยอยนี้ควรมีจํานวนไมมากนัก เพื่อทุกคนจะไดมีโอกาสพูดคุยกันไดถวนหนา 4.การสื่อสารในที่สาธารณะ (Public Communication) เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการพูดในที่สาธารณะ (Public Speaking) โดยผูที่พูดจะตองมีการ เตรียมตัวมาอยางดีที่สุด และการพูดก็ตองมีรูปแบบเปนทางการมากกวาการพูดแบบ 2 คนหรือแบบ กลุมยอย ซึ่งลักษณะสําคัญของการพูดชนิดนี้ คือ 1) จะตองเกิดขึ้นในที่สาธารณะมากกวาในที่สวนบุคคล (Private Place) เชน ในหองบรรยาย หองประชุม 2) เปนการพูดแบบทางการมากกวาการพูดในที่สวนบุคคล โดยจะตองมีการวางแผนการพูดลวงหนา และผูพูดจะตองรูหนาที่กอนวาจะพูดเรื่องอะไร ตอนไหน เพราะมักจะมีผูพูดหลายคนในงานเดียวกันนี้ 3) จะเกี่ยวของกับพฤติกรรมที่มีรูปแบบชัดเจน เชน จะตองมีการซักถามปญหาจากผูฟงหลังจาก การพูดจบลงแลว 5.การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เพื่อทําการสื่อสารกับคนจํานวนมาก ซึ่งอยูในที่ตาง ๆ ทั่ว ประเทศ หรือทั่วโลก ผูรับสารของการสื่อสารมวลชนอาจเปนกลุมคนที่มีจํานวนมากนอยแตกตางกันไป หรืออาจจะเปน คนเพียงคนเดียวก็ได ปจจัยสําคัญที่แตกตางกันในสื่อการสื่อสารมวลชนคือ ภาพลักษณ ภาษาพูด ภาษา เขียน เสียงประกอบ ดนตรี สี แสง และเทคนิคตาง ๆ ที่ถูกใชในการสื่อสาร เนื้อหา และผลที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะ
  • 19. ~ 19 ~ ลักษณะที่สําคัญของการสื่อสารมวลชน ลักษณะที่สําคัญของการสื่อสารมวลชน ซึ่งแตกตางจากการสื่อสารรูปแบบอื่น มีลักษณะดังนี้ คือ 1. ตองอาศัยเครื่องมือหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส 2. ผูรับสารมีจํานวนมากและมีความหลากหลายแตกตางกัน 3. ผูรับสารมวลชนอยูในที่ตาง ๆ ผลที่เกิดจากการใชสื่อ (The Consequence of Using Media) การสื่อสารของมนุษยจะขึ้นอยูกับสัญลักษณของภาษาพูด (Verbal) และภาษาทาทาง (Nonverbal) และขั้นตอนของแบบจําลองแนวเสนตรง (Linear Model) โดยการนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสาร ระหวางคนสองคน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการอยางชัดเจน การนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสารกลุมยอยหรือระหวางคน 2 คน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ประการ คือ 1. การขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบ (Feedback) 2. ขอจํากัดที่เครงครัดของผลที่เกิดขึ้น เพราะการขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบนั้น การสื่อสารมวลชนเปนกระบวนการสื่อสารในแนวเสนตรง (Linear Process) ซึ่งผูสงสารไดเขารหัส ความหมายของสารและสงสารมากมายหลายชนิดไปยังที่ตาง ๆ ในสาธารณะดวยเหตุผลหลายประการ ซึ่ง การสงสารโดยผานสื่อมวลชนนั้น สารจะถูกสงกระจายไปยังผูรับสารจํานวนมากที่มีความแตกตางกัน ผูรับสารจะเลือกรับสารตามวิธีการของแตละคน และจะแปลความหมายของสารที่คัดเลือกไว ซึ่ง ความหมายของสารอาจจะเหมือนกันหรือไมเหมือนกันกับความหมายที่ผูสงสารตองการหมายถึงก็ได การสื่อสารมวลชนและการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน มีความแตกตางกันหลายประการ เชน ปฏิกิริยาโตตอบและการแสดงบทบาท ซึ่งการสื่อสารระหวางบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงและมีอิทธิพลได สวนการสื่อสารมวลชนเปนการสื่อสารทางเดียว เปนกระบวนการที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาในเรื่องของการสื่อสารมวลชน จะตองศึกษาในหลักใหญ ๆ 3 หลักดวยกัน คือ 1. ประวัติศาสตร คานิยม เศรษฐกิจและการเมือง ซึ่งมีผลตอสื่อ 2. สื่อแตละชนิดมีความเปนเอกลักษณของตัวเอง ซึ่งจะมีความแตกตางกันไป 3. สื่อที่มีผลตอเรา ตอสังคม และตอวัฒนธรรมของเรา
  • 20. ~ 20 ~ การสื่อสารทางสื่อมวลชน มโนทัศน 1. สื่อมวลชนเปนการสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับที่มีจํานวนมากและอยูตาง ถิ่นตางที่กันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน 2. สื่อมวลชนครอบคลุมสิ่งพิมพ ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและ โทรคมนาคม 3. การสื่อสารดวยสื่อสิ่งพิมพครอบคลุมการสื่อสารทางหนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร ตํารา และสิ่งตีพิมพในรูปแบบอื่นๆ 4. การสื่อสารดวยภาพยนตรเปนการเสนอสารที่ใหผูชมไดเห็นภาพเคลื่อนไหวและอาจมี เสียงควบคูกันไป แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน สื่อมวลชน หมายถึง สื่อที่ใชสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับที่มีจํานวนมากและอยูตางถิ่น ตางที่กันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน โดยมีจุดมุงหมายที่จะสงสารซึ่งไดแก ขาว ความรู ความ คิดเห็น ทัศนคติ ความบันเทิง และแจงความ ฯลฯ ไปสูมวลชนดวยความรวดเร็ว เที่ยงตรง และประหยัด ขอสังเกต การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) ซึ่งหมายถึงกระบวนการสงขาวสารทัศนคติ ไปสูคนจํานวนมากโดยผานสื่อตางๆ นั้น สามารถแยกสวนประกอบไดดังนี้ 1. Mass หมายถึง ผูรับสารหรือมวลชน ซึ่งมักจะมีความหลากหลายและไมสามารถกําหนด จํานวนที่แนนอนได 2. Mass Media หมายถึง สื่อมวลชนหรือชองทางการนําสารไปสูมวลชน ซึ่งอาจเปนตัว บุคคล ไดแก นักหนังสือพิมพ นักจัดรายการวิทยุ เปนตน หรืออาจเปนชองทางในการนําสารประกอบตางๆ ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ และสิ่งตีพิมพอื่นๆ เปนตน ประเภทของสื่อมวลชน สื่อมวลชนที่ดําเนินอยูในปจจุบันครอบคลุมสื่อ 6 ประเภท คือ 1. สิ่งพิมพ ไดแก หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร แบบเรียน ตํารา สารานุกรม และสิ่งพิมพ อื่นๆ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงสารไปใหผูอาน เชน ใบปลิว โปสเตอรโฆษณา 2. ภาพยนตร รวมทั้งภาพยนตรสารคดี ภาพยนตรเรื่องและภาพยนตรการศึกษาบางประเภท
  • 21. ~ 21 ~ แนวขอสอบ นักประชาสัมพันธ การประปานครหลวง 1.สื่อมวลตองปฏิบัติตามหนาที่ของสื่อบนหลักการที่เนนการเสนอขอเท็จจริง และขอถกเถียงโดยปราศจาก การใสรายหรืออคติ ตรงกับขอใดตอไปนี้ ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม 2.สื่อมวลชนมีหนาที่คนหาความจริง และตรวจสอบการทํางานของรัฐถือเปนการปฏิบัติหนาที่ตามทฤษฎีใด ตอไปนี้ ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ค. ทฤษฎีเสรีนิยม 3.ทฤษฎีใดตอไปนี้ที่สื่อมวลชนขาดอิสรภาพทางการเมือง แตมีความมิสระที่จะวิจารณทางดานเศรษฐกิจ และสังคม ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม 4.ทฤษฎีใดตอไปนี้มักเปนทฤษฎีการสื่อสาร ในประเทศโลกที่สาม ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม 5.การสื่อสารแบบเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปนี้ ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication
  • 22. ~ 22 ~ ตอบ ข. Face–to–Face Communication การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารที่ประกอบดวย บุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป มาทําการสื่อสารกันในลักษณะที่ทั้งผูสงสาร และผูรับสารสามารถแลกเปลี่ยน สารกันไดโดยตรง (Direct) และเปนการสื่อสารแบบตัวตอตัว (Person to Person) หรือเปนการสื่อสาร แบบเผชิญหนา (Face–to–Face Communication) ซึ่งผูสงสารและผูรับสารสามารถเห็นหนากันและกัน ไดในขณะที่ทําการสื่อสารกัน 6.การสื่อสารแบบไมเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปนี้ ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication ตอบ ก. Intrapersonal Communication 7.การสงอีเมลจัดเปนการสื่อสารแบบใดตอไปนี้ ก. Interpersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Intrapersonal Communication ง. Interracial Communication ตอบ ก. Interpersonal Communication การสื่อสารระหวางบุคคล นั้นเกิดขึ้นไดทั้งแบบเผชิญหนา (Face–to–Face) เชนการพูดคุยของคน 2 คนที่อาศัยอากาศเปนสื่อหรือพาหนะในการนําเสียงของผูสงสารไปสูโสตสัมผัสทางหูของผูรับสาร ฯลฯ และแบบตัวตอ (Person–to–Person) ที่ไมไดเผชิญหนา เชน การพูดโทรศัพท การเขียนจดหมาย โตตอบกัน การสงอีเมล ฯลฯ 8.ผูใดตอไปนี้ ที่กลาววา เวลาพูดได คือกลางวันมีความหมายอยางหนึ่ง กลางคืนมีความหมายอีกอยาง หนึ่ง ก. Jurgen Ruesch ข. Hoveland ค. Edward Hall ง. Warren W. Weaver ตอบ ก. Jurgen Ruesch เจอรเกน รอยซ และ เกรเกอรี เบทสัน (Jurgen Ruesch and Gregory Bateson) ใหความเห็นวา "การสื่อสารไมไดหมายถึงการถายทอดสารดวยภาษาพูดและภาษาเขียนที่ชัดแจงและแสดงเจตนารมณ
  • 23. ~ 23 ~ 35. การจัดตั้ง การประปานครหลวงขึ้น มีวัตถุประสงคตามขอใด ก. สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการประปา ข. ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัด สมุทรปราการ ค.ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ใหจัดตั้งการประปาขึ้นเรียกวา “การประปานครหลวง” มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้ (1) สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการประปา (2) ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ และควบคุมมาตรฐานเกี่ยวกับระบบประปาเอกชนในเขตทองที่ดังกลาว (3) ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา 36. การผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาของการประปานครหลวงนั้น ขอใดไมใชเขตพื้นที่รับผิดชอบของ การประปานครหลวง ก. กรุงเทพมหานคร ข. จังหวัดนนทบุรี ค. จังหวัดสมุทรปราการ ง. จังหวัดธนบุรี ตอบ ง. จังหวัดธนบุรี 37. ขอใดเปนอํานาจหนาที่ของผูวาการการประปานครหลวง ก. บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน ข. ลงโทษพนักงานและลูกจาง ค. วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของการประปานครหลวงโดยไมขัดหรือแยงกับขอบังคับที่ คณะกรรมการวางไว ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูวาการมีอํานาจ (1) บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน ตลอดจนลงโทษพนักงานและ ลูกจาง ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการวางไว แตถาเปนพนักงานชั้นที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ ผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอน
  • 24. ~ 24 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740