SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานโครงการ : เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน
กลุ่ม ไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม
(ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น)
รายชื่อสมาชิก
1. ด.ญ. กัลยานี สิทธิศาสตร์ ม.3/5 6. ด.ญ.ศศิธร สดมพฤกษ์ ม.3/5
2. ด.ญ. ปิยะธิดา พรมจมร ม.3/5 7. ด.ญ.อรอนงค์ ขามกุลา ม.3/5
3. ด.ญ. ณัฐวดี สังสีโห ม.3/5 8. ด.ช.ศุภกร เพ็งพารา ม.3/5
4. ด.ญ. วีรญาพร บริบาล ม.3/5 9. ด.ญ. อภิญญารัตน์ มูลสูตร์ ม.2/5
5. ด.ญ.รัตนากร สมจักร ม.3/5 10. ด.ญ. ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา ม.2/5
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน และนางธีร์กัญญา พลนันท์
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานโครงการ : เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน
กลุ่ม ไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม
(ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น)
รายชื่อสมาชิก
1. ด.ญ. กัลยานี สิทธิศาสตร์ ม.3/5
2. ด.ญ. ปิยะธิดา พรมจมร ม.3/5
3. ด.ญ. ณัฐวดี สังสีโห ม.3/5
4. ด.ญ. วีรญาพร บริบาล ม.3/5
5. ด.ญ.รัตนากร สมจักร ม.3/5
6. ด.ญ.ศศิธร สดมพฤกษ์ ม.3/5
7. ด.ญ.อรอนงค์ ขามกุลา ม.3/5
8. ด.ช.ศุภกร เพ็งพารา ม.3/5
9. ด.ญ. อภิญญารัตน์ มูลสูตร์ ม.2/5
10. ด.ญ. ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา ม.2/5
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน
นางธีร์กัญญา พลนันท์
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงานโครงการ เรื่อง “เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน” นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
เกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ในเขตอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มไผ่หวานสืบสาน
วัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่ง
ท้องทุ่งปีที่ 7 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์
และขั้นแบ่งปัน
นักสารวจกลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม ขอขอบพระคุณ ท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อานวยการ
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ
คุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน และคุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับ
เครื่องจักสาน คณะผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์
พัฒนาวิทยาทุกท่าน ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบ
นิเวศเกษตรที่ให้การอบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ
ขอขอบพระคุณคุณตาคุณยายที่ช่วยสอนวิธีการทาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้อง
มา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเครื่อง
จักสานจากไม้ไผ่ในท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
คณะผู้จัดทา
31 พฤศจิกายน 2558
ก
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
1. บทคัดย่อโครงการ 1
2. ที่มาและความสาคัญ 1
3. วัตถุประสงค์ 1
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3
7. สรุปผลการดาเนินงาน 7
บรรณานุกรม 10
ภาคผนวก 11-61
ข
1. บทคัดย่อโครงการ
จากการที่กลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจ
เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม
ปรากฏว่า
พบเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ 18 ชนิด โดยเครื่องจักสานที่พบมากที่สุดคือ
กระติบข้าว หวด และกระด้ง ตามลาดับ ลวดลายที่พบมากที่สุดคือ ลายสองและลายเวียน(ลายขัด) ตามลาดับ
ไม้ไผ่ที่ใช้จักสาน คือ ไม้ไผ่ใหญ่/ไผ่บ้าน สามารถจาแนกความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานตามประโยชน์ใช้
สอยของชาวบ้านได้ 3 ประเภท คือ 1) ใช้ในครัวเรือน (52.63%) 2) ใช้ในการเกษตรและประมง (36.84%)
และ 3) ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา (10.53%) ช่วงอายุที่ทาเครื่องจักสานเป็นมากที่สุดคือ อายุมากกว่า 60 ปี
(66.66%) อายุ 41-60 ปี (25.00%) อายุ 31-40 ปี (4.17%) และพบว่า ช่วงอายุต่ากว่า 30 ปี ทาเครื่องจักสานไม่
เป็น ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงไปเรียนรู้วิธีทาเครื่องจักสานจากปราชญ์ชาวบ้านและนามาสอนรุ่นพี่และ
น้องๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพชนอีสานไว้ และเผยแพร่แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านสมุดเล่ม
เล็ก เพลง สรภัญญะ และเว็บเพจเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพื่อบอกประโยชน์และคุณค่าของเครื่องจักสานของ
คนอีสาน
2. ที่มาและความสาคัญ :
กลุ่มของพวกเราได้เห็นชาวบ้านในหมู่บ้านในเขตอาเภอศรีสมเด็จมีเครื่องจักสานต่างๆ ที่ทาจากไม้
ไผ่ใช้ในครัวเรือน พวกเราจึงไปถามคุณครูและชาวบ้านจนทราบว่า หมู่บ้านในเขตอาเภอศรีสมเด็จมีการทา
เครื่องจักสานหลากหลายประเภท ที่ใช้ในการทางาน และดาเนินชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของคนเฒ่า
คนแก่ ที่ทามาตั้งแต่ไหนแต่ไร จนมาถึงปัจจุบันเริ่มที่มีเครื่องจักสานลดน้อยลง พวกเราจึงคิดที่จะอนุรักษ์
เครื่องจักสานที่มีอยู่ในเขตอาเภอศรีสมเด็จเพื่อไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้านและลูกหลานรุ่นหลัง
3. วัตถุประสงค์ :
1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานจากไม้ไผ่กับวิถีชีวิตของชาวบ้านในอาเภอศรีสมเด็จ
จังหวัดร้อยเอ็ด
3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่
ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้านและลูกหลานรุ่นหลัง
1
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ :
หมู่บ้านต่างๆ จานวน 5 หมู่บ้านในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2558) :
ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย.
1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ
2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลจาก Internet หนังสือ และชาวบ้าน
3.เตรียมแบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์
4.สอบถามชาวบ้านเกี่ยวกับเครื่องจักสานและลงพื้นที่สารวจ
เครื่องจักสาน
5.ลงพื้นที่สารวจจริง บันทึกข้อมูล จาแนกประเภทเครื่องจัก
สาน และสรุปผลการเรียนรู้
6.เรียนรู้วิธีการทาเครื่องจักสานจากปราชญ์ชาวบ้าน
7.นามาสอนเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ และคนในหมู่บ้าน ที่สนใจ
เกี่ยวกับเครื่องจักสาน
8.จัดทาสมุดเล่มเล็ก แต่งเพลง แต่งสรภัญญะ เว็บเพจ
9. มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กให้แก่น้องๆได้อ่าน
10. จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง
2
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ :
ขั้นที่1 ขั้นค้นหา
1.1 ค้นหาประเด็น
1.1.1กลุ่มเรามีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่มและครูที่ปรึกษา โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษาเกี่ยวกับ
เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่
1.1.2 หาแหล่งเรียนรู้เครื่องจักสานในอาเภอศรีสมเด็จ เพื่อสารวจเบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต (Internet) และในหนังสือ
1.1.3 ประชุมกับสมาชิกในกลุ่มว่าจะลงพื้นที่ไปสารวจเครื่องเครื่องจักสานโดยวิธีการใด แล้วพวก
เราได้ทาการสุ่มจับสลากเลือกหมู่บ้านที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จานวน 5 หมู่บ้าน แล้วได้บ้านเหล่ากุด
บ้านบุมะเขือ บ้านเหล่ายาว บ้านท่าแร่ และบ้านก่อ
1.2 เจาะลึกประเด็น
1.2.1 ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานโดยอินเทอร์เน็ต (Internet) และในหนังสือ ว่าเครื่อง
จักสานมีประโยชน์อย่างไร สามารถทาอะไรได้บ้าง ก่อนที่จะลงพื้นที่จริง
3
ขั้นที่2 ขั้นสารวจ
2.1 การวางแผนก่อนการสารวจ
2.1.1 พอคุณครูได้อนุญาตให้ลงพื้นที่สารวจเครื่องจักสานภายในอาเภอศรีสมเด็จ พวกเราได้ลง
พื้นพื้นที่สารวจ ภาคสนาม (สัปดาห์ละ1 ครั้ง) โดยสารวจเกี่ยวกับเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอ
ศรีสมเด็จ ตามหมู่บ้านที่เราได้สุ่มจับเลือกได้ โดยจดบันทึกข้อมูลรายระเอียดต่างๆ
2.1.2 คุณครูได้อบรมสมาชิกในกลุ่ม และวิธีการสารวจข้อมูลในชุมชน
2.1.3 ได้ไปขออนุญาตคนในชุมชนเพื่อขอสัมภาษณ์ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานที่ใช้ใน
ครัวเรือนของตัวเอง
2.1.4 เตรียมอุปกรณ์ และแบบสอบถาม เพื่อที่จะลงพื้นที่
2.2 ลงมือสารวจ
2.2.1 ลงมือสารวจเครื่องจักสาน 5 หมู่บ้านที่เราได้สุ่มจับสลาก พร้อมบันทึกข้อมูล รายละเอียด
การสัมภาษณ์ของประโยชน์เครื่องจักสานจากไม้ไผ่
2.3 การสรุปผลข้อมูล
2.3.1 นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผล และอภิปรายผล เพื่อประเมินความสอดคล้องของ
ข้อมูลที่รวบรวมมาได้แล้วนามาแปลความหมายและหาเหตุผล และหลักฐานในการอธิบายถึงผลการสารวจ
2.3.2 ได้สรุปผลการสารวจทั้งหมดโดยการเขียนรายงาน
4
ขั้นที่3 ขั้นอนุรักษ์
3.1 พวกเราได้ไปเรียนการจักสานเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ที่บ้านเหล่ายาว และได้อธิบายแก่คนที่
สอนพวกเราจักสานว่า เครื่องจักสานมันมีประโยชน์ แก่ทุกคน ทุกวันนี้พวกเราได้ใช้เครื่องจักสานใน
ชีวิตประจาวันของพวกเรา พวกเราจึงอยากจะอนุรักษ์เครื่องจักสานเอาไว้ให้แก่คนในปัจจุบันรับรู้ ถึงความ
ประโยชน์ของเครื่องจักสานว่ามีประโยชน์มากขนาดไหน
3.2 พวกเราได้สอนวิธีการจักสานให้แก่พี่ๆ น้องๆ เพื่อที่จะสืบทอดภูมิปัญญาอีสานต่อไป
5
ขั้นที่4 ขั้นแบ่งปัน
4.1 จัดทาสมุดเล่มเล็กเพื่อมอบให้กับชุมชน น้องๆ เพื่อที่จะได้อ่าน แล้วรู้ถึงประโยชน์ของเครื่อง
จักสานจากไม้ไผ่
4.2 ได้แต่งเพลง และสรภัญญะ เกี่ยวกับประโยชน์ของเครื่องจักสาน
4.3 ได้ทาเว็บเพจของเครื่องจักสานขึ้นเพื่อเผยแพร่ และบอกประโยชน์ของเครื่องจักสาน
ผู้แต่ง เด็กหญิง อรอนงค์ ขามกุลา ผู้แต่ง เด็กหญิง ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา
เด็กหญิง อภิญญารัตน์ มูลสูตร์
6
7. สรุปผลการดาเนินงาน :
จากการที่กลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจ
เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม
ปรากฏว่า
พบเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ 18 ชนิด ได้แก่ กระติบข้าว หวด กระด้ง ตะกร้า
ไซ สุ่ม กระชัง หมวก เบ็งหมาก พัด ข้อง กระจาด ฝาชี กระชอน จั่น ลอบ พาข้าว และกระทอ โดยเครื่อง
จักสานที่พบมากที่สุด คือ กระติบข้าว หวด และกระด้ง ตามลาดับ ไม้ไผ่ที่ใช้จักสาน คือ ไม้ไผ่ใหญ่หรือไม้
ไผ่บ้าน สามารถจาแนกความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานตามประโยชน์ใช้สอยของชาวบ้านได้ 3 ประเภท คือ
1) ใช้ในครัวเรือน (52.63%) เช่น หวด กระติบข้าว พัด กระด้ง ฝาชี หมวก พาเข้า ตะกร้า ตะแกรง กระชอน
2) ใช้ในการเกษตรและประมง (36.84%) เช่น ข้อง ไซ ลอบ จั่นลอบ กระทอ กระบุง สุ่ม และ 3) ใช้ใน
พิธีกรรมทางศาสนา (10.53%) เช่น เบ็งหมาก มีคนรู้จักเครื่องจักสาน (98.48%) เคยทาเครื่องจักสานจากไม้
ไผ่ (33.33%) ไม่เคยทา (66.67%) ส่วนใหญ่มักจักสานคนเดียวไม่รวมเป็นกลุ่ม (90.90%) อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การทาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ได้แก่ ไม้ไผ่ใหญ่ มีด ผ้าพันนิ้วมือ ด้าย เข็ม เชือก ลวด เลื่อย และคีมตัดเหล็ก
แต่ละชิ้นส่วนมากใช้เวลาในการทา 2-3 วัน วัตถุประสงค์ในการทาเครื่องจักสาน คือ เพื่อใช้เอง เพื่อจาหน่าย
และเพื่ออนุรักษ์ ความสาคัญตามลาดับ โดยได้เรียนรู้มาจากพ่อแม่ (55.56%) ฝึกฝนเอง (22.22%) และจาก
ปราชญ์ชาวบ้าน (11.12%) ลวดลายที่พบมากที่สุดคือ ลายสอง(26.67%) ลายเวียน/ลายขัด (20.00%) และ
ลายสาม(13.33%) ตามลาดับ และยังพบลายประยุกต์ด้วย ส่วนใหญ่ในครัวเรือนจะมีเครื่องจักสานจากไม้ไผ่
(89.40%) ไม่มีเครื่องจักสาน (10.61%) ซึ่งในแต่ละครัวเรือนมีวิธีการเก็บรักษาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่
แตกต่างกันออกไป เช่น ใช้อย่างทะนุถนอม เก็บอย่างมิดชิด ใช้แล้วทาความสะอาด แช่น้า เอาไปลวกไฟ ไม่
ใช้ไฟแรงมาก เป็นต้น ชาวบ้านมีความคิดเห็นว่าเครื่องจักสานมีประโยชน์ในชีวิตประจาวันมาก เพราะ
ประหยัด ใช้แทนภาชนะได้ มีประโยชน์หลายด้าน เช่น การเกษตร และยังสามารถสร้างรายได้ในการ
ประกอบอาชีพได้ และยังมีความคิดเห็นว่าเครื่องจักสานในอดีตและปัจจุบันมีความแตกต่างกันมาก ทั้งใน
ด้านความประณีต ในอดีตมีความประณีตมากกว่าปัจจุบัน ปัจจุบันไม่ค่อยมีคนทาใช้ส่วนใหญ่จะซื้อตาม
ร้านค้า ปัจจุบันมีการประยุกต์และดัดแปลงลวดลายและรูปแบบของเครื่องจักสาน ซึ่งชาวบ้านได้เสนอแนะ
วิธีการอนุรักษ์เครื่องจักสานฯ ไว้ เช่น สอนสู่ลูกหลาน (79.41%) บอกถึงความสาคัญ รักษาไว้และใช้
ตลอดไป (11.59%)
7
ช่วงอายุที่มีการทาเครื่องจักสานเป็นมากที่สุดคือ อายุมากกว่า 60 ปี (66.66%) อายุ 41-60 ปี
(25.00%) อายุ 31-40 ปี (4.17%) ตามลาดับ และพบว่า ช่วงอายุต่ากว่า 30 ปี ทาเครื่องจักสานไม่เป็น เพศชาย
สานเครื่องจักสานเป็นมากกว่าเพศหญิง ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงไปเรียนรู้วิธีทาเครื่องจักสานจากปราชญ์
ชาวบ้านและนามาสอนรุ่นพี่และน้องๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพชนอีสานไว้ และเผยแพร่
แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านสมุดเล่มเล็ก เพลง สรภัญญะ และเว็บเพจเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพื่อบอกประโยชน์
และคุณค่าของเครื่องจักสานของคนอีสาน
ช่วงอายุที่สานเครื่องจักสานเป็น
ช่วงอายุ (ปี) ชาย หญิง รวม ร้อยละ
7-15 - 1 1 4.17
16-20 - - 0.00
21-30 - - 0.00
31-40 1 1 4.17
41-60 2 4 6 25
มากกว่า60 10 6 16 66.66
รวม 13 11 24 100
ร้อยละ 54.17 45.83 100
8
4.17%
0% 0%
4.17%
25.00%
66.66%
0.00%
10.00%
20.00%
30.00%
40.00%
50.00%
60.00%
70.00%
ผลการสารวจเครื่องจักสานที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ
ประเภทของเครื่องจักสานที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ
52.63%
36.84%
10.53%
9
เอกสารอ้างอิง
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2553. นามานุกรมเครื่องจักสาน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ .368 หน้า.
_____________. 2557. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 11. พิมพ์ครั้งที่ 5.
กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว. 192 หน้า.
10
ภาคผนวก
สรุปเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
เรียงลาดับจากเครื่องจักสานที่มีจานวนน้อยที่สุดจนถึงเครื่องจักสานทีมากที่สุด
ลาดับ ชื่อ จานวน
ของเครื่อง
จักสาน
ลายของ
เครื่องจัก
สาน
ประโยชน์ของ
เครื่องจักสาน
อ้างอิง
1
เบ็งหมาก
1 ลายเวียน ใช่ใส่ดอกไม้เวลา
ไปวัด
2
จั่น
2 ลายเวียน ขังนก
3
กระทอ
2 ลายเวียน ใช้ใส่สิ่งของต่างๆ
4
พาข้าว
2 ลายเวียน ใช้วางถ้วยจาน ที่ใส่
อาหาร
5
ลอบ
2 ลายเวียน ใช้ใส่กบ
6
กระชอน
2 ลายเวียน ไว้กรองกะทิ
7
พัด
10 ลายสอง พัด
8
ฝาชี
13 ลายเวียน ใช้คอบอาหาร
9
กระจาด
14 ลายสอง ใช้ใส่สิ่งของ
10
หมวก
19 ลายสาม ใช้ใส่กันแดด
11
กระชัง
22 ลายเวียน ใช้ขังปลา หรือดัก
ปลา
12
ไซ
23 ลายเวียน ใช้ขังปลา
13
สุ่ม
31 ลายเวียน ใช้ขังไก่ ขังเป็ด
สัตว์ต่างๆ
14
ข้อง
32 ลายเวียน ใช้ใส่ปลา
15
ตะกร้า
33 ลายเวียน ใช้ใส่ของต่างๆ
16
กระด้ง
35 ลายสอง ใช้ฟัดข้าว ใช้ตาก
เนื้อสัตว์ต่างๆ
17
หวด
57 ลายสอง ใช้นึ่งข้าว และใช้นึ่ง
อาหารทุกประเภท
18
ก่องข้าว/กระติบข้าว
58 ลายสอง ใช้ใส่ข้าวเหนียวที่
นึ่งสุกแล้ว
แบบสอบถาม
เรื่อง: การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่) ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด
ร้อยเอ็ด
คาชี้แจง: แบบสอบถามนี้ สร้างขึ้นโดยนักเรียนโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา เพื่อศึกษาความคิดเห็นของ
ประชาชนในหมู่บ้านในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด มี 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไผ่)
ขอความกรุณาท่านทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง  หรือเขียนข้อความที่ตรงกับความเป็นจริงและ
ความคิดของท่านมากที่สุด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.1 เพศ  ชาย  หญิง
1.2 อายุ 7-15 ปี  16-20 ปี  21-30 ปี  31-40 ปี  41-60 ปี มากกว่า 60 ปี
1.3 สถานภาพในครอบครับ  หัวหน้าครอบครัว  คู่สมรส  บุตร อื่นๆ…………………………………..
1.4 ที่อยู่ปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้าน…………….…..เลขที่………… หมู่ที่………… ตาบล……………………….
อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
1.5 อาศัยอยู่หมู่บ้านนี้มานาน………………………………………….ปี
1.6 ระดับการศึกษา ไม่ได้เรียน ประถมฯ ม.ต้น ม.ปลาย ป.ตรี ป.โท ป.เอก อื่นๆ………
1.7 อาชีพหลัก………………………………………………………………………………รายได้/ปี…….……………………….บาท
1.8 บทบาทหน้าที่ในหมู่บ้าน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกในหมู่บ้าน อื่นๆ ……………
1.9 ประสบการณ์เกี่ยวกับการจักสานเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไผ่)  ผู้จักสาน…………ปี  ผู้จาหน่าย…………
ปี  ผู้ซื้อ/ผู้บริโภค…………ปี เป็นทั้งผู้จักสาน ผู้จาหน่ายและผู้ซื้อ/ผู้บริโภค …………ปี
1.10 วัน เดือน ปี ที่สอบถาม วัน……………………ที่……………เดือน………………………..…พ.ศ……………………..
1.11 บรรยากาศขณะสอบถาม
…………………………………………………………………………………………………………………….………………………………
1.12 ชื่อผู้สอบถาม…………………………………………………………………………………………….………………………………….
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่)
2.1 ท่านรู้จักเครื่องจักสานหรือไม่?
 รู้จัก  ไม่รู้จัก  ไม่แน่ใจ
2.2 ท่านเคยทาเครื่องจักสานหรือไม่?
 เคย  ไม่เคย
ถ้าท่านเคยจักสานท่านเคยจักสานอะไร?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3 ท่านเคยทาเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่)ในลักษณะใด?
 คนเดียว  เป็นกลุ่ม
 และ
อื่นๆ…………………………………………………………………….…………………………………………………………….
2.4 ในการทาเครื่องจักสานใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.5 ช่วงเวลาที่ท่านทาเครื่องจักสาน(แต่ละชิ้น)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.6 จุดประสงค์ในการทาเครื่องจักสาน (ที่ทาจากไม้ไผ่) ของท่านคืออะไร?
 จักสานขึ้นเพื่อใช้เอง  จักสานขึ้นเพื่อจาหน่าย  จักสานขึ้นเพื่ออนุรักษ์
2.7 ท่านเคยทาเครื่องจักสานอะไรแล้วบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ชนิด)
หวด ก่องข้าว ตะกร้า ไซ กระด้ง สุ่ม กระชังขังปลา
หมวก เบ็งหมาก  พัด ข้อง กระบุง กระจาด ตะแกรง
 น้าถุ้ง  ฝาชี  กระชอน ฝาบ้าน ชนาง กระจู้ จั่น
ลอบ กระชัง หมวก แงบ ตรอง กร้อ ตรอม
คุตีข้าว กระทาย ขมุก พาเข้า
อื่นๆ………………………………………………………………………..….
2.8 ท่านเรียนรู้วิธีการทาเครื่องจักสานมาจากใคร มีวิธีการเรียนรู้อย่างไร?
(โปรดระบุรายระเอียด)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.9 ลวดลายของเครื่องจักสานที่จักสานขึ้นมีกี่ลาย? ชื่อลายอะไรบ้าง?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.10 ท่านได้นาเครื่องจักสานที่จักสานขึ้นไปจาหน่ายหรือไม่
 จาหน่าย  ไม่จาหน่าย  ทั้งจาหน่ายทั้งใช้เอง
2
2.11 สถานที่ที่นาเครื่องจาสานไปจาหน่าย
 ที่บ้าน  ในหมู่บ้าน หมู่บ้านอื่น ลูกค้ามารับซื้อถึงบ้าน
 ตลาดนัด  อื่นๆ (โปรดระบุ) …………………………………………
2.12 วิธีการจาหน่ายและราคา
 จาหน่ายเป็นชิ้นๆ ละ……..……….บาท  จาหน่ายเป็นราคาส่ง……………..…….บาท
 อื่นๆ (โปรดระบุ) …………………………………………………………………
2.13 ท่านคิดว่าเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่) (ทั้งปริมาณและการจักสานขึ้นมาใช้) ในอดีตและปัจจุบันมีความ
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
(โปรดระบุ)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.14 ท่านมีวิธีการถนอมหรือเก็บรักษาเครื่องจักสานให้คงสภาพอยู่ได้นานอย่างไร?
(โปรดระบุ)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.15 ท่านมีวิธีการอนุรักษ์เครื่องจักสานให้คงอยู่ต่อไปอย่างไร?
(โปรดระบุ)
……………………………………………………………………………………………………………….………………………….
2.16 ท่านคิดว่าเครื่องจักสานมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร?
 มีประโยชน์
เพราะ……………………………………………………………………………………………………………………………..
 ไม่มีประโยชน์ เพราะ ……………………………………………………………………
2.17 ในครอบครัวของท่านมีเครื่องจักสานที่ทาจากไม่ไผ่หรือไม่? อะไรบ้าง?
 มี  ไม่มี
(ถ้าตอบมีโปรดระบุ)
หวด ก่องข้าว ตะกร้า ไซ กระด้ง สุ่ม กระชังขังปลา
หมวก เบ็งหมาก  พัด ข้อง กระบุง กระจาด ตะแกรง
 น้าถุ้ง  ฝาชี  กระชอน ฝาบ้าน ชนาง กระจู้ จั่น
ลอบ กระชัง หมวก แงบ ตรอง กร้อ ตรอม
คุตีข้าว กระทาย ขมุก พาเข้า
อื่นๆ………………………………………………………………………..….
***********ขอขอบพระคุณทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการตอแบบสอบถาม*********
3

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

Tendances (20)

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 

Similaire à รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2

Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sTheyok Tanya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pung Pon
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานงานคอมพิวเตอร์
โครงงานงานคอมพิวเตอร์โครงงานงานคอมพิวเตอร์
โครงงานงานคอมพิวเตอร์_Inghz
 
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 572ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57krupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
พลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนPreeda Chanlutin
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก Rut' Np
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอม323285
 
ปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิJukkrapong Dasri
 

Similaire à รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2 (20)

Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
โครงงานงานคอมพิวเตอร์
โครงงานงานคอมพิวเตอร์โครงงานงานคอมพิวเตอร์
โครงงานงานคอมพิวเตอร์
 
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 572ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
พลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทน
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอม
 
ปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิ
 

Plus de Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 

Plus de Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 

รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2

  • 1. รายงานโครงการ : เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน กลุ่ม ไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น) รายชื่อสมาชิก 1. ด.ญ. กัลยานี สิทธิศาสตร์ ม.3/5 6. ด.ญ.ศศิธร สดมพฤกษ์ ม.3/5 2. ด.ญ. ปิยะธิดา พรมจมร ม.3/5 7. ด.ญ.อรอนงค์ ขามกุลา ม.3/5 3. ด.ญ. ณัฐวดี สังสีโห ม.3/5 8. ด.ช.ศุภกร เพ็งพารา ม.3/5 4. ด.ญ. วีรญาพร บริบาล ม.3/5 9. ด.ญ. อภิญญารัตน์ มูลสูตร์ ม.2/5 5. ด.ญ.รัตนากร สมจักร ม.3/5 10. ด.ญ. ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา ม.2/5 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน และนางธีร์กัญญา พลนันท์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานโครงการ : เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน กลุ่ม ไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น) รายชื่อสมาชิก 1. ด.ญ. กัลยานี สิทธิศาสตร์ ม.3/5 2. ด.ญ. ปิยะธิดา พรมจมร ม.3/5 3. ด.ญ. ณัฐวดี สังสีโห ม.3/5 4. ด.ญ. วีรญาพร บริบาล ม.3/5 5. ด.ญ.รัตนากร สมจักร ม.3/5 6. ด.ญ.ศศิธร สดมพฤกษ์ ม.3/5 7. ด.ญ.อรอนงค์ ขามกุลา ม.3/5 8. ด.ช.ศุภกร เพ็งพารา ม.3/5 9. ด.ญ. อภิญญารัตน์ มูลสูตร์ ม.2/5 10. ด.ญ. ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา ม.2/5 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน นางธีร์กัญญา พลนันท์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คานา รายงานโครงการ เรื่อง “เครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน” นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา เกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ในเขตอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มไผ่หวานสืบสาน วัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่ง ท้องทุ่งปีที่ 7 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์ และขั้นแบ่งปัน นักสารวจกลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม ขอขอบพระคุณ ท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อานวยการ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน และคุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับ เครื่องจักสาน คณะผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์ พัฒนาวิทยาทุกท่าน ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบ นิเวศเกษตรที่ให้การอบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณคุณตาคุณยายที่ช่วยสอนวิธีการทาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้อง มา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเครื่อง จักสานจากไม้ไผ่ในท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา 31 พฤศจิกายน 2558 ก
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข 1. บทคัดย่อโครงการ 1 2. ที่มาและความสาคัญ 1 3. วัตถุประสงค์ 1 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3 7. สรุปผลการดาเนินงาน 7 บรรณานุกรม 10 ภาคผนวก 11-61 ข
  • 5. 1. บทคัดย่อโครงการ จากการที่กลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจ เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม ปรากฏว่า พบเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ 18 ชนิด โดยเครื่องจักสานที่พบมากที่สุดคือ กระติบข้าว หวด และกระด้ง ตามลาดับ ลวดลายที่พบมากที่สุดคือ ลายสองและลายเวียน(ลายขัด) ตามลาดับ ไม้ไผ่ที่ใช้จักสาน คือ ไม้ไผ่ใหญ่/ไผ่บ้าน สามารถจาแนกความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานตามประโยชน์ใช้ สอยของชาวบ้านได้ 3 ประเภท คือ 1) ใช้ในครัวเรือน (52.63%) 2) ใช้ในการเกษตรและประมง (36.84%) และ 3) ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา (10.53%) ช่วงอายุที่ทาเครื่องจักสานเป็นมากที่สุดคือ อายุมากกว่า 60 ปี (66.66%) อายุ 41-60 ปี (25.00%) อายุ 31-40 ปี (4.17%) และพบว่า ช่วงอายุต่ากว่า 30 ปี ทาเครื่องจักสานไม่ เป็น ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงไปเรียนรู้วิธีทาเครื่องจักสานจากปราชญ์ชาวบ้านและนามาสอนรุ่นพี่และ น้องๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพชนอีสานไว้ และเผยแพร่แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านสมุดเล่ม เล็ก เพลง สรภัญญะ และเว็บเพจเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพื่อบอกประโยชน์และคุณค่าของเครื่องจักสานของ คนอีสาน 2. ที่มาและความสาคัญ : กลุ่มของพวกเราได้เห็นชาวบ้านในหมู่บ้านในเขตอาเภอศรีสมเด็จมีเครื่องจักสานต่างๆ ที่ทาจากไม้ ไผ่ใช้ในครัวเรือน พวกเราจึงไปถามคุณครูและชาวบ้านจนทราบว่า หมู่บ้านในเขตอาเภอศรีสมเด็จมีการทา เครื่องจักสานหลากหลายประเภท ที่ใช้ในการทางาน และดาเนินชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของคนเฒ่า คนแก่ ที่ทามาตั้งแต่ไหนแต่ไร จนมาถึงปัจจุบันเริ่มที่มีเครื่องจักสานลดน้อยลง พวกเราจึงคิดที่จะอนุรักษ์ เครื่องจักสานที่มีอยู่ในเขตอาเภอศรีสมเด็จเพื่อไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้านและลูกหลานรุ่นหลัง 3. วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานจากไม้ไผ่กับวิถีชีวิตของชาวบ้านในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เกี่ยวกับเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ไม่ให้สูญหายไปจากหมู่บ้านและลูกหลานรุ่นหลัง 1
  • 6. 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ : หมู่บ้านต่างๆ จานวน 5 หมู่บ้านในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2558) : ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย. 1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ 2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลจาก Internet หนังสือ และชาวบ้าน 3.เตรียมแบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์ 4.สอบถามชาวบ้านเกี่ยวกับเครื่องจักสานและลงพื้นที่สารวจ เครื่องจักสาน 5.ลงพื้นที่สารวจจริง บันทึกข้อมูล จาแนกประเภทเครื่องจัก สาน และสรุปผลการเรียนรู้ 6.เรียนรู้วิธีการทาเครื่องจักสานจากปราชญ์ชาวบ้าน 7.นามาสอนเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ และคนในหมู่บ้าน ที่สนใจ เกี่ยวกับเครื่องจักสาน 8.จัดทาสมุดเล่มเล็ก แต่งเพลง แต่งสรภัญญะ เว็บเพจ 9. มอบหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กให้แก่น้องๆได้อ่าน 10. จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2
  • 7. 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ : ขั้นที่1 ขั้นค้นหา 1.1 ค้นหาประเด็น 1.1.1กลุ่มเรามีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่มและครูที่ปรึกษา โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษาเกี่ยวกับ เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ 1.1.2 หาแหล่งเรียนรู้เครื่องจักสานในอาเภอศรีสมเด็จ เพื่อสารวจเบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต (Internet) และในหนังสือ 1.1.3 ประชุมกับสมาชิกในกลุ่มว่าจะลงพื้นที่ไปสารวจเครื่องเครื่องจักสานโดยวิธีการใด แล้วพวก เราได้ทาการสุ่มจับสลากเลือกหมู่บ้านที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จานวน 5 หมู่บ้าน แล้วได้บ้านเหล่ากุด บ้านบุมะเขือ บ้านเหล่ายาว บ้านท่าแร่ และบ้านก่อ 1.2 เจาะลึกประเด็น 1.2.1 ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานโดยอินเทอร์เน็ต (Internet) และในหนังสือ ว่าเครื่อง จักสานมีประโยชน์อย่างไร สามารถทาอะไรได้บ้าง ก่อนที่จะลงพื้นที่จริง 3
  • 8. ขั้นที่2 ขั้นสารวจ 2.1 การวางแผนก่อนการสารวจ 2.1.1 พอคุณครูได้อนุญาตให้ลงพื้นที่สารวจเครื่องจักสานภายในอาเภอศรีสมเด็จ พวกเราได้ลง พื้นพื้นที่สารวจ ภาคสนาม (สัปดาห์ละ1 ครั้ง) โดยสารวจเกี่ยวกับเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอ ศรีสมเด็จ ตามหมู่บ้านที่เราได้สุ่มจับเลือกได้ โดยจดบันทึกข้อมูลรายระเอียดต่างๆ 2.1.2 คุณครูได้อบรมสมาชิกในกลุ่ม และวิธีการสารวจข้อมูลในชุมชน 2.1.3 ได้ไปขออนุญาตคนในชุมชนเพื่อขอสัมภาษณ์ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องจักสานที่ใช้ใน ครัวเรือนของตัวเอง 2.1.4 เตรียมอุปกรณ์ และแบบสอบถาม เพื่อที่จะลงพื้นที่ 2.2 ลงมือสารวจ 2.2.1 ลงมือสารวจเครื่องจักสาน 5 หมู่บ้านที่เราได้สุ่มจับสลาก พร้อมบันทึกข้อมูล รายละเอียด การสัมภาษณ์ของประโยชน์เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ 2.3 การสรุปผลข้อมูล 2.3.1 นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผล และอภิปรายผล เพื่อประเมินความสอดคล้องของ ข้อมูลที่รวบรวมมาได้แล้วนามาแปลความหมายและหาเหตุผล และหลักฐานในการอธิบายถึงผลการสารวจ 2.3.2 ได้สรุปผลการสารวจทั้งหมดโดยการเขียนรายงาน 4
  • 9. ขั้นที่3 ขั้นอนุรักษ์ 3.1 พวกเราได้ไปเรียนการจักสานเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ที่บ้านเหล่ายาว และได้อธิบายแก่คนที่ สอนพวกเราจักสานว่า เครื่องจักสานมันมีประโยชน์ แก่ทุกคน ทุกวันนี้พวกเราได้ใช้เครื่องจักสานใน ชีวิตประจาวันของพวกเรา พวกเราจึงอยากจะอนุรักษ์เครื่องจักสานเอาไว้ให้แก่คนในปัจจุบันรับรู้ ถึงความ ประโยชน์ของเครื่องจักสานว่ามีประโยชน์มากขนาดไหน 3.2 พวกเราได้สอนวิธีการจักสานให้แก่พี่ๆ น้องๆ เพื่อที่จะสืบทอดภูมิปัญญาอีสานต่อไป 5
  • 10. ขั้นที่4 ขั้นแบ่งปัน 4.1 จัดทาสมุดเล่มเล็กเพื่อมอบให้กับชุมชน น้องๆ เพื่อที่จะได้อ่าน แล้วรู้ถึงประโยชน์ของเครื่อง จักสานจากไม้ไผ่ 4.2 ได้แต่งเพลง และสรภัญญะ เกี่ยวกับประโยชน์ของเครื่องจักสาน 4.3 ได้ทาเว็บเพจของเครื่องจักสานขึ้นเพื่อเผยแพร่ และบอกประโยชน์ของเครื่องจักสาน ผู้แต่ง เด็กหญิง อรอนงค์ ขามกุลา ผู้แต่ง เด็กหญิง ภัทราภรณ์ กดสาพรมมา เด็กหญิง อภิญญารัตน์ มูลสูตร์ 6
  • 11. 7. สรุปผลการดาเนินงาน : จากการที่กลุ่มไผ่หวานสืบสานวัฒนธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจ เครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม ปรากฏว่า พบเครื่องจักสานที่ทาจากไม้ไผ่ในอาเภอศรีสมเด็จ 18 ชนิด ได้แก่ กระติบข้าว หวด กระด้ง ตะกร้า ไซ สุ่ม กระชัง หมวก เบ็งหมาก พัด ข้อง กระจาด ฝาชี กระชอน จั่น ลอบ พาข้าว และกระทอ โดยเครื่อง จักสานที่พบมากที่สุด คือ กระติบข้าว หวด และกระด้ง ตามลาดับ ไม้ไผ่ที่ใช้จักสาน คือ ไม้ไผ่ใหญ่หรือไม้ ไผ่บ้าน สามารถจาแนกความสัมพันธ์ของเครื่องจักสานตามประโยชน์ใช้สอยของชาวบ้านได้ 3 ประเภท คือ 1) ใช้ในครัวเรือน (52.63%) เช่น หวด กระติบข้าว พัด กระด้ง ฝาชี หมวก พาเข้า ตะกร้า ตะแกรง กระชอน 2) ใช้ในการเกษตรและประมง (36.84%) เช่น ข้อง ไซ ลอบ จั่นลอบ กระทอ กระบุง สุ่ม และ 3) ใช้ใน พิธีกรรมทางศาสนา (10.53%) เช่น เบ็งหมาก มีคนรู้จักเครื่องจักสาน (98.48%) เคยทาเครื่องจักสานจากไม้ ไผ่ (33.33%) ไม่เคยทา (66.67%) ส่วนใหญ่มักจักสานคนเดียวไม่รวมเป็นกลุ่ม (90.90%) อุปกรณ์ที่ใช้ใน การทาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ได้แก่ ไม้ไผ่ใหญ่ มีด ผ้าพันนิ้วมือ ด้าย เข็ม เชือก ลวด เลื่อย และคีมตัดเหล็ก แต่ละชิ้นส่วนมากใช้เวลาในการทา 2-3 วัน วัตถุประสงค์ในการทาเครื่องจักสาน คือ เพื่อใช้เอง เพื่อจาหน่าย และเพื่ออนุรักษ์ ความสาคัญตามลาดับ โดยได้เรียนรู้มาจากพ่อแม่ (55.56%) ฝึกฝนเอง (22.22%) และจาก ปราชญ์ชาวบ้าน (11.12%) ลวดลายที่พบมากที่สุดคือ ลายสอง(26.67%) ลายเวียน/ลายขัด (20.00%) และ ลายสาม(13.33%) ตามลาดับ และยังพบลายประยุกต์ด้วย ส่วนใหญ่ในครัวเรือนจะมีเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ (89.40%) ไม่มีเครื่องจักสาน (10.61%) ซึ่งในแต่ละครัวเรือนมีวิธีการเก็บรักษาเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ แตกต่างกันออกไป เช่น ใช้อย่างทะนุถนอม เก็บอย่างมิดชิด ใช้แล้วทาความสะอาด แช่น้า เอาไปลวกไฟ ไม่ ใช้ไฟแรงมาก เป็นต้น ชาวบ้านมีความคิดเห็นว่าเครื่องจักสานมีประโยชน์ในชีวิตประจาวันมาก เพราะ ประหยัด ใช้แทนภาชนะได้ มีประโยชน์หลายด้าน เช่น การเกษตร และยังสามารถสร้างรายได้ในการ ประกอบอาชีพได้ และยังมีความคิดเห็นว่าเครื่องจักสานในอดีตและปัจจุบันมีความแตกต่างกันมาก ทั้งใน ด้านความประณีต ในอดีตมีความประณีตมากกว่าปัจจุบัน ปัจจุบันไม่ค่อยมีคนทาใช้ส่วนใหญ่จะซื้อตาม ร้านค้า ปัจจุบันมีการประยุกต์และดัดแปลงลวดลายและรูปแบบของเครื่องจักสาน ซึ่งชาวบ้านได้เสนอแนะ วิธีการอนุรักษ์เครื่องจักสานฯ ไว้ เช่น สอนสู่ลูกหลาน (79.41%) บอกถึงความสาคัญ รักษาไว้และใช้ ตลอดไป (11.59%) 7
  • 12. ช่วงอายุที่มีการทาเครื่องจักสานเป็นมากที่สุดคือ อายุมากกว่า 60 ปี (66.66%) อายุ 41-60 ปี (25.00%) อายุ 31-40 ปี (4.17%) ตามลาดับ และพบว่า ช่วงอายุต่ากว่า 30 ปี ทาเครื่องจักสานไม่เป็น เพศชาย สานเครื่องจักสานเป็นมากกว่าเพศหญิง ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงไปเรียนรู้วิธีทาเครื่องจักสานจากปราชญ์ ชาวบ้านและนามาสอนรุ่นพี่และน้องๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพชนอีสานไว้ และเผยแพร่ แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านสมุดเล่มเล็ก เพลง สรภัญญะ และเว็บเพจเกี่ยวกับเครื่องจักสานเพื่อบอกประโยชน์ และคุณค่าของเครื่องจักสานของคนอีสาน ช่วงอายุที่สานเครื่องจักสานเป็น ช่วงอายุ (ปี) ชาย หญิง รวม ร้อยละ 7-15 - 1 1 4.17 16-20 - - 0.00 21-30 - - 0.00 31-40 1 1 4.17 41-60 2 4 6 25 มากกว่า60 10 6 16 66.66 รวม 13 11 24 100 ร้อยละ 54.17 45.83 100 8 4.17% 0% 0% 4.17% 25.00% 66.66% 0.00% 10.00% 20.00% 30.00% 40.00% 50.00% 60.00% 70.00%
  • 14. เอกสารอ้างอิง วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2553. นามานุกรมเครื่องจักสาน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ .368 หน้า. _____________. 2557. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 11. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว. 192 หน้า. 10
  • 16. สรุปเครื่องจักสานจากไม้ไผ่ที่มีในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด เรียงลาดับจากเครื่องจักสานที่มีจานวนน้อยที่สุดจนถึงเครื่องจักสานทีมากที่สุด ลาดับ ชื่อ จานวน ของเครื่อง จักสาน ลายของ เครื่องจัก สาน ประโยชน์ของ เครื่องจักสาน อ้างอิง 1 เบ็งหมาก 1 ลายเวียน ใช่ใส่ดอกไม้เวลา ไปวัด 2 จั่น 2 ลายเวียน ขังนก 3 กระทอ 2 ลายเวียน ใช้ใส่สิ่งของต่างๆ
  • 17. 4 พาข้าว 2 ลายเวียน ใช้วางถ้วยจาน ที่ใส่ อาหาร 5 ลอบ 2 ลายเวียน ใช้ใส่กบ 6 กระชอน 2 ลายเวียน ไว้กรองกะทิ 7 พัด 10 ลายสอง พัด
  • 18. 8 ฝาชี 13 ลายเวียน ใช้คอบอาหาร 9 กระจาด 14 ลายสอง ใช้ใส่สิ่งของ 10 หมวก 19 ลายสาม ใช้ใส่กันแดด 11 กระชัง 22 ลายเวียน ใช้ขังปลา หรือดัก ปลา
  • 19. 12 ไซ 23 ลายเวียน ใช้ขังปลา 13 สุ่ม 31 ลายเวียน ใช้ขังไก่ ขังเป็ด สัตว์ต่างๆ 14 ข้อง 32 ลายเวียน ใช้ใส่ปลา 15 ตะกร้า 33 ลายเวียน ใช้ใส่ของต่างๆ
  • 20. 16 กระด้ง 35 ลายสอง ใช้ฟัดข้าว ใช้ตาก เนื้อสัตว์ต่างๆ 17 หวด 57 ลายสอง ใช้นึ่งข้าว และใช้นึ่ง อาหารทุกประเภท 18 ก่องข้าว/กระติบข้าว 58 ลายสอง ใช้ใส่ข้าวเหนียวที่ นึ่งสุกแล้ว
  • 21. แบบสอบถาม เรื่อง: การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่) ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด คาชี้แจง: แบบสอบถามนี้ สร้างขึ้นโดยนักเรียนโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา เพื่อศึกษาความคิดเห็นของ ประชาชนในหมู่บ้านในอาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด มี 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไผ่) ขอความกรุณาท่านทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง  หรือเขียนข้อความที่ตรงกับความเป็นจริงและ ความคิดของท่านมากที่สุด ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.1 เพศ  ชาย  หญิง 1.2 อายุ 7-15 ปี  16-20 ปี  21-30 ปี  31-40 ปี  41-60 ปี มากกว่า 60 ปี 1.3 สถานภาพในครอบครับ  หัวหน้าครอบครัว  คู่สมรส  บุตร อื่นๆ………………………………….. 1.4 ที่อยู่ปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้าน…………….…..เลขที่………… หมู่ที่………… ตาบล………………………. อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 1.5 อาศัยอยู่หมู่บ้านนี้มานาน………………………………………….ปี 1.6 ระดับการศึกษา ไม่ได้เรียน ประถมฯ ม.ต้น ม.ปลาย ป.ตรี ป.โท ป.เอก อื่นๆ……… 1.7 อาชีพหลัก………………………………………………………………………………รายได้/ปี…….……………………….บาท 1.8 บทบาทหน้าที่ในหมู่บ้าน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกในหมู่บ้าน อื่นๆ …………… 1.9 ประสบการณ์เกี่ยวกับการจักสานเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไผ่)  ผู้จักสาน…………ปี  ผู้จาหน่าย………… ปี  ผู้ซื้อ/ผู้บริโภค…………ปี เป็นทั้งผู้จักสาน ผู้จาหน่ายและผู้ซื้อ/ผู้บริโภค …………ปี 1.10 วัน เดือน ปี ที่สอบถาม วัน……………………ที่……………เดือน………………………..…พ.ศ…………………….. 1.11 บรรยากาศขณะสอบถาม …………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 1.12 ชื่อผู้สอบถาม…………………………………………………………………………………………….………………………………….
  • 22. ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่) 2.1 ท่านรู้จักเครื่องจักสานหรือไม่?  รู้จัก  ไม่รู้จัก  ไม่แน่ใจ 2.2 ท่านเคยทาเครื่องจักสานหรือไม่?  เคย  ไม่เคย ถ้าท่านเคยจักสานท่านเคยจักสานอะไร? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 ท่านเคยทาเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่)ในลักษณะใด?  คนเดียว  เป็นกลุ่ม  และ อื่นๆ…………………………………………………………………….……………………………………………………………. 2.4 ในการทาเครื่องจักสานใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.5 ช่วงเวลาที่ท่านทาเครื่องจักสาน(แต่ละชิ้น) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.6 จุดประสงค์ในการทาเครื่องจักสาน (ที่ทาจากไม้ไผ่) ของท่านคืออะไร?  จักสานขึ้นเพื่อใช้เอง  จักสานขึ้นเพื่อจาหน่าย  จักสานขึ้นเพื่ออนุรักษ์ 2.7 ท่านเคยทาเครื่องจักสานอะไรแล้วบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ชนิด) หวด ก่องข้าว ตะกร้า ไซ กระด้ง สุ่ม กระชังขังปลา หมวก เบ็งหมาก  พัด ข้อง กระบุง กระจาด ตะแกรง  น้าถุ้ง  ฝาชี  กระชอน ฝาบ้าน ชนาง กระจู้ จั่น ลอบ กระชัง หมวก แงบ ตรอง กร้อ ตรอม คุตีข้าว กระทาย ขมุก พาเข้า อื่นๆ………………………………………………………………………..…. 2.8 ท่านเรียนรู้วิธีการทาเครื่องจักสานมาจากใคร มีวิธีการเรียนรู้อย่างไร? (โปรดระบุรายระเอียด) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.9 ลวดลายของเครื่องจักสานที่จักสานขึ้นมีกี่ลาย? ชื่อลายอะไรบ้าง? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.10 ท่านได้นาเครื่องจักสานที่จักสานขึ้นไปจาหน่ายหรือไม่  จาหน่าย  ไม่จาหน่าย  ทั้งจาหน่ายทั้งใช้เอง 2
  • 23. 2.11 สถานที่ที่นาเครื่องจาสานไปจาหน่าย  ที่บ้าน  ในหมู่บ้าน หมู่บ้านอื่น ลูกค้ามารับซื้อถึงบ้าน  ตลาดนัด  อื่นๆ (โปรดระบุ) ………………………………………… 2.12 วิธีการจาหน่ายและราคา  จาหน่ายเป็นชิ้นๆ ละ……..……….บาท  จาหน่ายเป็นราคาส่ง……………..…….บาท  อื่นๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………… 2.13 ท่านคิดว่าเครื่องจักสาน(ที่ทาจากไม้ไผ่) (ทั้งปริมาณและการจักสานขึ้นมาใช้) ในอดีตและปัจจุบันมีความ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร? (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.14 ท่านมีวิธีการถนอมหรือเก็บรักษาเครื่องจักสานให้คงสภาพอยู่ได้นานอย่างไร? (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.15 ท่านมีวิธีการอนุรักษ์เครื่องจักสานให้คงอยู่ต่อไปอย่างไร? (โปรดระบุ) ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………. 2.16 ท่านคิดว่าเครื่องจักสานมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร?  มีประโยชน์ เพราะ……………………………………………………………………………………………………………………………..  ไม่มีประโยชน์ เพราะ …………………………………………………………………… 2.17 ในครอบครัวของท่านมีเครื่องจักสานที่ทาจากไม่ไผ่หรือไม่? อะไรบ้าง?  มี  ไม่มี (ถ้าตอบมีโปรดระบุ) หวด ก่องข้าว ตะกร้า ไซ กระด้ง สุ่ม กระชังขังปลา หมวก เบ็งหมาก  พัด ข้อง กระบุง กระจาด ตะแกรง  น้าถุ้ง  ฝาชี  กระชอน ฝาบ้าน ชนาง กระจู้ จั่น ลอบ กระชัง หมวก แงบ ตรอง กร้อ ตรอม คุตีข้าว กระทาย ขมุก พาเข้า อื่นๆ………………………………………………………………………..…. ***********ขอขอบพระคุณทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการตอแบบสอบถาม********* 3