SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
บทที่ 2
การศึกษาชีววิทยา

                   1
2
ชีววิทยา คือ
    อะไร
    ?
               3
ชีววิทยา (Biology)
              มาจากคำาภาษากรีก




• ชีว (bios แปลว่า ชีวต สิงมีชวต)
                      ิ   ่   ี ิ
• วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด
  การมีเหตุผล)

  คือ การ ศึกษา ความคิดของมนุษย์เกี่ยวกับสิ่งมี
  ชีวต ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปัญหาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวต
     ิ                                           ิ
       ทำาให้เราสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่ง
                                                4
องค์ประกอบของ
     ชีววิทยา
• ส่วนทีเป็นความรู้
        ่
• ส่วนทีเป็นกระบวนการ
          ่
 ค้นหาความรู้


                        5
ความรู้ในทางวิทยาศาสตร์
Scientific Knowledge

 ข้อเท็จจริง (Fact) คือ
ประจักษ์พยามที่สังเกตพบได้
โดยตรง มีความเป็นจริงอยู่ในตัว
เอง

ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริง
แต่ละอย่างที่รวบรวมมาใช้ในการ
ศึกษาตัวปัญหา

กฎ (Law) คือ หลักการที่เน้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล

ทฤษฎี (Theory) คือ ความรู้ที่
ได้มาจากสมมุติฐานที่ผ่านการ
ตรวจสอบมาแล้ว จนเป็นที่
ยอมรับโดยทั่วไปใช้อธิบายได้
อย่างกว้างขวาง หรือใช้ทำานาย
เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึนได้อีก
                     ้     6
การศึกษาวิทยา
     ศาสตร์
• การศึกษาวิทยาศาสตร์ คือ การ
  แสวงหาข้อเท็จจริง ใหม่ๆ อันจะ
  ทำาให้เกิดความเข้าใจปรากฏการณ์
  ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเอกภพ
  ทั้งที่เกียวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มี
            ่
  ชีวิต
                                       7
คุณลักษณะของนัก
       วิทยาศาสตร์
         4 ประการ
1. เป็นคนช่างสังเกต
2. มีวธีการศึกษา
      ิ
3. ขวนขวายหาข้อเท็จจริงทีถูก
                         ่
ต้องกว่าอยู่เสมอ
4. เป็นคนใจกว้าง
                               8
กระบวนการวิทยาศาสตร์
        (scientific method)
มีขนตอนดังนี้
   ั้
   1. การสังเกต
   2. การตั้งปัญหา
   3. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา
   4. การตั้งสมมติฐาน
   5. การตรวจสอบสมมติฐาน หรือ ขั้นการ
   ทดลอง
   6. การบันทึกและแปรผล หรือ การ
   วิเคราะห์ขอมูล
             ้
   7. การสรุปผล                          9
การตั้งสมมติฐาน
1. ตัวแปรต้น คือ สิงที่เราต้องการจะ
                    ่
ศึกษา
2. ตัวแปรตาม คือ      สิงที่เกิดจากตัวแปร
                        ่
ต้น
3. ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้
เหมือนกันทังหมดใน ชุด
           ้
                              ทดลอง
                                       10
• เราได้คำาตอบและ
  แก้ปัญหา หรือ
  แม้แต่การพัฒนา
  วิวฒนาการทุกด้าน
     ั
  มากมายโดยใช้
  กระบวนการ
  วิทยาศาสตร์
                11
การศึกษาเซลล์
 ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทำาให้
สามารถเห็นรายละเอียดโครงสร้าง
ของเซลล์
 ศึกษาด้วยวิธีแยกชิ้นส่วนของ
เซลล์โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่
ต่างๆกัน organelles ทีแยกออกมา
                      ่
สามารถนำาไปศึกษาโครงสร้างและ
หน้าที่ของมัน                       12
Light microscope

       VS.
Electron microscope


       ?
                 13
14
Electron micrographs




Transmission electron   Scanning electron
micrographs (TEM)       micrographs (SEM)




                                            15
คำาถาม?




          16
Different Types of Light Microscope: A Comparison

 Brightfield
 (unstained                                   Phase-contrast
 specimen)

 Brightfield                                  Differential-
 (stained                                     interference-
 specimen)                                    contrast
                                              (Nomarski)



Fluorescene                                   Confocal


               Human Cheek Epithelial Cells
                                                              17
Cell Fractionation
      วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทำาได้โดยการ
เหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยก
ออกมาสามารถนำาไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่
ของมัน




                                             18

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ppompuy pantham
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีkimaira99
 

Tendances (6)

ชีววิทยาพื้นฐาน ONET Brand Summer Camp 2012
ชีววิทยาพื้นฐาน ONET  Brand Summer Camp 2012ชีววิทยาพื้นฐาน ONET  Brand Summer Camp 2012
ชีววิทยาพื้นฐาน ONET Brand Summer Camp 2012
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 

Similaire à 2

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 

Similaire à 2 (20)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐานเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
 

2

  • 2. 2
  • 4. ชีววิทยา (Biology) มาจากคำาภาษากรีก • ชีว (bios แปลว่า ชีวต สิงมีชวต) ิ ่ ี ิ • วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล) คือ การ ศึกษา ความคิดของมนุษย์เกี่ยวกับสิ่งมี ชีวต ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปัญหาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวต ิ ิ ทำาให้เราสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่ง 4
  • 5. องค์ประกอบของ ชีววิทยา • ส่วนทีเป็นความรู้ ่ • ส่วนทีเป็นกระบวนการ ่ ค้นหาความรู้ 5
  • 6. ความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ Scientific Knowledge ข้อเท็จจริง (Fact) คือ ประจักษ์พยามที่สังเกตพบได้ โดยตรง มีความเป็นจริงอยู่ในตัว เอง ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริง แต่ละอย่างที่รวบรวมมาใช้ในการ ศึกษาตัวปัญหา กฎ (Law) คือ หลักการที่เน้น ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล ทฤษฎี (Theory) คือ ความรู้ที่ ได้มาจากสมมุติฐานที่ผ่านการ ตรวจสอบมาแล้ว จนเป็นที่ ยอมรับโดยทั่วไปใช้อธิบายได้ อย่างกว้างขวาง หรือใช้ทำานาย เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึนได้อีก ้ 6
  • 7. การศึกษาวิทยา ศาสตร์ • การศึกษาวิทยาศาสตร์ คือ การ แสวงหาข้อเท็จจริง ใหม่ๆ อันจะ ทำาให้เกิดความเข้าใจปรากฏการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเอกภพ ทั้งที่เกียวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มี ่ ชีวิต 7
  • 8. คุณลักษณะของนัก วิทยาศาสตร์ 4 ประการ 1. เป็นคนช่างสังเกต 2. มีวธีการศึกษา ิ 3. ขวนขวายหาข้อเท็จจริงทีถูก ่ ต้องกว่าอยู่เสมอ 4. เป็นคนใจกว้าง 8
  • 9. กระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific method) มีขนตอนดังนี้ ั้ 1. การสังเกต 2. การตั้งปัญหา 3. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา 4. การตั้งสมมติฐาน 5. การตรวจสอบสมมติฐาน หรือ ขั้นการ ทดลอง 6. การบันทึกและแปรผล หรือ การ วิเคราะห์ขอมูล ้ 7. การสรุปผล 9
  • 10. การตั้งสมมติฐาน 1. ตัวแปรต้น คือ สิงที่เราต้องการจะ ่ ศึกษา 2. ตัวแปรตาม คือ สิงที่เกิดจากตัวแปร ่ ต้น 3. ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้ เหมือนกันทังหมดใน ชุด ้ ทดลอง 10
  • 11. • เราได้คำาตอบและ แก้ปัญหา หรือ แม้แต่การพัฒนา วิวฒนาการทุกด้าน ั มากมายโดยใช้ กระบวนการ วิทยาศาสตร์ 11
  • 12. การศึกษาเซลล์  ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทำาให้ สามารถเห็นรายละเอียดโครงสร้าง ของเซลล์  ศึกษาด้วยวิธีแยกชิ้นส่วนของ เซลล์โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ ต่างๆกัน organelles ทีแยกออกมา ่ สามารถนำาไปศึกษาโครงสร้างและ หน้าที่ของมัน 12
  • 13. Light microscope VS. Electron microscope ? 13
  • 14. 14
  • 15. Electron micrographs Transmission electron Scanning electron micrographs (TEM) micrographs (SEM) 15
  • 17. Different Types of Light Microscope: A Comparison Brightfield (unstained Phase-contrast specimen) Brightfield Differential- (stained interference- specimen) contrast (Nomarski) Fluorescene Confocal Human Cheek Epithelial Cells 17
  • 18. Cell Fractionation วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทำาได้โดยการ เหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยก ออกมาสามารถนำาไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ ของมัน 18