SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 6
ภัยพิบัติทางธรณี (Geological hazard)
6.1 ความหมายของภัยพิบัติทางธรณี
ภัยพิบัติทางธรณี หมายถึง ภัยทางธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น
แผ่นดินไหว สึนามิ หลุมยุบ ดินถล่ม หิมะถล่ม ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ถือเป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจาก
กระบวนการทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นโดยฉับพลันและรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเรือน ชีวิต
และทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่
6.2 สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
แผ่นดินไหวที่มีแหล่งกาเนิดจากภายนอกประเทศส่งแรงสั่น สะเทือนมายังประเทศไทย
แหล่งกาเนิดจากตอนใต้ของประเทศจีน พม่า ลาว ทะเลอันดามันตอนเหนือของเกาะสุมาตรา
แผ่นดินไหวเกิดจากแนวรอยเลื่อนที่ยังสามารถเคลื่อนตัว(รอยเลื่อนที่มีพลัง)ซึ่งยู่บริเวณภาคเหนือและ
ภาคตะวันตกของประเทศ
6.3 การตอบสนองต่อเหตุแผ่นดินไหว
6.4 ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Thailand Seismic Observatories)
ระบบเครือข่ายตรวจแผ่นดินไหวของประเทศไทยโดยสานักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ประกอบด้วย
1) สถานีตรวจแผ่นดินไหวหลักแบบอัตโนมัติสาหรับการหาตาแหน่งศูนย์กลาง ขนาดเวลาเกิด และ
ตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดินเพื่องานวิศวกรรมแผ่นดินไหวในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว จานวน
40 แห่งติดตั้งทั่วประเทศ
2) สถานีวัดอัตราเร่งของพื้นดินแบบดิจิตอล 27 สถานี
3) สถานีวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก 4 แห่ง เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กาญจนบุรี
4) สถานีวัดระดับน้าทะเล 9 แห่ง
- ฝั่งอันดามัน 4 แห่ง เกาะสตอร์ค จ.พังงา เกาะเมียง จ.พังงา เกาะราชาน้อย จ.ภูเก็ต เกาะ
ปะลัย จ.สตูล
- ฝั่งอ่าวไทย 5 แห่ง อ.คลองใหญ่ จ.ตราด อ.บางสะพาน ประจวบฯ เกาะสมุย จ.
สุราษฏร์ธานี อ.ระโนด จ.สงขลา อ.เทพา จ.สงขลา
6.5 วิธีเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุการณ์แผ่นดินไหว
IFRC (2013) ได้ระบุ key message สาหรับประชาชนทั่วไปในการเตรียมพร้อมรับมือกับ
แผ่นดินไหวเอาไว้เอาไว้อย่างละเอียดในคู่มือ Public Awareness and Public Education for Disaster
Risk Reduction1 กล่าวคือ
การประเมินและการวางแผน
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
ประเมินความเสี่ยงของตัวเอง
ในที่ทางาน ที่เรียนและที่เล่น
- เรียนรู้ถึงความรุนแรงของภัย แผนฉุกเฉินของท้องถิ่น ระบบสื่อสาร
และการเตือนภัยในชุมชนของตัวเอง
- ต้องสามารถระบุถึงภัยและความเปราะบางในบ้านของตัวเองและ
พื้นที่แวดล้อมได้
- เรียนรู้และมีรายชื่อข้อมูลการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่
และความรับผิดชอบในการประเมินและจัดการลดความเสี่ยง การ
เตือนภัยและการวางแผนรับมือกับภัยพิบัติ
- เรียนรู้ว่าใครเป็นคนที่มีโอกาสมากที่สุด ในการที่จะได้รับอันตราย
จากภัยพิบัติต่างๆ ที่ต่างๆ และทาไม
- ให้คาดว่าจะต้องพบกับสิ่งที่ไม่คาดคิด
ทาแผน - ผนวกเอาข้อมูลของครัวเรือนและสมาชิกในครอบครัวของตัวเองไว้
ในกระบวนการทาแผน
- นัดคนในครอบครัวพูดคุยกันถึงความเปราะบางของพวกเราและ
แผนรับมือในการเผชิญหน้ากับความเสี่ยงนั้น
- ตกลงกันถึงสิ่งที่ต้องทาในการลดความเสี่ยงและระบุถึงทรัพยากร
หรือความช่วยเหลือที่ต้องการในอนาคต
- วางแผนขั้นตอนที่ท่านจะทาในการปกป้องตัวเอง การสื่อสาร จุด
นัดหมายที่คนในครอบครัวของท่านจะไปรวมตัวกันและการฟื้นฟูที่
ต้องทาในเวลาต่อมา
- ตกลงกันว่าใครจะทาอะไร เมื่อไร อย่างไรและจะทาให้สาเร็จได้
อย่างไร
- ฝึกปฏิบัติและอัพเดทแผนอย่างสม่าเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงของ
ตัวเองและเตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
1 International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies (2013). Public Awareness and Public Education for
Disaster Risk Reduction: Key Messages (pp. 1-68).
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
ประเมินความสามารถและ
ความต้องการรายบุคคล
- ระบุความสามารถและความต้องการรายบุคคล โดยพิจารณาความ
ต้องการของแต่ละช่วงวัยของคนในครอบครัว โดยเฉพาะ
ความสามารถและความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารและการ
เคลื่อนไหว
- การเตรียมพร้อมเป็นความรับผิดชอบของทุกคน “คุณสามารถทา
สิ่งที่แตกต่างได้”
พิจารณาสิ่งจาเป็นในขณะนั้น
และการเข้าถึงสิ่งนั้น การ
สร้างสรรและการเตรียม
เครือข่ายสนับสนุน
- พิจารณาความต้องการและการเข้าถึงสิ่งจาเป็นของการดารงชีวิต
ในขณะนั้นของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนระหว่างประสบภัย
หากมีใครที่ต้องการความช่วยเหลือด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม ให้
วางแผนไว้ตั้งแต่ตอนนี้ว่าจะต้องขอความร่วมมือจากเครือข่าย
เพื่อนบ้าน เพื่อน เพื่อนร่วมงานในการให้ความช่วยเหลือในภาวะ
ฉุกเฉิน
- ใช้จินตนาการ นึกถึงเครือข่ายของตัวเองในการแก้ปัญหาต่างๆ
- ต้องแน่ใจว่าเครือข่ายของท่าน รู้วิธีใช้อุปกรณ์ส่วนบุคคลที่ท่าน
จาเป็นต้องใช้ในภาวะฉุกเฉิน
ทาแผนที่จะกลับมารวมตัวกัน - ตกลงกันถึงจุดนัดพบที่เป็นพื้นที่ปลอดภัยภายในบ้าน นอกบ้าน
และข้างนอกรอบๆบ้าน
- กาหนดรายชื่อผู้มีอานาจและผู้ประสานงานที่จะรับส่งเด็กจาก
โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ตัดสินใจว่าใครจะเป็นคนกลางในการติดต่อสื่อสารถึงกันใน
ครอบครัวระหว่างที่อยู่นอกบ้าน ใครจะเป็นตัวหลัก ตัวสารองใน
การทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลในการติดต่อกันในครอบครัว
ทาข้อมูลการติดต่อกรณี
ฉุกเฉินและข้อมูลสุขภาพ
- ทาการ์ดสาหรับให้เบอร์ติดต่อในเหตุฉุกเฉินพร้อมกับข้อมูลสุขภาพ
ให้สมาชิกในครอบครัวติดตัวไว้ตลอดเวลา (โดยเฉพาะเด็กเล็ก
เวลาออกจากบ้าน ไปโรงเรียนและคนที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ
เป็นพิเศษ)
- ทาสาเนาใบข้อมูลนี้เก็บไว้ในที่ที่หาเจอได้ง่ายเมื่อประสบภัยหรือมี
เหตุฉุกเฉิน แบ่งปันข้อมูลให้เครือข่ายสนับสนุนของท่านทราบด้วย
รู้เส้นทางออกจากอาคารของ
ตัวเอง
- ระบุทางออกของตัวเองและพิจารณาเส้นทางของทางออกที่
ปลอดภัยเมื่อเกิดแต่ละอย่าง
- จัดการทางออกให้โล่งไว้
- ระบุพื้นที่ปลอดภัยที่อยู่ห่างจากอาคารของตัวเอง (บ้าน ที่ทางาน
โรงเรียน)
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
ทาแผนจาเพาะเมื่อครอบครัว
ของท่านต้องออกไปจากบ้าน
หรือไปอยู่ศูนย์พักพิง
- เมื่อเกิดเหตุการณ์และภัยต่างๆ ท่านต้องเจอกับอะไรหลายๆอย่าง
หลายวันตั้งแต่ตอนเตือนภัยไปจนถึงตอนที่ทุกอย่างสงบ ขอให้คน
ในครอบครัวระบุฉากทัศน์ของสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และตัดสินใจว่าจะ
ให้ที่ไหนเป็นพื้นที่ปลอดภัยของครอบครัวท่าน ศูนย์พักพิงหรือจุด
อพยพไหนที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
- เตรียมพร้อมพื้นที่ปลอดภัย ว่าจะให้เป็นที่บ้าน นอกบ้าน หรือ
ออกไปจากบ้าน
เรียนรู้และร่วมมือกับชุมชน
ของท่านในการทาระบบเตือน
ภัยล่วงหน้าของชุมชน
- เรียนรู้ระบบเตือนภัยล่วงหน้าของชุมชน ถ้าชุมชนยังไม่มี ให้
ช่วยกันพัฒนา ใส่ใจกับข้อมูลการเตือนภัยที่แจ้งเข้ามาและทาความ
เข้าใจกับทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง
- ให้ความใส่ใจกับการเตือนภัยอย่างจริงจัง แม้การเตือนจะดังขึ้น
บ่อย ก็ขอให้ตื่นตัวกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นตามมา เพราะความ
เสี่ยงมักจะเพิ่มขึ้นตามข้อมูลการเตือนภัยที่แจ้งขึ้น
- ทาตามคู่มือการอพยพโดยไม่ต้องลังเล
- อย่ากลับไปที่บ้านจนกว่าผู้ที่มีอานาจในท้องถิ่นประกาศว่า
สถานการณ์ปลอดภัยแล้ว
ทาแผนอพยพเป็นของตัวเอง
: ต้องรู้จุดหมายปลายทางของ
ศูนย์พักพิงของตัวเอง
- ระบุจุดปลอดภัยที่ท่านสามารถไปถึงได้หากต้องการไปอยู่ศูนย์พัก
พิงหรือจาเป็นต้องมีการอพยพ
- วางแผนทางเลือกของเส้นทางอพยพ วิธีอพยพและลองฝึกเดินทาง
อพยพไปตามเส้นทางนั้น
- ทางานกับเครือข่ายของท่านในการกาหนดวิธีการเดินทางหากต้อง
มีการอพยพจริงๆ
- ถามหาแผนชุมชนสาหรับทิศทางในการอพยพและทางเลือกในการ
เดินทางเอาจากคนที่มีอานาจหน้าที่จัดการภาวะฉุกเฉินในท้องถิ่น
เรียนรู้เกี่ยวกับตาแหน่งที่ตั้ง
ของศูนย์พักพิง ที่หลบภัย
หรือที่พักชั่วคราวที่เหมาะสม
- จัดการที่พักชั่วคราวร่วมกับเพื่อน คนอื่นๆ ไว้ในที่ที่ห่างจากพื้นที่
อันตราย
- เรียนรู้เกี่ยวกับตาแหน่งที่ตั้งของศูนย์พักพิงหรือที่หลบภัยของ
ชุมชนของท่าน และตรวจสอบสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ หากไม่มีใครที่
เชี่ยวชาญ ให้เริ่มจากหาวิธีตั้งที่จะตั้งศูนย์พักพิงขึ้นก่อน
- วางแผนไปข้างหน้าที่จะมารวมตัวกัน โดยไม่หลงและไม่ล่าช้าได้
อย่างไร
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
เก็บสาเนาของเอกสารสาคัญ
ประจาตัวต่างๆไว้กับตัว
- เก็บสาเนาเอกสารสาคัญประจาตัวของท่านไว้ในกระเป๋าอพยพ
เบอร์ติดต่อนอกพื้นที่ กล่องนิรภัยและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (เช่น
ฮาร์ดดิสก์ หรือ เมมโมรี่สติ๊ก)
รวมเอาแผนการดูแลสัตว์เลี้ยง
และปศุสัตว์เอาไว้ในแผนของ
ท่าน
- วางแผนว่าจะดูแลสัตว์เหล่านั้นอย่างไร
- ใช้ปลอกคอที่มีป้ายชื่อ ไมโครชิพ รอยสักหรือการตีตราสาหรับระบุ
ตัวสัตว์ พร้อมกับถ่ายรูปไว้ สาหรับใช้ตามหาหากมีการสูญหาย
- ให้วัคซีนและอัพเดทบันทึกประวัติ แล้วนาข้อมูลเหล่านี้ติดตัวไป
ด้วยเวลาอพยพ
- ระบุล่วงหน้าถึงวิธีและสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว
รวมความเสี่ยงทางการเงินไว้
ด้วยกัน
- หากเป็นไปได้ ให้ซื้อประกันหรือรวมเงินไว้ตั้งกองทุนประกันตัวเอง
กับคนกลุ่มใหญ่ ตรวจสอบว่าภัยอันตรายที่เราต้องเผชิญนั้นมี
อะไรบ้าง เพื่อความรอบคอบ ให้นาทรัพย์สินที่มีค่าไปไว้ในที่
ปลอดภัยที่ห่างไกลจากพื้นที่เสี่ยงภัย
ขยายวง ทาแผนกับเพื่อน
บ้านและชุมชนร่วมกันอย่าง
ต่อเนื่อง
- รู้จักเพื่อนบ้านของท่าน
- เรียนรู้เกี่ยวกับแผนการจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินของ
โรงเรียน ท้องถิ่นและที่ทางาน
- เข้าไปมีส่วนร่วมในที่ทางาน โรงเรียน องค์กรชุมชน ทีมหรือ
โครงการที่ส่งเสริมการวางแผน การประเมินศักยภาพและความ
เปราะบางในการทากิจกรรมเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ
- แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้
การลดความเสี่ยง : ทางกายภาพและสภาพแวดล้อม
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
ประเมินความเสี่ยงของตัวเอง
ในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ที่ทางาน
ที่เรียนและที่เล่น
- เรียนรู้เกี่ยวกับความรุนแรงของภัย แผนจัดการภาวะฉุกเฉินของ
ท้องถิ่น การสื่อสารและระบบเตือนภัยในชุมชนของตัวเอง
- ระบุภัยและความเปราะบางของบ้านและพื้นที่โดยรอบ
- เรียนรูเกี่ยวกับรายชื่อผู้ติดต่อ บทบาท ความรับผิดชอบของ
หน่วยงานรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินภัย การแจ้งเตือนภัย
ล่วงหน้าและการวางแผนรับมือกับภัยพิบัติ
- เรียนรู้ว่าใครเป็นคนที่มีโอกาสมากที่สุด ในการที่จะได้รับอันตราย
จากภัยพิบัติต่างๆ ที่ต่างๆ และทาไม
- ให้คาดว่าจะต้องพบกับสิ่งที่ไม่คาดคิด
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
สร้างบ้านของคุณให้เป็นที่
ปลอดภัยเทศบัญญัติควบคุม
อาคาร
- พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของภัยที่มีอยู่ในพื้นที่นั้นก่อนที่จะตั้งจุด
ที่จะสร้างบ้าน
- เรียนรู้เกี่ยวกับเทศบัญญัติควบคุมอาคารของพื้นที่ที่เราอาศัย
ก่อนที่จะเริ่มลงมือสร้างบ้าน
- ออกแบบ สร้างและดูแลรักษาบ้านของตัวเองให้เป็นไปตามเทศ
บัญญัติควบคุมอาคาร ตามมาตรฐานนานาชาติและข้อปฏิบัติที่ดี
ของท้องถิ่น เพื่อปกป้องบ้านของตัวเองจากการทรุดตัว การเลื่อน
ของแผ่นดิน ลม น้า และสภาพอากาศที่รุนแรง
ตรวจสอบสภาพบ้านเป็น
ประจาทุกปีเพื่อให้บ้านของ
ตัวเองอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย
- ทาการตรวจสอบบ้านประจาปีเพื่อระบุและทาตามเงื่อนไขที่ถูกต้อง
เพื่อป้องกันบ้านที่จะได้รับความเสียหายจากไฟ แผ่นดินทรุด
แผ่นดินเคลื่อน ลม น้า และสภาพอากาศที่รุนแรง
- ทาให้แน่ใจว่าหน้าต่างสามารถเปิดได้จากด้านในและทางออก
ฉุกเฉินไม่ถูกปิดกั้น
- ไม่มีสิ่งที่เป็นเชื้อไฟภายในบ้าน
- ตรวจสอบและซ่อมแซมระบบไฟฟ้า
- ทาความสะอาดระเบียงและท่อน้า
- ดูแลระบบทาความร้อนและปล่องไฟ
- เปลี่ยนแบตเตอรี่สัญญาณตรวจจับควัน
ทาบ้านป้องกันไฟ - ห้ามไม่ให้มีการสูบบุหรี่บนเตียงหรือเวลานอน
- นาไม้ขีด พรม สิ่งที่ติดไฟง่าย หรือสิ่งที่ใช้ติดไฟเอาไว้ให้ห่าง
จากมื่อเด็กและแหล่งความร้อน
- อย่างจุดเทียนหรือไฟแล้วปล่อยไว้โดยไม่มีใครดูแล
- อย่าใช้ไฟฟ้าโอเวอร์โหลด
- ตรวจสอบสายไฟในบ้าน ซ่อมแซมสายไฟที่ชารุด จัดการกับ
เต้าเสียบ ปลั๊กที่หลวมให้มีสภาพดี อย่าเสียบปลั๊กไว้ใต้พรม
- ตรวจสอบและดูแลรักษาจุดเชื่อมต่อของท่อแก๊ส
- ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันในพื้นที่ที่ใช้นอนและจุดต่างๆในบ้าน
- ทิ้งขี้เถ้าในภาชนะที่เป็นเหล็กและมีน้าหล่ออยู่เสมอ
- ใช้เครื่องทาความร้อนที่มีใบรับรองความปลอดภัยและปฏิบัติตาม
วิธีใช้ที่กาหนดมา
- อย่าเอาเตาอบในครัวมาใช้แทนเครื่องทาความร้อนในบ้าน
- อย่าใช้หรือเติมน้ามันเชื้อเพลิงเครื่องปั่นไฟขณะอยู่ในบ้าน
สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง
เก็บวัตถุอันตรายไว้ในที่
ปลอดภัย
- จากัด คัดแยก หลีกเลี่ยงและแยกวัตถุอันตรายที่มีอยู่
- จัดเก็บวัตถุมีพิษและวัตถุที่ติดไฟง่ายไว้ในพื้นที่ปิดอย่างตู้เหล็ก
หรือตู้ที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุไฟไหม้ สารเคมีหรือสารพิษ
รั่วไหล
ปกป้องปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง - ให้แน่ใจว่าคอกสัตว์หรือเล้าสัตว์ที่อยู่นอกบ้านได้รับการปกป้อง
จากสารพิษสารเคมีเช่นเดียวกับในบ้าน
ทาตัวให้มีสุขอนามัยและ
สุขาภิบาลที่ดี
- ล้างมือให้ดี โดยใช้สบู่ น้า หรือ ทราย
- ใช้ห้องน้าหรือทาการกาจัดของเสียของมนุษย์ตามหลักสุขอนามัย
- อย่าถ่ายอุจจาระในที่โล่งหรือใกล้แหล่งน้า
- ป้องกันอย่าให้น้าและอาหารเสบียงได้รับการปนเปื้อนจากสิ่ง
สกปรก
ปกป้องสิ่งแวดล้อมของตัวเอง - อนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่มีค่า: ลดการใช้ ใช้ซ้าและนา
กลับมาใช้ใหม่
- ติดตามและลดการใช้พลังงานและน้า
การเตรียมพร้อมรับมือ : พัฒนาทักษะ
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
เรียนรู้วิธีปิดสาธารณูปโภคใน
บ้านของตัวเอง
- เรียนรู้ว่าจะปิดน้า ไฟฟ้า แก๊ส ซึ่งเป็นสาธารณูปโภคของตนเองได้
อย่างไร
- ทาให้แน่ใจว่าสาธารณูปเหล่านั้นมีเส้นทางที่จะเข้าไปถึงได้ง่าย ไม่
ถูกปิดกั้นเมื่อต้องเข้าไปปิดในภาวะฉุกเฉิน
- ติดตั้งอุปกรณ์หรือวาล์วตัดแก๊ส ตัดไฟในตาแหน่งที่เหมาะสม
- หากจาเป็น ให้ใช้ประแจหรือเครื่องมือต่างๆในการปิด
สาธารณูปโภคนั้น
ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ ให้ใช้ไฟ
อย่างระมัดระวัง
- เมื่อเกิดภัยพิบัติ หากไฟฟ้าดับด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม อย่าเพิ่งจุด
ไฟ หรือทาให้เกิดประกายไฟ (รวมถึงบุหรี่ ไม้ขีดและเทียน)
- ใช้ไฟจากถ่ายไฟฉาย โคมไฟฟ้า หรือไฟแฟลชไปก่อน จนกว่าจะ
แน่ใจได้ว่าไม่มีอันตรายจากแก๊สรั่วหรือน้ามันรั่ว
เรียนรู้วิธีจัดการไฟ - ถ้าเป็นไปได้ ให้เคลื่อนย้ายทุกคนออกจากจุดอันตรายทันที
- ให้แน่ใจว่าประตูและหน้าต่างปิดดีแล้ว ควันและไฟถูกจากัดอยู่
- แจ้งเตือนคนอื่นๆว่าเกิดไฟไหม้และกดสัญญาณของระบบเตือนภัย
- เรียกหน่วยดับเพลิงฉุกเฉินมาช่วย
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
- พยายามดับไฟเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสม
ดับไฟขนาดเล็ก - ดับไฟขนาดเล็กภายในสองนาทีแรกของที่เพิ่งจุดติดจากเชื้อเพลิง
อากาศหรือความร้อน
- เรียนรู้ที่จะใช้ถังดับเพลิง(ABC) ถังทรายหรือผ้าห่มตบไฟในจุดที่
ไฟไหม้ พร้อมกับเรียนรู้วิธีดูแลรักษาอุปกรณ์ดับเพลิง
- ก่อนที่จะผจญเพลิง ให้ผู้ดับเพลิงจะต้องทราบเส้นทางหนีและยืน
อยู่ห่างจากเพลิงอย่างน้อย 1.8-2.5 เมตร (6-8 ฟุต) หากเป็นไปได้
ให้มีผู้ช่วยยืนอยู่ข้างหลังเพื่อความปลอดภัยด้วย
- ฝึกดับเพลิง : ดึงสลักนิรภัยออก เล็งไปที่ฐานของเปลวไฟ บีบที่จับ
แล้วส่ายน้ายาดับเพลิงฉีดกวาดดออกไปที่ไฟ
- ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้เตาไฟประกอบอาหาร ให้เอาฝาหม้อครอบ
กระทะที่ไหม้อยู่ หรือใช้ผ้าห่มชุบน้า กระสอบชุบน้าคลุมลงไปยัง
กะทะหรือเตาที่เกิดเพลิงไหม้ จากนั้นจึงเข้าไปปิดไฟ แล้วคลุมผ้า
ชุบน้าทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง
- อย่าใช้น้าหรือโฟมดับเพลิงในการดับไฟที่มาจากน้ามันหรือไฟจาก
ไฟฟ้า
ใช้เครื่องดับเพลิงที่ถูกต้องกับ
สถานการณ์
ใช้อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสม
1) แรงดันน้า สาหรับคลาส A ไฟธรรมดา อย่างไม้ไฟไหม้ กระดาษ
ไฟไหม้ พลาสติกหรือผ้าไฟไหม้
2) คาร์บอนไดออกไซด์สาหรับคลาส B ไฟจากของเหลว อย่าง
น้ามันไหม้ไฟ น้ามันเชื้อเพลิง สี กาว จารบีและคลาส C ที่เป็น
วงจรไฟฟ้าเช่น คอมพิวเตอร์ไฟไหม้ ไฟฟ้าในบ้านลัดวงจร
3) ผงเคมีแห้ง ใช้ได้ทั้ง คลาส ABC
รู้ว่าต้องทาอะไรถ้าเห็นไฟ
หรือได้กลิ่นควัน
- ถ้าได้กลิ่นควันหรือพบเห็นเปลวไฟให้รีบบอกคนอื่น รีบออกมาข้าง
นอกแล้วเรียกคนอื่นมาช่วย
- ถ้ามีควันไฟลอยเข้ามาในห้อง ให้ทาตามคาแนะนาคือ “ก้มลงให้ต่า
แล้วออกไปข้างนอก ควันไฟหรือก๊าซที่เป็นพิษฆ่าคนได้มากกว่า
ไฟที่เผาตัวคน ให้ใช้หลังมือแตะที่ลูกบิดและพื้นที่รอบๆว่าร้อน
หรือไม่ ก่อนที่จะเอามือจับลูกบิดเพื่อเปิดประตูออกไป ถ้าไม่ร้อน
ให้ปิดประตูหน้าต่างและปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าให้หมดก่อนค่อยเปิด
ออกไป
- ใช้ผ้าชุบน้าปิดจมูกและปากของตัวเอง เพื่อลดการสูดดมควัน
ในขณะที่อพยพหรือรอการช่วยเหลือ
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
- หากเกิดไฟลุกไหม้บนตัวท่าน ให้ท่าน 'หยุดอยู่กับที่ ก้มลงและม้วน
ตัว' เพื่อดับไฟที่ติดอยู่บนตัว ถ้ามีคนอื่นที่ถูกไฟไหม้ด้วยก็บอก
พวกเขาให้ทาแบบเดียวกัน
- ถ้าออกไปจากจุดที่เกิดเพลิงไหม้ไม่ได้ ให้ปิดประตูและก้มต่าอยู่
ข้างใน เปิดหน้าต่างแง้มไว้เล็กน้อยเพื่อส่งสัญญาณขอความ
ช่วยเหลือ ปกป้องมือและใบหน้าไว้ด้วยผ้าชุบน้า นาผ้าเช็ดตัวชุบ
น้าไปอุดไว้ที่ช่องประตูด้านล่างเพื่อป้องกันควันเข้ามาในห้อง
ตอบสนองกับสัญญาณเตือน - ตื่นตัวกับการแจ้งเตือนฉุกเฉินและการตอบสนองโดยฉับพลัน
- รู้ว่าระบบเตือนเป็นสิ่งที่ต้องถูกใช้และฝึกการตอบสนองของตัวเอง
เราต้องรู้ว่าทางออกมีให้เลือกออกได้ตรงจุดไหนบ้าง
- หากได้รับคาแนะนาให้อพยพ ให้ออกมาจากจุดนั้นทันที
- นาสัตว์เลี้ยงหรือสัตว์ที่อยู่ในการดูแลของตัวเองออกไปด้วย
- อย่าลืมกระเป๋าอพยพที่มีสาเนาเอกสารประจาตัวไปด้วย
- ดูแลทรัพย์สินของตัวเองให้ปลอดภัยถ้ามีเวลา
เรียนรู้วิธีการปฐมพยาบาล - เรียนรู้ทักษะการปฐมพยาบาล ให้แน่ใจว่าอย่างน้อยก็มีสมาชิกใน
ครอบครัวสักหนึ่งคนที่ผ่านการฝึกปฐมพยาบาล
- ฝึกฝนและปรับปรุงความรู้ในการปฐมพยาบาลของตัวเองเป็น
ประจาทุกปี
ฝึกฝนการฝึกซ้อมฉุกเฉิน
ปกติ
- จัดการหรือมีส่วนร่วมในการฝึกซ้อมการอพยพฉุกเฉิน (รวมทั้งที่
บ้าน) อย่างน้อยปีละสองครั้ง
- จัดการหรือมีส่วนร่วมในการฝึกซ้อมเป็นอันตรายอื่น ๆ รวมทั้งการ
จาลองสถานการณ์เต็มรูปแบบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
- ให้แน่ใจว่าจะรวมสมาชิกทั้งหมดในครัวเรือนมาฝึกซ้อมได้
ตอบสนองสิ่งจาเป็นของสัตว์
เลี้ยง
- หากท่านเลี้ยงสัตว์ การอพยพควรทาก่อนที่ภัยจะมา หรือไม่ก็ต้อง
ทาให้คอกสัตว์ รั้วหรือเล้าสัตว์มีความแข็งแรงที่จะปกป้องสัตว์ได้
- หากจาเป็นจะต้องทิ้งสัตว์ไว้ ให้ทิ้งอาหารแห้งไว้ให้สัตว์ อย่าผูก
หรือล่ามสัตว์เอาไว้หรือปิดอาคารขังไว้
ใช้โทรศัพท์เมื่อมีเหตุจาเป็น
หรือเหตุฉุกเฉินเท่านั้น
- ใช้โทรศัพท์ให้น้อยที่สุด ใช้เมื่อจาเป็นต้องติดต่อขอความช่วยเหลือ
กับภายนอกในกรณีที่มีการบาดเจ็บหรือเกิดความเสียหาย นอกนั้น
ให้เปิดสายเอาไว้สาหรับกรณีฉุกเฉิน
- รู้หมายเลขโทรศัพท์ของการแจ้งเหตุเพลิงไหม้หรือเหตุฉุกเฉิน
ต่างๆ บันทึกหมายเลขโทรศัพท์เหล่านี้ไว้ในเครื่องโทรศัพท์
- เก็บโทรศัพท์ไว้กับตัว รักษาแบตเตอรี่ไว้ให้มีการใช้น้อยที่สุด
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
- ใช้ข้อความสั้นแทนการโทรออกด้วยเสียง สื่อสารกันเฉพาะข้อมูลที่
สาคัญในภาวะฉุกเฉินมากกว่าจะเล่าถึงสิ่งที่อยากรู้
- ส่งข้อความข้อความสั้นเพียงหนึ่งข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือเพื่อ
รายงานสถานะของตัวเองไปยังคนที่อยู่นอกพื้นที่ เรียนรู้เกี่ยวกับ
การใช้ hashtags ฉุกเฉินสาหรับการส่งข้อความทางโซเชียลมีเดีย
ในกรณีฉุกเฉิน
ดูแลการสื่อสาร - ให้แน่ใจว่าป้ายสัญลักษณ์ถนนและเลขที่บ้านมีความชัดเจนพอหาก
หน่วยฉุกเฉินจะเข้ามาช่วยที่บ้าน
ติดตามข้อมูลอยู่เสมอ - ติดตามข่าวสารจากวิทยุพกพาหรือโทรทัศน์สาหรับข้อมูลภาวะ
ฉุกเฉินและคาแนะนาด้านความปลอดภัย
- รู้คลื่นความถี่ของสถานีวิทยุท้องถิ่นที่ให้ข้อมูลในภาวะฉุกเฉิน
ทาความคุ้นเคยกับวิธีการ
บาบัดน้าเสียในครัวเรือนใน
การทาน้าสะอาด
- หากแหล่งน้าไม่สะอาดหรือน้าไม่ได้เก็บไว้อย่างเหมาะสม ให้นา
น้ามันเข้าสู่การบาบัดน้าในระดับครัวเรือน
- ให้กรองน้ารอบแรก ผ่านสาลีสะอาดก่อน ตามด้วยการฆ่าเชื้อ การ
ตกตะกอนหรือการกรอง
หลังจากอันตรายผ่านไป ให้
ช่วยคนรอบข้าง
- สิ่งแรกคือ ตรวจสอบความมั่นคงและความปลอดภัยของ
สภาพแวดล้อมก่อนที่จะเคลื่อนย้ายตัวเองไปช่วยคนอื่น
- ตรวจสอบการบาดเจ็บของตัวเองและคนอื่น อย่าพยายาม
เคลื่อนย้ายคนที่บาดเจ็บสาหัสหากไม่จาเป็นจริงๆคือ มีอันตรายที่
จะทาให้เขาตายได้หากไม่เคลื่อนย้ายออก
- หากจาเป็นต้องเคลื่อนย้ายคนที่หมดสติ ให้ยึดคอกับหลังไว้อย่าให้
เคลื่อนไหวแล้วจึงเคลื่อนย้าย
- หากมีคนที่หยุดหายใจ ให้นาเขานอนราบกับพื้น จับคางเงยขึ้นเพื่อ
ทาทางเดินหายใจให้โล่ง บีบจมูกปิดไว้แล้วช่วยหายใจทางปาก
- รักษาอุณหภูมิของร่างกาย ไม่ให้เย็นเกินไปหรือร้อนเกินไป ยกขา
ให้สูงขึ้นประมาณ 20-30 เซนติเมตร (7-12 นิ้ว) ให้สูงกว่าหัวใจ
- ห้ามเลือดด้วยการกดหรือยกให้สูง ที่ไม่ใช่การรัด
หลังจากภัยอันตรายผ่านไป
ให้ตรวจสอบความเสียหาย
ทาตามคาแนะนาที่ระบุด้านล่างสาหรับสถานการณ์ดังต่อไปนี้:
- แก๊ส: ตรวจสอบการรั่วไหล หากได้กลิ่นก๊าซ ได้ยินเสียงลม เสียง
รั่ว หรือพบเห็นท่อแก๊สแตก ให้เปิดหน้าต่างแล้วพาทุกคนออกไป
ข้างนอกอย่างรวดเร็ว พร้อมกับหาความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
ดับไฟ อย่าทาให้เกิดประกายไฟทุกชนิด อย่าแตะต้องสวิตช์ไฟ
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
- ไฟฟ้า : หากร่างกายหรืออุปกรณ์ที่ติดอยู่กับตัวเราแตะอยู่กับน้า
อย่าแตะต้องวงจรไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า อย่าแตะต้องสายไฟที่
เสียหายหรือชิ้นส่วนของมัน หากเป็นไปได้ให้ยกสะพานไฟขึ้นแล้ว
ตรวจสอบความเสียหาย ถ้าไฟดับ ให้ปิดหรือถอดปลั๊กอุปกรณ์ออก
เพื่อป้องกันไฟกระชากเมื่อไฟกลับมา หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัย
ให้ออกมาข้างนอกแล้วเรียกคนมาช่วยเหลือ
- น้าเสีย: ถ้าสงสัยว่าระบบน้าเสียในบ้านได้รับความเสียหาย ให้
หลีกเลี่ยงการใช้ห้องสุขาและน้าประปา ให้ปล่อยถังน้าเสียไว้แบบ
นั้นอย่าปล่อยน้าเสียลงไปเพิ่ม
- น้า: หากสงสัยระบบน้าใช้ได้รับความเสียหาย ให้ปิดวาล์วหลัก
หลียเลี่ยงการใช้น้า ยกเว้นน้าจากเครื่องทาความร้อนที่ไม่ได้รับ
ความเสียหายหรือน้าจากก้อนน้าแข็งแช่ไว้ที่ทาก่อนเกิดภัย
- น้ามันรั่ว: ให้ทาความสะอาดน้ามันที่รั่วออกมาอย่างระมัดระวัง
วางภาชนะบรรจุภัณฑ์ไว้ในที่ที่อากาศถ่ายเทสะดวก เก็บของเหลว
ที่ติดไฟได้ไว้ห่างจากแหล่งความร้อน ใส่ใจเป็นพิเศษกับวัตถุไวไฟ
เช่นน้ามัน, สีทินเนอร์หรือน้ามันไฟแช็ก
หลังจากภัยผ่านไป ให้ดูแล
ตัวเอง
- เก็บข้อมูลสุขภาพที่สาคัญไว้กับตัว โดยเฉพาะถ้าท่านเป็น
เบาหวาน โรคหัวใจ หรือจาเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่าง
ต่อเนื่องหรือต้องมีการควบคุม การให้ยา หรือใช้อุปกรณ์ในการ
รักษาต่างๆ
- พยายามอย่าให้อ่อนเพลีย ดูแลตัวเอง, พักผ่อนและนอนหลับ
- ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอ กินให้พอเท่าที่จาเป็นตามสถานการณ์
- สวมรองเท้า เสื้อผ้าและถุงมือที่ปกป้องตัวเอง
- หากท่านต้องทางานเศษซากสิ่งปรักหักพัง ให้ล้างมือให้ด้วยสบู่
และน้าสะอาด
หลังจากภัยผ่านไป ให้ช่วยกัน
ทาความสะอาดและฟื้นฟู
การช่วยกันฟื้นฟูเป็นสิ่งที่แสดงถึงความน้าหนึ่งใจเดียวกันของชุมชน
ตัวเราและเพื่อนบ้านสามารถช่วยกันได้โดย ช่วยกันเป็นอาสาสามัคร
ในการรับมือกับภัยพิบัติในพื้นที่ได้แก่
- เปิดเส้นทางการขนส่งฉุกเฉินที่ถูกปิดกั้นหลังจากเกิดภัย
- การตรวจสอบความเสียหายของน้า ของเสีย แก๊สและสายไฟฟ้า
แล้วรายงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- การปฐมพยาบาล
- การดับเพลิง (เช่น การส่งถังต่อๆกัน)
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
- เป็นฝ่ายสนับสนุนของงานขนส่งให้กับผู้เชี่ยวชาญที่เข้ามาช่วยใน
ชุมชน (เช่น ช่วยตัดไม้เพื่อช่วยทีมค้นหาและกู้ภัยในกรณีอาคาร
ถล่ม)
- จัดตั้งศูนย์พักพิง
- เตรียมพร้อม จัดสรร น้าและอาหาร
- ให้การดูแลเด็ก
- ติดตามสัตว์เลี้ยงที่พลัดหลง
- สร้างสุขอนามัยและจัดการส้วมฉุกเฉิน
- ให้แน่ใจว่าศูนย์พักพิง มีน้า มีสุขาภิบาลและมีการจัดสรรอาหารที่
คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ตามความจาเป็นในขณะนั้น
หลังจากภัยผ่านไป ช่วยเหลือ
กันและกัน
- หลังจากภาวการณ์ที่ไม่ปกติผ่านไป ความเศร้า ความเสียใจ ความ
โกรธและอารมณ์ที่หลากหลายจะเกิดขึ้นหลังจากสถานการณ์ที่ไม่
ปกติ ให้ทุกคนทาตัวให้ยืดหยุ่นและทาความเข้าใจกับความ
หลากหลายที่ต้องรับมือ
- ลดความเครียดลงด้วยการให้เวลากับสิ่งที่รัก พูดคุยและดูแลตัวเอง
- ระวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความต้องการของเด็ก
- ให้เด็กได้กลับทากิจกรรมนันทนาการและการศึกษาตามปกติ
โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
- ทางานร่วมกันเพื่อกลับไปทางานตามบทบาท ความรับผิดชอบและ
งานประจา
- จัดการหรือจัดให้เกิดการมีส่วนร่วมในการราลึก หากรู้สึกว่าเป็น
ประโยชน์
- ฝึกฝนการเตรียมความพร้อมร่วมกันต่อไป
การเตรียมพร้อมรับมือ : เตรียมสิ่งที่จาเป็น
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
ตรวจสอบโทรศัพท์ - ให้แน่ใจว่าอย่างน้อยก็มีโทรศัพท์สายตรง เป็นโทรศัพท์ที่ไม่ใช้
ไฟฟ้าที่ใช้ได้สักเครื่อง
- สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้มีแบตเตอรี่สารองหรือที่ชาร์จพลังงาน
แสงอาทิตย์สารองไว้ใช้
สารองน้าและอาหาร - สารองน้าสะอาดให้เพียงพอและอาหารที่ไม่เน่าสาหรับการยังชีพได้
ประมาณหนึ่งสัปดาห์ สารองน้าประมาณ 25-30 ลิตร (เจ็ด
แกลลอน) ไว้สาหรับสมาชิกในครัวเรือนแต่ละคน ครึ่งหนึ่งของน้าที่
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
สารองไว้จะถูกใช้เป็นน้าดื่ม น้าสาหรับประกอบอาหารและใช้ใน
เรื่องของสุขอนามัย
- เก็บน้าไว้ให้สะอาดในภาชนะที่ปิดสนิท
สารองสิ่งจาเป็นเหล่านี้ไว้ที่
บ้าน ที่ทางานและโรงเรียน
เก็บสิ่งที่จาเป็นที่ต้องใช้ไว้ในที่ปลอดภัยนอกบ้านของคุณ หรือ
สถานที่ที่เป็นไปได้:
- ข้อมูลการติดต่อในกรณีฉุกเฉินและสาเนาเอกสารที่สาคัญ
- สารองน้า 25 ลิตร (7 แกลลอน) ต่อคน นี่เป็นจานวนที่เพียงพอ
สาหรับคนหนึ่งคนใช้ใน 1 สัปดาห์โดยเฉลี่ยแล้ว คนหนึ่งจะใช้น้าใน
ยังชีพประมาณ 2 ลิตร (ครึ่งแกลลอน)สาหรับดื่มและ 2 ลิตร สาหรับ
ทาสุขอนามัย ให้เปลี่ยนน้าทุกหกเดือน และให้มีการจัดหาน้าให้
สาหรับสัตว์เลี้ยงด้วย
- มีอาหารที่ไม่เน่า อาหารพร้อมกิน สาหรับยังชีพได้ไม่ต่ากว่า 7 วัน
อย่าลืมอาหารสาหรับทารก อาหารพิเศษสาหรับผู้ป่วย และอาหาร
สัตว์โปรดจาไว้ว่าเด็กทารก (ตรวจสอบวันหมดอายุทุกหกเดือน)
- ชุดปฐมพยาบาลและยาตามใบสั่งแพทย์
- หน้ากากกันฝุ่นสาหรับกรองอากาศที่ปนเปื้อน
- ไฟฉาย / ไฟคาดหัว - แบตเตอรี่เสริมแบบที่ใช้พลังงานลมหรือ
พลังงานแสงอาทิตย์
- ถุงพลาสติกและเชือกผูกสาหรับส้วมฉุกเฉินและงานสุขอนามัย
- น้ายาสาหรับทาน้าสะอาด
- แผ่นพลาสติกและเทปพันสายไฟสาหรับปิดผนึกประตู หน้าต่าง
สาหรับป้องกันสารอันตรายรั่วไหล
- กระดาษและปากกามาร์คเกอร์
- มีดพกพาและเครื่องมืออเนกประสงค์
- ไม้ขีดไฟ
- นกหวีดส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ
- โทรศัพท์พร้อมแบตเตอรี่เสริมหรือแหล่งพลังงานสารอง
- เสื้อผ้าและอุปกรณ์อาบน้า รวมทั้งเสื้อกันฝน ชุดลุยน้า สาหรับ
เปลี่ยนข้างใน พร้อมด้วยรองเท้าลุยงานและถุงมือสาหรับใส่ทางาน
- เตียงนอนและผ้าขนหนู
- ของใช้ส่วนตัวที่จาเป็นของแต่ละคนในครอบครัวรวมถึงอุปกรณ์
อานวยความสะดวกเช่นแว่นตา
สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท
เตรียมกระเป๋าเดินทาง
สาหรับการอพยพ
- จัดถุงอพยพให้ข้างในประกอบด้วย:
- น้าฉุกเฉินและอาหารพลังงานสูง
- อุปกรณ์การสื่อสาร เช่น วิทยุแบบพกพา (พร้อมกับที่ชาร์จพลังงาน
แสงอาทิตย์และพลังงานลม หรือแบตเตอรี่เสริม)
- เครื่องมือปฐมพยาบาลและยาตามใบสั่งแพทย์
- เครื่องมือ รวมถึงไฟฉาย / ไฟคาดหัว (พร้อมกับที่ชาร์จพลังงาน
แสงอาทิตย์และพลังงานลม หรือแบตเตอรี่เสริม) เครื่องมือ
อเนกประสงค์และไม้ขีดไฟ
- เสื้อผ้ารวมถึงเสื้อกันฝน เสื้อผ้ากางเกงชั้นในสาหรับเปลี่ยน,
รองเท้าที่ทนทานและถุงมือสาหรับใส่ทางาน
- ผ้าห่มฉุกเฉิน
- เครื่องอาบน้าส่วนบุคคลและอุปกรณ์อานวยความสะดวกส่วนตัวที่
จาเป็น
- ข้อมูลการติดต่อในกรณีฉุกเฉินและสาเนาเอกสารสาคัญ
- เงินสด.
นากระเป๋าใบไปด้วยนี้เมื่ออพยพ
หากไฟดับ ให้ทิ้งอาหารและ
น้าที่ปนเปื้อนออกไป
- ตรวจสอบอาหารในตู้เย็นว่าน้าเสียหรือไม่ ถ้ามีให้เอาออกไปทิ้ง
- หลีกเลี่ยงการดื่มหรือเตรียมอาหารจากการใช้น้าที่อาจปนเปื้อน
ทาน้าสะอาด แม้ว่าภายนอกน้าจะดูสะอาด แต่น้านั้นก็อาจจะปนเปื้อน ถ้าไม่แน่ใจ
ก็ให้ทาความสะอาดน้านั้นตามขั้นตอนต่อไปนี้:
- กาจัดสิ่งเจอปนที่เป็นของแข็งด้วยการกรองน้าผ่านผ้าสะอาดหรือ
ปล่อยตกตะกอนแล้วเทน้าลงในภาชนะที่สะอาด
- ต้มน้าให้เดือดอย่างน้อยหนึ่งนาทีหรือจนกว่าจะมีฟองอากาศขนาด
ใหญ่ปรากฏขึ้น ทิ้งไว้ให้เย็นหลังจากนั้น
- เติมน้ายาทาน้าสะอาด ผสมกันให้ดีแล้วตั้งทิ้งไว้ 30 นาที (เดิม
น้ายาหนึ่งหยดต่อต่อน้าหนึ่งลิตร หรือน้ายาแปดหยดต่อน้าหนึ่ง
แกลลอน หรือน้ายาหนึ่งฝาต่อน้า 20 ลิตร)
- หรือวางน้าในไว้ในที่สะอาด ใส่น้าไว้ในแผ่นพลาสติกใสหรือขวด
แก้ว ตั้งทิ้งไว้ให้แสดงแดดสองเป็นเวลา 6 ชั่วโมง
- ในทุกกรณี ให้เก็บน้าไว้ในที่สะอาด และปิดภาชนะไว้อย่างดี

Contenu connexe

Plus de freelance

Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2freelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่freelance
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงfreelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 

Plus de freelance (20)

Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 

Ch 6 geological hazard

  • 1. บทที่ 6 ภัยพิบัติทางธรณี (Geological hazard) 6.1 ความหมายของภัยพิบัติทางธรณี ภัยพิบัติทางธรณี หมายถึง ภัยทางธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ หลุมยุบ ดินถล่ม หิมะถล่ม ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ถือเป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจาก กระบวนการทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นโดยฉับพลันและรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเรือน ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ 6.2 สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย แผ่นดินไหวที่มีแหล่งกาเนิดจากภายนอกประเทศส่งแรงสั่น สะเทือนมายังประเทศไทย แหล่งกาเนิดจากตอนใต้ของประเทศจีน พม่า ลาว ทะเลอันดามันตอนเหนือของเกาะสุมาตรา แผ่นดินไหวเกิดจากแนวรอยเลื่อนที่ยังสามารถเคลื่อนตัว(รอยเลื่อนที่มีพลัง)ซึ่งยู่บริเวณภาคเหนือและ ภาคตะวันตกของประเทศ 6.3 การตอบสนองต่อเหตุแผ่นดินไหว
  • 2. 6.4 ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Thailand Seismic Observatories) ระบบเครือข่ายตรวจแผ่นดินไหวของประเทศไทยโดยสานักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ประกอบด้วย 1) สถานีตรวจแผ่นดินไหวหลักแบบอัตโนมัติสาหรับการหาตาแหน่งศูนย์กลาง ขนาดเวลาเกิด และ ตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดินเพื่องานวิศวกรรมแผ่นดินไหวในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว จานวน 40 แห่งติดตั้งทั่วประเทศ 2) สถานีวัดอัตราเร่งของพื้นดินแบบดิจิตอล 27 สถานี 3) สถานีวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก 4 แห่ง เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน กาญจนบุรี 4) สถานีวัดระดับน้าทะเล 9 แห่ง - ฝั่งอันดามัน 4 แห่ง เกาะสตอร์ค จ.พังงา เกาะเมียง จ.พังงา เกาะราชาน้อย จ.ภูเก็ต เกาะ ปะลัย จ.สตูล - ฝั่งอ่าวไทย 5 แห่ง อ.คลองใหญ่ จ.ตราด อ.บางสะพาน ประจวบฯ เกาะสมุย จ. สุราษฏร์ธานี อ.ระโนด จ.สงขลา อ.เทพา จ.สงขลา
  • 3. 6.5 วิธีเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุการณ์แผ่นดินไหว IFRC (2013) ได้ระบุ key message สาหรับประชาชนทั่วไปในการเตรียมพร้อมรับมือกับ แผ่นดินไหวเอาไว้เอาไว้อย่างละเอียดในคู่มือ Public Awareness and Public Education for Disaster Risk Reduction1 กล่าวคือ การประเมินและการวางแผน สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง ประเมินความเสี่ยงของตัวเอง ในที่ทางาน ที่เรียนและที่เล่น - เรียนรู้ถึงความรุนแรงของภัย แผนฉุกเฉินของท้องถิ่น ระบบสื่อสาร และการเตือนภัยในชุมชนของตัวเอง - ต้องสามารถระบุถึงภัยและความเปราะบางในบ้านของตัวเองและ พื้นที่แวดล้อมได้ - เรียนรู้และมีรายชื่อข้อมูลการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ และความรับผิดชอบในการประเมินและจัดการลดความเสี่ยง การ เตือนภัยและการวางแผนรับมือกับภัยพิบัติ - เรียนรู้ว่าใครเป็นคนที่มีโอกาสมากที่สุด ในการที่จะได้รับอันตราย จากภัยพิบัติต่างๆ ที่ต่างๆ และทาไม - ให้คาดว่าจะต้องพบกับสิ่งที่ไม่คาดคิด ทาแผน - ผนวกเอาข้อมูลของครัวเรือนและสมาชิกในครอบครัวของตัวเองไว้ ในกระบวนการทาแผน - นัดคนในครอบครัวพูดคุยกันถึงความเปราะบางของพวกเราและ แผนรับมือในการเผชิญหน้ากับความเสี่ยงนั้น - ตกลงกันถึงสิ่งที่ต้องทาในการลดความเสี่ยงและระบุถึงทรัพยากร หรือความช่วยเหลือที่ต้องการในอนาคต - วางแผนขั้นตอนที่ท่านจะทาในการปกป้องตัวเอง การสื่อสาร จุด นัดหมายที่คนในครอบครัวของท่านจะไปรวมตัวกันและการฟื้นฟูที่ ต้องทาในเวลาต่อมา - ตกลงกันว่าใครจะทาอะไร เมื่อไร อย่างไรและจะทาให้สาเร็จได้ อย่างไร - ฝึกปฏิบัติและอัพเดทแผนอย่างสม่าเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงของ ตัวเองและเตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 1 International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies (2013). Public Awareness and Public Education for Disaster Risk Reduction: Key Messages (pp. 1-68).
  • 4. สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง ประเมินความสามารถและ ความต้องการรายบุคคล - ระบุความสามารถและความต้องการรายบุคคล โดยพิจารณาความ ต้องการของแต่ละช่วงวัยของคนในครอบครัว โดยเฉพาะ ความสามารถและความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารและการ เคลื่อนไหว - การเตรียมพร้อมเป็นความรับผิดชอบของทุกคน “คุณสามารถทา สิ่งที่แตกต่างได้” พิจารณาสิ่งจาเป็นในขณะนั้น และการเข้าถึงสิ่งนั้น การ สร้างสรรและการเตรียม เครือข่ายสนับสนุน - พิจารณาความต้องการและการเข้าถึงสิ่งจาเป็นของการดารงชีวิต ในขณะนั้นของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนระหว่างประสบภัย หากมีใครที่ต้องการความช่วยเหลือด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม ให้ วางแผนไว้ตั้งแต่ตอนนี้ว่าจะต้องขอความร่วมมือจากเครือข่าย เพื่อนบ้าน เพื่อน เพื่อนร่วมงานในการให้ความช่วยเหลือในภาวะ ฉุกเฉิน - ใช้จินตนาการ นึกถึงเครือข่ายของตัวเองในการแก้ปัญหาต่างๆ - ต้องแน่ใจว่าเครือข่ายของท่าน รู้วิธีใช้อุปกรณ์ส่วนบุคคลที่ท่าน จาเป็นต้องใช้ในภาวะฉุกเฉิน ทาแผนที่จะกลับมารวมตัวกัน - ตกลงกันถึงจุดนัดพบที่เป็นพื้นที่ปลอดภัยภายในบ้าน นอกบ้าน และข้างนอกรอบๆบ้าน - กาหนดรายชื่อผู้มีอานาจและผู้ประสานงานที่จะรับส่งเด็กจาก โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ตัดสินใจว่าใครจะเป็นคนกลางในการติดต่อสื่อสารถึงกันใน ครอบครัวระหว่างที่อยู่นอกบ้าน ใครจะเป็นตัวหลัก ตัวสารองใน การทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลในการติดต่อกันในครอบครัว ทาข้อมูลการติดต่อกรณี ฉุกเฉินและข้อมูลสุขภาพ - ทาการ์ดสาหรับให้เบอร์ติดต่อในเหตุฉุกเฉินพร้อมกับข้อมูลสุขภาพ ให้สมาชิกในครอบครัวติดตัวไว้ตลอดเวลา (โดยเฉพาะเด็กเล็ก เวลาออกจากบ้าน ไปโรงเรียนและคนที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ เป็นพิเศษ) - ทาสาเนาใบข้อมูลนี้เก็บไว้ในที่ที่หาเจอได้ง่ายเมื่อประสบภัยหรือมี เหตุฉุกเฉิน แบ่งปันข้อมูลให้เครือข่ายสนับสนุนของท่านทราบด้วย รู้เส้นทางออกจากอาคารของ ตัวเอง - ระบุทางออกของตัวเองและพิจารณาเส้นทางของทางออกที่ ปลอดภัยเมื่อเกิดแต่ละอย่าง - จัดการทางออกให้โล่งไว้ - ระบุพื้นที่ปลอดภัยที่อยู่ห่างจากอาคารของตัวเอง (บ้าน ที่ทางาน โรงเรียน)
  • 5. สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง ทาแผนจาเพาะเมื่อครอบครัว ของท่านต้องออกไปจากบ้าน หรือไปอยู่ศูนย์พักพิง - เมื่อเกิดเหตุการณ์และภัยต่างๆ ท่านต้องเจอกับอะไรหลายๆอย่าง หลายวันตั้งแต่ตอนเตือนภัยไปจนถึงตอนที่ทุกอย่างสงบ ขอให้คน ในครอบครัวระบุฉากทัศน์ของสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และตัดสินใจว่าจะ ให้ที่ไหนเป็นพื้นที่ปลอดภัยของครอบครัวท่าน ศูนย์พักพิงหรือจุด อพยพไหนที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ - เตรียมพร้อมพื้นที่ปลอดภัย ว่าจะให้เป็นที่บ้าน นอกบ้าน หรือ ออกไปจากบ้าน เรียนรู้และร่วมมือกับชุมชน ของท่านในการทาระบบเตือน ภัยล่วงหน้าของชุมชน - เรียนรู้ระบบเตือนภัยล่วงหน้าของชุมชน ถ้าชุมชนยังไม่มี ให้ ช่วยกันพัฒนา ใส่ใจกับข้อมูลการเตือนภัยที่แจ้งเข้ามาและทาความ เข้าใจกับทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง - ให้ความใส่ใจกับการเตือนภัยอย่างจริงจัง แม้การเตือนจะดังขึ้น บ่อย ก็ขอให้ตื่นตัวกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นตามมา เพราะความ เสี่ยงมักจะเพิ่มขึ้นตามข้อมูลการเตือนภัยที่แจ้งขึ้น - ทาตามคู่มือการอพยพโดยไม่ต้องลังเล - อย่ากลับไปที่บ้านจนกว่าผู้ที่มีอานาจในท้องถิ่นประกาศว่า สถานการณ์ปลอดภัยแล้ว ทาแผนอพยพเป็นของตัวเอง : ต้องรู้จุดหมายปลายทางของ ศูนย์พักพิงของตัวเอง - ระบุจุดปลอดภัยที่ท่านสามารถไปถึงได้หากต้องการไปอยู่ศูนย์พัก พิงหรือจาเป็นต้องมีการอพยพ - วางแผนทางเลือกของเส้นทางอพยพ วิธีอพยพและลองฝึกเดินทาง อพยพไปตามเส้นทางนั้น - ทางานกับเครือข่ายของท่านในการกาหนดวิธีการเดินทางหากต้อง มีการอพยพจริงๆ - ถามหาแผนชุมชนสาหรับทิศทางในการอพยพและทางเลือกในการ เดินทางเอาจากคนที่มีอานาจหน้าที่จัดการภาวะฉุกเฉินในท้องถิ่น เรียนรู้เกี่ยวกับตาแหน่งที่ตั้ง ของศูนย์พักพิง ที่หลบภัย หรือที่พักชั่วคราวที่เหมาะสม - จัดการที่พักชั่วคราวร่วมกับเพื่อน คนอื่นๆ ไว้ในที่ที่ห่างจากพื้นที่ อันตราย - เรียนรู้เกี่ยวกับตาแหน่งที่ตั้งของศูนย์พักพิงหรือที่หลบภัยของ ชุมชนของท่าน และตรวจสอบสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ หากไม่มีใครที่ เชี่ยวชาญ ให้เริ่มจากหาวิธีตั้งที่จะตั้งศูนย์พักพิงขึ้นก่อน - วางแผนไปข้างหน้าที่จะมารวมตัวกัน โดยไม่หลงและไม่ล่าช้าได้ อย่างไร
  • 6. สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง เก็บสาเนาของเอกสารสาคัญ ประจาตัวต่างๆไว้กับตัว - เก็บสาเนาเอกสารสาคัญประจาตัวของท่านไว้ในกระเป๋าอพยพ เบอร์ติดต่อนอกพื้นที่ กล่องนิรภัยและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือ เมมโมรี่สติ๊ก) รวมเอาแผนการดูแลสัตว์เลี้ยง และปศุสัตว์เอาไว้ในแผนของ ท่าน - วางแผนว่าจะดูแลสัตว์เหล่านั้นอย่างไร - ใช้ปลอกคอที่มีป้ายชื่อ ไมโครชิพ รอยสักหรือการตีตราสาหรับระบุ ตัวสัตว์ พร้อมกับถ่ายรูปไว้ สาหรับใช้ตามหาหากมีการสูญหาย - ให้วัคซีนและอัพเดทบันทึกประวัติ แล้วนาข้อมูลเหล่านี้ติดตัวไป ด้วยเวลาอพยพ - ระบุล่วงหน้าถึงวิธีและสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว รวมความเสี่ยงทางการเงินไว้ ด้วยกัน - หากเป็นไปได้ ให้ซื้อประกันหรือรวมเงินไว้ตั้งกองทุนประกันตัวเอง กับคนกลุ่มใหญ่ ตรวจสอบว่าภัยอันตรายที่เราต้องเผชิญนั้นมี อะไรบ้าง เพื่อความรอบคอบ ให้นาทรัพย์สินที่มีค่าไปไว้ในที่ ปลอดภัยที่ห่างไกลจากพื้นที่เสี่ยงภัย ขยายวง ทาแผนกับเพื่อน บ้านและชุมชนร่วมกันอย่าง ต่อเนื่อง - รู้จักเพื่อนบ้านของท่าน - เรียนรู้เกี่ยวกับแผนการจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินของ โรงเรียน ท้องถิ่นและที่ทางาน - เข้าไปมีส่วนร่วมในที่ทางาน โรงเรียน องค์กรชุมชน ทีมหรือ โครงการที่ส่งเสริมการวางแผน การประเมินศักยภาพและความ เปราะบางในการทากิจกรรมเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ - แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ การลดความเสี่ยง : ทางกายภาพและสภาพแวดล้อม สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง ประเมินความเสี่ยงของตัวเอง ในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ที่ทางาน ที่เรียนและที่เล่น - เรียนรู้เกี่ยวกับความรุนแรงของภัย แผนจัดการภาวะฉุกเฉินของ ท้องถิ่น การสื่อสารและระบบเตือนภัยในชุมชนของตัวเอง - ระบุภัยและความเปราะบางของบ้านและพื้นที่โดยรอบ - เรียนรูเกี่ยวกับรายชื่อผู้ติดต่อ บทบาท ความรับผิดชอบของ หน่วยงานรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินภัย การแจ้งเตือนภัย ล่วงหน้าและการวางแผนรับมือกับภัยพิบัติ - เรียนรู้ว่าใครเป็นคนที่มีโอกาสมากที่สุด ในการที่จะได้รับอันตราย จากภัยพิบัติต่างๆ ที่ต่างๆ และทาไม - ให้คาดว่าจะต้องพบกับสิ่งที่ไม่คาดคิด
  • 7. สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง สร้างบ้านของคุณให้เป็นที่ ปลอดภัยเทศบัญญัติควบคุม อาคาร - พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของภัยที่มีอยู่ในพื้นที่นั้นก่อนที่จะตั้งจุด ที่จะสร้างบ้าน - เรียนรู้เกี่ยวกับเทศบัญญัติควบคุมอาคารของพื้นที่ที่เราอาศัย ก่อนที่จะเริ่มลงมือสร้างบ้าน - ออกแบบ สร้างและดูแลรักษาบ้านของตัวเองให้เป็นไปตามเทศ บัญญัติควบคุมอาคาร ตามมาตรฐานนานาชาติและข้อปฏิบัติที่ดี ของท้องถิ่น เพื่อปกป้องบ้านของตัวเองจากการทรุดตัว การเลื่อน ของแผ่นดิน ลม น้า และสภาพอากาศที่รุนแรง ตรวจสอบสภาพบ้านเป็น ประจาทุกปีเพื่อให้บ้านของ ตัวเองอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย - ทาการตรวจสอบบ้านประจาปีเพื่อระบุและทาตามเงื่อนไขที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันบ้านที่จะได้รับความเสียหายจากไฟ แผ่นดินทรุด แผ่นดินเคลื่อน ลม น้า และสภาพอากาศที่รุนแรง - ทาให้แน่ใจว่าหน้าต่างสามารถเปิดได้จากด้านในและทางออก ฉุกเฉินไม่ถูกปิดกั้น - ไม่มีสิ่งที่เป็นเชื้อไฟภายในบ้าน - ตรวจสอบและซ่อมแซมระบบไฟฟ้า - ทาความสะอาดระเบียงและท่อน้า - ดูแลระบบทาความร้อนและปล่องไฟ - เปลี่ยนแบตเตอรี่สัญญาณตรวจจับควัน ทาบ้านป้องกันไฟ - ห้ามไม่ให้มีการสูบบุหรี่บนเตียงหรือเวลานอน - นาไม้ขีด พรม สิ่งที่ติดไฟง่าย หรือสิ่งที่ใช้ติดไฟเอาไว้ให้ห่าง จากมื่อเด็กและแหล่งความร้อน - อย่างจุดเทียนหรือไฟแล้วปล่อยไว้โดยไม่มีใครดูแล - อย่าใช้ไฟฟ้าโอเวอร์โหลด - ตรวจสอบสายไฟในบ้าน ซ่อมแซมสายไฟที่ชารุด จัดการกับ เต้าเสียบ ปลั๊กที่หลวมให้มีสภาพดี อย่าเสียบปลั๊กไว้ใต้พรม - ตรวจสอบและดูแลรักษาจุดเชื่อมต่อของท่อแก๊ส - ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันในพื้นที่ที่ใช้นอนและจุดต่างๆในบ้าน - ทิ้งขี้เถ้าในภาชนะที่เป็นเหล็กและมีน้าหล่ออยู่เสมอ - ใช้เครื่องทาความร้อนที่มีใบรับรองความปลอดภัยและปฏิบัติตาม วิธีใช้ที่กาหนดมา - อย่าเอาเตาอบในครัวมาใช้แทนเครื่องทาความร้อนในบ้าน - อย่าใช้หรือเติมน้ามันเชื้อเพลิงเครื่องปั่นไฟขณะอยู่ในบ้าน
  • 8. สาระสาคัญ รายละเอียดในบริบทที่เจาะจง เก็บวัตถุอันตรายไว้ในที่ ปลอดภัย - จากัด คัดแยก หลีกเลี่ยงและแยกวัตถุอันตรายที่มีอยู่ - จัดเก็บวัตถุมีพิษและวัตถุที่ติดไฟง่ายไว้ในพื้นที่ปิดอย่างตู้เหล็ก หรือตู้ที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุไฟไหม้ สารเคมีหรือสารพิษ รั่วไหล ปกป้องปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง - ให้แน่ใจว่าคอกสัตว์หรือเล้าสัตว์ที่อยู่นอกบ้านได้รับการปกป้อง จากสารพิษสารเคมีเช่นเดียวกับในบ้าน ทาตัวให้มีสุขอนามัยและ สุขาภิบาลที่ดี - ล้างมือให้ดี โดยใช้สบู่ น้า หรือ ทราย - ใช้ห้องน้าหรือทาการกาจัดของเสียของมนุษย์ตามหลักสุขอนามัย - อย่าถ่ายอุจจาระในที่โล่งหรือใกล้แหล่งน้า - ป้องกันอย่าให้น้าและอาหารเสบียงได้รับการปนเปื้อนจากสิ่ง สกปรก ปกป้องสิ่งแวดล้อมของตัวเอง - อนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่มีค่า: ลดการใช้ ใช้ซ้าและนา กลับมาใช้ใหม่ - ติดตามและลดการใช้พลังงานและน้า การเตรียมพร้อมรับมือ : พัฒนาทักษะ สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท เรียนรู้วิธีปิดสาธารณูปโภคใน บ้านของตัวเอง - เรียนรู้ว่าจะปิดน้า ไฟฟ้า แก๊ส ซึ่งเป็นสาธารณูปโภคของตนเองได้ อย่างไร - ทาให้แน่ใจว่าสาธารณูปเหล่านั้นมีเส้นทางที่จะเข้าไปถึงได้ง่าย ไม่ ถูกปิดกั้นเมื่อต้องเข้าไปปิดในภาวะฉุกเฉิน - ติดตั้งอุปกรณ์หรือวาล์วตัดแก๊ส ตัดไฟในตาแหน่งที่เหมาะสม - หากจาเป็น ให้ใช้ประแจหรือเครื่องมือต่างๆในการปิด สาธารณูปโภคนั้น ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ ให้ใช้ไฟ อย่างระมัดระวัง - เมื่อเกิดภัยพิบัติ หากไฟฟ้าดับด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม อย่าเพิ่งจุด ไฟ หรือทาให้เกิดประกายไฟ (รวมถึงบุหรี่ ไม้ขีดและเทียน) - ใช้ไฟจากถ่ายไฟฉาย โคมไฟฟ้า หรือไฟแฟลชไปก่อน จนกว่าจะ แน่ใจได้ว่าไม่มีอันตรายจากแก๊สรั่วหรือน้ามันรั่ว เรียนรู้วิธีจัดการไฟ - ถ้าเป็นไปได้ ให้เคลื่อนย้ายทุกคนออกจากจุดอันตรายทันที - ให้แน่ใจว่าประตูและหน้าต่างปิดดีแล้ว ควันและไฟถูกจากัดอยู่ - แจ้งเตือนคนอื่นๆว่าเกิดไฟไหม้และกดสัญญาณของระบบเตือนภัย - เรียกหน่วยดับเพลิงฉุกเฉินมาช่วย
  • 9. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท - พยายามดับไฟเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสม ดับไฟขนาดเล็ก - ดับไฟขนาดเล็กภายในสองนาทีแรกของที่เพิ่งจุดติดจากเชื้อเพลิง อากาศหรือความร้อน - เรียนรู้ที่จะใช้ถังดับเพลิง(ABC) ถังทรายหรือผ้าห่มตบไฟในจุดที่ ไฟไหม้ พร้อมกับเรียนรู้วิธีดูแลรักษาอุปกรณ์ดับเพลิง - ก่อนที่จะผจญเพลิง ให้ผู้ดับเพลิงจะต้องทราบเส้นทางหนีและยืน อยู่ห่างจากเพลิงอย่างน้อย 1.8-2.5 เมตร (6-8 ฟุต) หากเป็นไปได้ ให้มีผู้ช่วยยืนอยู่ข้างหลังเพื่อความปลอดภัยด้วย - ฝึกดับเพลิง : ดึงสลักนิรภัยออก เล็งไปที่ฐานของเปลวไฟ บีบที่จับ แล้วส่ายน้ายาดับเพลิงฉีดกวาดดออกไปที่ไฟ - ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้เตาไฟประกอบอาหาร ให้เอาฝาหม้อครอบ กระทะที่ไหม้อยู่ หรือใช้ผ้าห่มชุบน้า กระสอบชุบน้าคลุมลงไปยัง กะทะหรือเตาที่เกิดเพลิงไหม้ จากนั้นจึงเข้าไปปิดไฟ แล้วคลุมผ้า ชุบน้าทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง - อย่าใช้น้าหรือโฟมดับเพลิงในการดับไฟที่มาจากน้ามันหรือไฟจาก ไฟฟ้า ใช้เครื่องดับเพลิงที่ถูกต้องกับ สถานการณ์ ใช้อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสม 1) แรงดันน้า สาหรับคลาส A ไฟธรรมดา อย่างไม้ไฟไหม้ กระดาษ ไฟไหม้ พลาสติกหรือผ้าไฟไหม้ 2) คาร์บอนไดออกไซด์สาหรับคลาส B ไฟจากของเหลว อย่าง น้ามันไหม้ไฟ น้ามันเชื้อเพลิง สี กาว จารบีและคลาส C ที่เป็น วงจรไฟฟ้าเช่น คอมพิวเตอร์ไฟไหม้ ไฟฟ้าในบ้านลัดวงจร 3) ผงเคมีแห้ง ใช้ได้ทั้ง คลาส ABC รู้ว่าต้องทาอะไรถ้าเห็นไฟ หรือได้กลิ่นควัน - ถ้าได้กลิ่นควันหรือพบเห็นเปลวไฟให้รีบบอกคนอื่น รีบออกมาข้าง นอกแล้วเรียกคนอื่นมาช่วย - ถ้ามีควันไฟลอยเข้ามาในห้อง ให้ทาตามคาแนะนาคือ “ก้มลงให้ต่า แล้วออกไปข้างนอก ควันไฟหรือก๊าซที่เป็นพิษฆ่าคนได้มากกว่า ไฟที่เผาตัวคน ให้ใช้หลังมือแตะที่ลูกบิดและพื้นที่รอบๆว่าร้อน หรือไม่ ก่อนที่จะเอามือจับลูกบิดเพื่อเปิดประตูออกไป ถ้าไม่ร้อน ให้ปิดประตูหน้าต่างและปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าให้หมดก่อนค่อยเปิด ออกไป - ใช้ผ้าชุบน้าปิดจมูกและปากของตัวเอง เพื่อลดการสูดดมควัน ในขณะที่อพยพหรือรอการช่วยเหลือ
  • 10. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท - หากเกิดไฟลุกไหม้บนตัวท่าน ให้ท่าน 'หยุดอยู่กับที่ ก้มลงและม้วน ตัว' เพื่อดับไฟที่ติดอยู่บนตัว ถ้ามีคนอื่นที่ถูกไฟไหม้ด้วยก็บอก พวกเขาให้ทาแบบเดียวกัน - ถ้าออกไปจากจุดที่เกิดเพลิงไหม้ไม่ได้ ให้ปิดประตูและก้มต่าอยู่ ข้างใน เปิดหน้าต่างแง้มไว้เล็กน้อยเพื่อส่งสัญญาณขอความ ช่วยเหลือ ปกป้องมือและใบหน้าไว้ด้วยผ้าชุบน้า นาผ้าเช็ดตัวชุบ น้าไปอุดไว้ที่ช่องประตูด้านล่างเพื่อป้องกันควันเข้ามาในห้อง ตอบสนองกับสัญญาณเตือน - ตื่นตัวกับการแจ้งเตือนฉุกเฉินและการตอบสนองโดยฉับพลัน - รู้ว่าระบบเตือนเป็นสิ่งที่ต้องถูกใช้และฝึกการตอบสนองของตัวเอง เราต้องรู้ว่าทางออกมีให้เลือกออกได้ตรงจุดไหนบ้าง - หากได้รับคาแนะนาให้อพยพ ให้ออกมาจากจุดนั้นทันที - นาสัตว์เลี้ยงหรือสัตว์ที่อยู่ในการดูแลของตัวเองออกไปด้วย - อย่าลืมกระเป๋าอพยพที่มีสาเนาเอกสารประจาตัวไปด้วย - ดูแลทรัพย์สินของตัวเองให้ปลอดภัยถ้ามีเวลา เรียนรู้วิธีการปฐมพยาบาล - เรียนรู้ทักษะการปฐมพยาบาล ให้แน่ใจว่าอย่างน้อยก็มีสมาชิกใน ครอบครัวสักหนึ่งคนที่ผ่านการฝึกปฐมพยาบาล - ฝึกฝนและปรับปรุงความรู้ในการปฐมพยาบาลของตัวเองเป็น ประจาทุกปี ฝึกฝนการฝึกซ้อมฉุกเฉิน ปกติ - จัดการหรือมีส่วนร่วมในการฝึกซ้อมการอพยพฉุกเฉิน (รวมทั้งที่ บ้าน) อย่างน้อยปีละสองครั้ง - จัดการหรือมีส่วนร่วมในการฝึกซ้อมเป็นอันตรายอื่น ๆ รวมทั้งการ จาลองสถานการณ์เต็มรูปแบบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง - ให้แน่ใจว่าจะรวมสมาชิกทั้งหมดในครัวเรือนมาฝึกซ้อมได้ ตอบสนองสิ่งจาเป็นของสัตว์ เลี้ยง - หากท่านเลี้ยงสัตว์ การอพยพควรทาก่อนที่ภัยจะมา หรือไม่ก็ต้อง ทาให้คอกสัตว์ รั้วหรือเล้าสัตว์มีความแข็งแรงที่จะปกป้องสัตว์ได้ - หากจาเป็นจะต้องทิ้งสัตว์ไว้ ให้ทิ้งอาหารแห้งไว้ให้สัตว์ อย่าผูก หรือล่ามสัตว์เอาไว้หรือปิดอาคารขังไว้ ใช้โทรศัพท์เมื่อมีเหตุจาเป็น หรือเหตุฉุกเฉินเท่านั้น - ใช้โทรศัพท์ให้น้อยที่สุด ใช้เมื่อจาเป็นต้องติดต่อขอความช่วยเหลือ กับภายนอกในกรณีที่มีการบาดเจ็บหรือเกิดความเสียหาย นอกนั้น ให้เปิดสายเอาไว้สาหรับกรณีฉุกเฉิน - รู้หมายเลขโทรศัพท์ของการแจ้งเหตุเพลิงไหม้หรือเหตุฉุกเฉิน ต่างๆ บันทึกหมายเลขโทรศัพท์เหล่านี้ไว้ในเครื่องโทรศัพท์ - เก็บโทรศัพท์ไว้กับตัว รักษาแบตเตอรี่ไว้ให้มีการใช้น้อยที่สุด
  • 11. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท - ใช้ข้อความสั้นแทนการโทรออกด้วยเสียง สื่อสารกันเฉพาะข้อมูลที่ สาคัญในภาวะฉุกเฉินมากกว่าจะเล่าถึงสิ่งที่อยากรู้ - ส่งข้อความข้อความสั้นเพียงหนึ่งข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือเพื่อ รายงานสถานะของตัวเองไปยังคนที่อยู่นอกพื้นที่ เรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ hashtags ฉุกเฉินสาหรับการส่งข้อความทางโซเชียลมีเดีย ในกรณีฉุกเฉิน ดูแลการสื่อสาร - ให้แน่ใจว่าป้ายสัญลักษณ์ถนนและเลขที่บ้านมีความชัดเจนพอหาก หน่วยฉุกเฉินจะเข้ามาช่วยที่บ้าน ติดตามข้อมูลอยู่เสมอ - ติดตามข่าวสารจากวิทยุพกพาหรือโทรทัศน์สาหรับข้อมูลภาวะ ฉุกเฉินและคาแนะนาด้านความปลอดภัย - รู้คลื่นความถี่ของสถานีวิทยุท้องถิ่นที่ให้ข้อมูลในภาวะฉุกเฉิน ทาความคุ้นเคยกับวิธีการ บาบัดน้าเสียในครัวเรือนใน การทาน้าสะอาด - หากแหล่งน้าไม่สะอาดหรือน้าไม่ได้เก็บไว้อย่างเหมาะสม ให้นา น้ามันเข้าสู่การบาบัดน้าในระดับครัวเรือน - ให้กรองน้ารอบแรก ผ่านสาลีสะอาดก่อน ตามด้วยการฆ่าเชื้อ การ ตกตะกอนหรือการกรอง หลังจากอันตรายผ่านไป ให้ ช่วยคนรอบข้าง - สิ่งแรกคือ ตรวจสอบความมั่นคงและความปลอดภัยของ สภาพแวดล้อมก่อนที่จะเคลื่อนย้ายตัวเองไปช่วยคนอื่น - ตรวจสอบการบาดเจ็บของตัวเองและคนอื่น อย่าพยายาม เคลื่อนย้ายคนที่บาดเจ็บสาหัสหากไม่จาเป็นจริงๆคือ มีอันตรายที่ จะทาให้เขาตายได้หากไม่เคลื่อนย้ายออก - หากจาเป็นต้องเคลื่อนย้ายคนที่หมดสติ ให้ยึดคอกับหลังไว้อย่าให้ เคลื่อนไหวแล้วจึงเคลื่อนย้าย - หากมีคนที่หยุดหายใจ ให้นาเขานอนราบกับพื้น จับคางเงยขึ้นเพื่อ ทาทางเดินหายใจให้โล่ง บีบจมูกปิดไว้แล้วช่วยหายใจทางปาก - รักษาอุณหภูมิของร่างกาย ไม่ให้เย็นเกินไปหรือร้อนเกินไป ยกขา ให้สูงขึ้นประมาณ 20-30 เซนติเมตร (7-12 นิ้ว) ให้สูงกว่าหัวใจ - ห้ามเลือดด้วยการกดหรือยกให้สูง ที่ไม่ใช่การรัด หลังจากภัยอันตรายผ่านไป ให้ตรวจสอบความเสียหาย ทาตามคาแนะนาที่ระบุด้านล่างสาหรับสถานการณ์ดังต่อไปนี้: - แก๊ส: ตรวจสอบการรั่วไหล หากได้กลิ่นก๊าซ ได้ยินเสียงลม เสียง รั่ว หรือพบเห็นท่อแก๊สแตก ให้เปิดหน้าต่างแล้วพาทุกคนออกไป ข้างนอกอย่างรวดเร็ว พร้อมกับหาความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ ดับไฟ อย่าทาให้เกิดประกายไฟทุกชนิด อย่าแตะต้องสวิตช์ไฟ
  • 12. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท - ไฟฟ้า : หากร่างกายหรืออุปกรณ์ที่ติดอยู่กับตัวเราแตะอยู่กับน้า อย่าแตะต้องวงจรไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า อย่าแตะต้องสายไฟที่ เสียหายหรือชิ้นส่วนของมัน หากเป็นไปได้ให้ยกสะพานไฟขึ้นแล้ว ตรวจสอบความเสียหาย ถ้าไฟดับ ให้ปิดหรือถอดปลั๊กอุปกรณ์ออก เพื่อป้องกันไฟกระชากเมื่อไฟกลับมา หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัย ให้ออกมาข้างนอกแล้วเรียกคนมาช่วยเหลือ - น้าเสีย: ถ้าสงสัยว่าระบบน้าเสียในบ้านได้รับความเสียหาย ให้ หลีกเลี่ยงการใช้ห้องสุขาและน้าประปา ให้ปล่อยถังน้าเสียไว้แบบ นั้นอย่าปล่อยน้าเสียลงไปเพิ่ม - น้า: หากสงสัยระบบน้าใช้ได้รับความเสียหาย ให้ปิดวาล์วหลัก หลียเลี่ยงการใช้น้า ยกเว้นน้าจากเครื่องทาความร้อนที่ไม่ได้รับ ความเสียหายหรือน้าจากก้อนน้าแข็งแช่ไว้ที่ทาก่อนเกิดภัย - น้ามันรั่ว: ให้ทาความสะอาดน้ามันที่รั่วออกมาอย่างระมัดระวัง วางภาชนะบรรจุภัณฑ์ไว้ในที่ที่อากาศถ่ายเทสะดวก เก็บของเหลว ที่ติดไฟได้ไว้ห่างจากแหล่งความร้อน ใส่ใจเป็นพิเศษกับวัตถุไวไฟ เช่นน้ามัน, สีทินเนอร์หรือน้ามันไฟแช็ก หลังจากภัยผ่านไป ให้ดูแล ตัวเอง - เก็บข้อมูลสุขภาพที่สาคัญไว้กับตัว โดยเฉพาะถ้าท่านเป็น เบาหวาน โรคหัวใจ หรือจาเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่าง ต่อเนื่องหรือต้องมีการควบคุม การให้ยา หรือใช้อุปกรณ์ในการ รักษาต่างๆ - พยายามอย่าให้อ่อนเพลีย ดูแลตัวเอง, พักผ่อนและนอนหลับ - ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอ กินให้พอเท่าที่จาเป็นตามสถานการณ์ - สวมรองเท้า เสื้อผ้าและถุงมือที่ปกป้องตัวเอง - หากท่านต้องทางานเศษซากสิ่งปรักหักพัง ให้ล้างมือให้ด้วยสบู่ และน้าสะอาด หลังจากภัยผ่านไป ให้ช่วยกัน ทาความสะอาดและฟื้นฟู การช่วยกันฟื้นฟูเป็นสิ่งที่แสดงถึงความน้าหนึ่งใจเดียวกันของชุมชน ตัวเราและเพื่อนบ้านสามารถช่วยกันได้โดย ช่วยกันเป็นอาสาสามัคร ในการรับมือกับภัยพิบัติในพื้นที่ได้แก่ - เปิดเส้นทางการขนส่งฉุกเฉินที่ถูกปิดกั้นหลังจากเกิดภัย - การตรวจสอบความเสียหายของน้า ของเสีย แก๊สและสายไฟฟ้า แล้วรายงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การปฐมพยาบาล - การดับเพลิง (เช่น การส่งถังต่อๆกัน)
  • 13. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท - เป็นฝ่ายสนับสนุนของงานขนส่งให้กับผู้เชี่ยวชาญที่เข้ามาช่วยใน ชุมชน (เช่น ช่วยตัดไม้เพื่อช่วยทีมค้นหาและกู้ภัยในกรณีอาคาร ถล่ม) - จัดตั้งศูนย์พักพิง - เตรียมพร้อม จัดสรร น้าและอาหาร - ให้การดูแลเด็ก - ติดตามสัตว์เลี้ยงที่พลัดหลง - สร้างสุขอนามัยและจัดการส้วมฉุกเฉิน - ให้แน่ใจว่าศูนย์พักพิง มีน้า มีสุขาภิบาลและมีการจัดสรรอาหารที่ คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ตามความจาเป็นในขณะนั้น หลังจากภัยผ่านไป ช่วยเหลือ กันและกัน - หลังจากภาวการณ์ที่ไม่ปกติผ่านไป ความเศร้า ความเสียใจ ความ โกรธและอารมณ์ที่หลากหลายจะเกิดขึ้นหลังจากสถานการณ์ที่ไม่ ปกติ ให้ทุกคนทาตัวให้ยืดหยุ่นและทาความเข้าใจกับความ หลากหลายที่ต้องรับมือ - ลดความเครียดลงด้วยการให้เวลากับสิ่งที่รัก พูดคุยและดูแลตัวเอง - ระวังการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความต้องการของเด็ก - ให้เด็กได้กลับทากิจกรรมนันทนาการและการศึกษาตามปกติ โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ - ทางานร่วมกันเพื่อกลับไปทางานตามบทบาท ความรับผิดชอบและ งานประจา - จัดการหรือจัดให้เกิดการมีส่วนร่วมในการราลึก หากรู้สึกว่าเป็น ประโยชน์ - ฝึกฝนการเตรียมความพร้อมร่วมกันต่อไป การเตรียมพร้อมรับมือ : เตรียมสิ่งที่จาเป็น สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท ตรวจสอบโทรศัพท์ - ให้แน่ใจว่าอย่างน้อยก็มีโทรศัพท์สายตรง เป็นโทรศัพท์ที่ไม่ใช้ ไฟฟ้าที่ใช้ได้สักเครื่อง - สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้มีแบตเตอรี่สารองหรือที่ชาร์จพลังงาน แสงอาทิตย์สารองไว้ใช้ สารองน้าและอาหาร - สารองน้าสะอาดให้เพียงพอและอาหารที่ไม่เน่าสาหรับการยังชีพได้ ประมาณหนึ่งสัปดาห์ สารองน้าประมาณ 25-30 ลิตร (เจ็ด แกลลอน) ไว้สาหรับสมาชิกในครัวเรือนแต่ละคน ครึ่งหนึ่งของน้าที่
  • 14. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท สารองไว้จะถูกใช้เป็นน้าดื่ม น้าสาหรับประกอบอาหารและใช้ใน เรื่องของสุขอนามัย - เก็บน้าไว้ให้สะอาดในภาชนะที่ปิดสนิท สารองสิ่งจาเป็นเหล่านี้ไว้ที่ บ้าน ที่ทางานและโรงเรียน เก็บสิ่งที่จาเป็นที่ต้องใช้ไว้ในที่ปลอดภัยนอกบ้านของคุณ หรือ สถานที่ที่เป็นไปได้: - ข้อมูลการติดต่อในกรณีฉุกเฉินและสาเนาเอกสารที่สาคัญ - สารองน้า 25 ลิตร (7 แกลลอน) ต่อคน นี่เป็นจานวนที่เพียงพอ สาหรับคนหนึ่งคนใช้ใน 1 สัปดาห์โดยเฉลี่ยแล้ว คนหนึ่งจะใช้น้าใน ยังชีพประมาณ 2 ลิตร (ครึ่งแกลลอน)สาหรับดื่มและ 2 ลิตร สาหรับ ทาสุขอนามัย ให้เปลี่ยนน้าทุกหกเดือน และให้มีการจัดหาน้าให้ สาหรับสัตว์เลี้ยงด้วย - มีอาหารที่ไม่เน่า อาหารพร้อมกิน สาหรับยังชีพได้ไม่ต่ากว่า 7 วัน อย่าลืมอาหารสาหรับทารก อาหารพิเศษสาหรับผู้ป่วย และอาหาร สัตว์โปรดจาไว้ว่าเด็กทารก (ตรวจสอบวันหมดอายุทุกหกเดือน) - ชุดปฐมพยาบาลและยาตามใบสั่งแพทย์ - หน้ากากกันฝุ่นสาหรับกรองอากาศที่ปนเปื้อน - ไฟฉาย / ไฟคาดหัว - แบตเตอรี่เสริมแบบที่ใช้พลังงานลมหรือ พลังงานแสงอาทิตย์ - ถุงพลาสติกและเชือกผูกสาหรับส้วมฉุกเฉินและงานสุขอนามัย - น้ายาสาหรับทาน้าสะอาด - แผ่นพลาสติกและเทปพันสายไฟสาหรับปิดผนึกประตู หน้าต่าง สาหรับป้องกันสารอันตรายรั่วไหล - กระดาษและปากกามาร์คเกอร์ - มีดพกพาและเครื่องมืออเนกประสงค์ - ไม้ขีดไฟ - นกหวีดส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ - โทรศัพท์พร้อมแบตเตอรี่เสริมหรือแหล่งพลังงานสารอง - เสื้อผ้าและอุปกรณ์อาบน้า รวมทั้งเสื้อกันฝน ชุดลุยน้า สาหรับ เปลี่ยนข้างใน พร้อมด้วยรองเท้าลุยงานและถุงมือสาหรับใส่ทางาน - เตียงนอนและผ้าขนหนู - ของใช้ส่วนตัวที่จาเป็นของแต่ละคนในครอบครัวรวมถึงอุปกรณ์ อานวยความสะดวกเช่นแว่นตา
  • 15. สาระสาคัญ รายละเอียด-บริบท เตรียมกระเป๋าเดินทาง สาหรับการอพยพ - จัดถุงอพยพให้ข้างในประกอบด้วย: - น้าฉุกเฉินและอาหารพลังงานสูง - อุปกรณ์การสื่อสาร เช่น วิทยุแบบพกพา (พร้อมกับที่ชาร์จพลังงาน แสงอาทิตย์และพลังงานลม หรือแบตเตอรี่เสริม) - เครื่องมือปฐมพยาบาลและยาตามใบสั่งแพทย์ - เครื่องมือ รวมถึงไฟฉาย / ไฟคาดหัว (พร้อมกับที่ชาร์จพลังงาน แสงอาทิตย์และพลังงานลม หรือแบตเตอรี่เสริม) เครื่องมือ อเนกประสงค์และไม้ขีดไฟ - เสื้อผ้ารวมถึงเสื้อกันฝน เสื้อผ้ากางเกงชั้นในสาหรับเปลี่ยน, รองเท้าที่ทนทานและถุงมือสาหรับใส่ทางาน - ผ้าห่มฉุกเฉิน - เครื่องอาบน้าส่วนบุคคลและอุปกรณ์อานวยความสะดวกส่วนตัวที่ จาเป็น - ข้อมูลการติดต่อในกรณีฉุกเฉินและสาเนาเอกสารสาคัญ - เงินสด. นากระเป๋าใบไปด้วยนี้เมื่ออพยพ หากไฟดับ ให้ทิ้งอาหารและ น้าที่ปนเปื้อนออกไป - ตรวจสอบอาหารในตู้เย็นว่าน้าเสียหรือไม่ ถ้ามีให้เอาออกไปทิ้ง - หลีกเลี่ยงการดื่มหรือเตรียมอาหารจากการใช้น้าที่อาจปนเปื้อน ทาน้าสะอาด แม้ว่าภายนอกน้าจะดูสะอาด แต่น้านั้นก็อาจจะปนเปื้อน ถ้าไม่แน่ใจ ก็ให้ทาความสะอาดน้านั้นตามขั้นตอนต่อไปนี้: - กาจัดสิ่งเจอปนที่เป็นของแข็งด้วยการกรองน้าผ่านผ้าสะอาดหรือ ปล่อยตกตะกอนแล้วเทน้าลงในภาชนะที่สะอาด - ต้มน้าให้เดือดอย่างน้อยหนึ่งนาทีหรือจนกว่าจะมีฟองอากาศขนาด ใหญ่ปรากฏขึ้น ทิ้งไว้ให้เย็นหลังจากนั้น - เติมน้ายาทาน้าสะอาด ผสมกันให้ดีแล้วตั้งทิ้งไว้ 30 นาที (เดิม น้ายาหนึ่งหยดต่อต่อน้าหนึ่งลิตร หรือน้ายาแปดหยดต่อน้าหนึ่ง แกลลอน หรือน้ายาหนึ่งฝาต่อน้า 20 ลิตร) - หรือวางน้าในไว้ในที่สะอาด ใส่น้าไว้ในแผ่นพลาสติกใสหรือขวด แก้ว ตั้งทิ้งไว้ให้แสดงแดดสองเป็นเวลา 6 ชั่วโมง - ในทุกกรณี ให้เก็บน้าไว้ในที่สะอาด และปิดภาชนะไว้อย่างดี