SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  84
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
อ. ศิรินุช จันทรางกูล
1
คำศัพท์
Cleansing enema
Retention enema
Constipation
Diarrhea
Defecation
 Evacuation
สวนล้าง
การสวนเก็บ
ท้องผูก
ท้องเดิน/อุจจาระร่วง
การขับถ่ายอุจจาระ
ล้วงอุจจาระ
2
อุจจาระอัดแน่น
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ท้องอืด
ริดสีดวงทวาร
อุจจาระสีดา
 รูเปิดของลาไส้ใหญ่ทางหน้าท้อง
 รูเปิดของลาไส้ใหญ่ทางหน้าท้อง
Fecal impaction
Fecal Incontinence
Flatulence
Hemorrhoid
Melena
Colostomy
Ileostomy
คำศัพท์
3
ระบบทางเดินอาหาร (GI TRACT )
4
การขับถ่ายอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระ
ขับกากอาหารที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้
ออกจากร่างกาย
ถ้าขับถ่ายผิดปกติ กระทบต่ออวัยวะอื่นๆ
5
บทบาทพยาบาล
พยาบาลควรส่งเสริมสุขภาพผู้ป่ วยให้มีการ
ขับถ่ายปกติ บทบาทอิสระ และไม่อิสระ
ต้องมีความรู้ เพื่อที่จะประเมินผู้ป่ วยที่มีปัญหา
เกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระได้ถูกต้อง
6
การขับถ่ายอุจจาระ ( Defecation )
1.รีเฟล็กซ์:
เมื่อรับประทานอาหารทาให้เกิด มีการยืดขยายของ
ลาไส้ส่วนต้น ทาให้การเกิดเคลื่อนไหวแบบ
Peristalsis บีบก้อนอาหาร และขับอุจจาระออกไป
ถ้าอุจจาระเคลื่อนตัวจากลาไส้ใหญ่ซิกมอยด์
ถึงเรคตัม จะเกิดการปวดถ่ายอุจจาระเป็ น
สัญญาณเตือน
7
2.การควบคุมของสมอง
อาศัยการเบ่ง: การหดตัวกล้ามเนื้อ
หน้าท้อง กระบังลม
และกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
แรงดันช่องท้อง
เพิ่มขึ้น
มีแรงกดที่
ลาไส้ใหญ่
อุจจาระถูกขับ
ออกมาเร็วขึ้น
8
การขับถ่ายอุจจาระ ( Defecation )
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการขับถ่าย
อายุ(Age)
น้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
ไม่แข็ง อ่อนตัว กระตุ้นการเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
(Body movement) ลาไส้ทางานลดลง
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานไม่แข็งแรง 9
อาหาร(Food intake)
เพิ่มน้าหนัก อ่อนนุ่ม
ขับเคลื่อนดีขึ้น
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการขับถ่าย
อารมณ์ (Emotion) ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต หลั่ง
ความสม่าเสมอ/นิสัย ในการขับถ่าย
(Defecation Habits )
ความเหมาะสมในการขับถ่าย
(Opportunity)
ยา (Medication)
-Atropine,Morphine
-Alum milk 10
ลักษณะของอุจจาระปกติ
อุจจาระปกติมีสีน้าตาลอ่อนจนถึงน้าตาลเข้ม
ลักษณะอ่อน มีรูปร่าง
สาหรับเด็กเล็กอุจจาระอาจจะเป็ นสีเหลืองเข้มขึ้นอยู่กับ
ชนิดของอาหารที่รับประทาน
 การที่อุจจาระมีสี เกิดจากน้าดี ( bile ) ถ้าไม่มี
การขับน้าดีเข้าสู่ลาไส้จะทาให้อุจจาระมีสีซีด
11
อุจจาระผิดปกติ
1.อุจจาระคล้ายดินร่วน เหลว
 ยาระบาย, อาหารมีฤทธิ์ระบาย
2. อุจจาระมีสีขาวซีด
ไม่มีน้าดีในลาไส้เล็ก
มีการอุดกั้นทางเดินน้าดี
และถุงน้าดี ทาให้น้าดีไม่สามารถเข้าสู่ลาไส้
>>ทาให้อุจจาระมีสีขาวซีด 12
อุจจาระผิดปกติ
3. อุจจาระเป็ นก้อนเล็กๆ แข็ง
ขาดน้า/ กินอาหารกากใยน้อย
4. อุจจาระสีดา
 สีของเลือดที่พบจะเป็ นสีดา
 แสดงตาแหน่งของเลือดที่ออกได้
คือเลือดออกบริเวณทางเดินอาหารส่วนบน เมื่อผ่านกระบวนการ
ย่อยแล้ว จะเปลี่ยนเป็ นสีดาสนิท เหนียว มีกลิ่นฉุน เรียกว่า
“ melena ” 13
5. เลือดสด ( Fresh blood )
 มีการระคายเคืองบริเวณทวารหนัก
 การฉีกขาดของริดสีดวงทวาร
 เลือดออกจากลาไส้ใหญ่หรือลาไส้เล็กส่วนปลาย
6.มูกวุ้น เหมือนน้ามูก อาจมีเลือดปน
การระคายเคืองหรืออักเสบอย่างรุนแรงจากลาไส้
อักเสบ มะเร็ง ลาไส้ใหญ่อุดตัน
อุจจาระผิดปกติ
14
ปั ญหาที่พบบ่อย
เกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ
15
ภาวะท้องผูก ( Constipation )
 ถ่ายอุจจาระออกมาแห้งแข็ง ขับถ่ายลาบาก
 ต้องออกแรงเบ่งมาก ถ่ายไม่สุด
 เกิดความเจ็บปวด
 ถ่ายน้อยกว่า 3 ครั้งใน 1
สัปดาห์
 ไม่ถ่ายอุจจาระติดต่อกัน 3 วัน
16
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ปฐมภูมิ : การรับประทานอาหาร ขาดน้า
การเคลื่อนไหวลดลง
ทุติยภูมิ: ความเจ็บป่วย ยาระงับปวด(ฝิ่น)
ความผิดปกติ ของลาไส้/การทาหน้าที่ของไขสันหลัง
17
ภาวะท้องผูก ( Constipation )
สาเหตุของท้องผูก
ไม่ได้ฝึ กขับถ่ายให้เป็ นเวลา
ได้รับอาหารและน้าไม่เพียงพอ
ออกกาลังกายไม่เพียงพอ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
เกิดความเครียด วิตกกังวล อารมณ์ซึมเศร้า
พยาธิสภาพ/ความผิดปกติทางร่างกาย
-ทางกายภาพของลาไส้ -การใช้ยา -ระบบประสาท
-การเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน
18
ผลที่เกิดจากการท้องผูก
 แน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ วิงเวียน
 ปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
 ริดสีดวงทวาร ( hemorrhoid )
 ในผู้ป่ วยโรคตับ อาจเกิดอาการสับสน หมดสติ (Hepatic coma)
>>จากแบคทีเรียในลาไส้ เปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร >>
แอมโมเนีย และดูดซึมเข้ากระแสเลือดไปยังสมองใน
ผู้ป่ วย 19
ผลที่เกิดจากการท้องผูก
อุจจาระอาจอัดกันเป็ นก้อนแข็ง หรือผนัง
ลาไส้หย่อนตัวเป็ นถุงสะสมอุจจาระไว้ พบใน
ผู้ป่ วยสูงอายุ ผู้ป่ วยอัมพาต
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ ( incontinence )
20
การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือและ
แก้ไขอาการท้องผูก
แนะนาและกระตุ้นให้ผู้ป่ วยรับประทานอาหารให้มาก
เพียงพอ
แนะนา กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่ วยได้รับน้าให้เพียงพอ
แนะนาและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควร
ฝึ กระบบขับถ่ายให้เป็ นเวลา
ช่วยให้ผู้ป่ วยได้ออกกาลังกาย
21
การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือและ
แก้ไขอาการท้องผูก
 จัดสิ่งแวดล้อมสถานที่ให้เหมาะสม
 การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย น้ามันละหุ่ง (caster oil ),
MOM ( Milk of magnesia ), bisacodyl, ELP ( Emulsion of
Liquid Paraffin )
 ยาเหน็บ ( suppositories ) ใช้เหน็บทางทวารหนัก
(Bisacodyl, Proctosedyl)
 การสวนอุจจาระ เมื่อใช้ยาไม่ได้ผล
 ใช้โปรแกรมการฝึ กถ่ายอุจจาระ
22
การอัดแน่นของอุจจาระ
( Fecal Impaction )
☻เป็ นอาการที่สืบเนื่องจากท้องผูก สะสมอุจจาระไว้
ในไส้ตรงเป็ นเวลานาน
☻เริ่มแรก
☻ไม่ถ่ายเป็ นเวลานาน
☻พบอุจจาระเป็ นน้าเหลวไหวซึม
ทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
☻อยากถ่ายตลอดเวลาแต่ถ่ายไม่ออก
23
24
การอัดแน่นของอุจจาระ
( Fecal Impaction )
☻อาจมีอาการอื่นร่วมด้วยคือ
ปวดบริเวณตาแหน่งไต
ท้องอืด แน่นท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
☻หายใจตื้น ความดันโลหิตสูงขึ้น
☻ตรวจทางทวารหนัก จะพบก้อนแข็ง ๆ ของ
อุจจาระหรือไม่พบหากก้อนนั้นอยู่สูงเกินไป
การพยาบาล
เป้ าหมาย >>ช่วยเหลือเอาอุจจาระ
ออกจากร่างกาย
การล้วงอุจจาระ ( Evacuation )
ให้ยาระบาย
 เพื่อทาให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่ม
/หล่อลื่นหรือ
การสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยา
ไม่ได้ผล
25
การล้วงอุจจาระ ( Evacuation )
☻ให้ผู้ป่ วยSim’s position
☻ปูผ้ายางรองใต้ผู้ป่ วย
☻วางหม้อนอนไว้ใกล้ ๆ
☻สวมถุงมือ แล้วใช้นิ้วที่หล่อลื่น
ด้วยเจลหล่อลื่นสอดทางทวารหนัก
☻ดึงก้อนอุจจาระออกใส่ในหม้อนอน
อาจจะน้ามันเข้าไปช่วย
ล้วงออกเป็ นระยะ
พยาบาลต้องทาด้วย
ความนุ่มนวลและรวดเร็ว
เนื่องจากอาจทาให้ผู้ป่ วย
รู้สึกเจ็บและเขินอายได้
26
ท้องอืด ( Flatulence / abdominal distention )
เป็ นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบาย
เกิดจากแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น
 ปวดท้อง
 คลื่นไส้
 อาเจียน
 ถ้าเป็ นมากปอดขยายไม่เต็มที่ทาให้หายใจลาบาก
 ถ้าเป็ นติดต่อกันนาน>>การขาดอาหาร/น้า
27
สาเหตุอาการท้องอืด
มีการสะสมของอาหารหรือน้ามาก จากอาหารไม่ย่อย
มีการสะสมของอุจจาระมาก จากการไม่ได้ขับถ่ายออก
ตามปกติ
มีแก๊สมากในกระเพาะอาหารหรือลาไส้
เกิดจากการมีน้าคั่งมากในส่วนอื่นของช่องท้องเช่น
ท้องมานน้า
อวัยวะในช่องท้องใหญ่ผิดปกติ เช่น ตับโต ม้ามโต
ปริมาตรของช่องท้องลดลง 28
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45˚ - 60˚ เพื่อช่วยลดอาการแน่น
หน้าอกและหายใจไม่สะดวก
อธิบายสาเหตุแสดงความเห็นใจและให้กาลังใจ
พยายามหาสาเหตุแล้วช่วยเหลือตามสาเหตุ
 กระตุ้นให้เคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อกระตุ้นการบีบตัวของลาไส้ให้
ระบายแก๊สออกได้
 การใส่สายทางทวารหนักเพื่อระบายลม
 การใช้ยาขับลม ยาระบาย
 ใส่ NG tube เพื่อระบายลม น้าย่อย อาจต่อกับเครื่อง
suction
การพยาบาล
29
กลั้นอุจจาระไม่ได้ ( Fecal incontinence )
เกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนักมีการกดทบจาก
อุจจาระ
ความผิดปกติของปลายประสาทรับความรู้สึกที่เลี้ยง
บริเวณทวารหนัก
ทาให้มีการถ่ายอุจจาระ
/ผายลมออกมาทันทีเมื่อปวด
กลั้นอุจจาระและลมไม่ได้
30
1.ผลต่อจิตใจ
 สูญเสียความรู้สึกมีคุณค่า/ความนับถือต่อตนเอง
 อาจจะรุนแรงมากขึ้นจากปฏิกิริยาของบุคคลที่อยู่รอบ
ข้าง
2.ผลต่อร่างกาย
การระคายเคืองต่อผิวหนังและเป็ นแผลรอบทวารหนัก
ความสกปรกเปรอะเปื้ อนของเสื้อผ้าและเครื่องใช้
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
31
การพยาบาล
**** ดูแลดูแลด้านจิตใจ ป้ องกันการสูญเสียคุณค่าและนับถือ
ตนเอง>>เสริมสร้างกาลังใจ
พยายามให้ผู้ป่ วยได้ฝึ กถ่ายอุจจาระ
การดูแลผิวหนัง
 ระวังไม่ให้อุจจาระค้างอยู่ที่ผิวหนังนาน
ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
รักษาสุขภาพให้แข็งแรงป้ องกันการเกิดหวัด (ไอ จาม)
32
Adult diapers
อุจจาระร่วง ( Diarrhea )
การเพิ่มจานวนครั้งของการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระ
เป็ นน้าเหลวหรือมีมูกปน โดยถือว่า
 ถ่ายเป็น น้าเหลว 3 ครั้งในเวลา 12 ชั่วโมง หรือถ่ายเป็น
น้าปนมูกเพียงครั้งเดียว
33
สาเหตุอุจจาระร่วง
อาหารปนเปื้ อนเชื้อโรค
สาเหตุทางจิตใจ อารมณ์
ยา เช่น Side effect ของ ABO
34
ผลของอุจจาระร่วง
สูญเสียอาหาร น้า อิเล็กโตรลัยท์ ร่างกาย
อ่อนเพลีย น้าหนักลด มีอาการของการขาดน้า
ในกรณีที่อุจจาระร่วงอย่างรุนแรง ทาให้ร่างกาย
สูญเสียไบคาร์บอเนต เกิดภาวะกรดเกินในร่างกายได้
ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้
ความไม่สุขสบายทางร่างกาย
35
การพยาบาล
การช่วยเหลือในการถ่ายอุจจาระ
ช่วยผู้ป่ วยให้ถ่ายได้ทันและอานวยความสะดวกสบายให้แก่
ผู้ป่ วย
ช่วยเหลือให้ถ่ายในท่าที่เหมาะสม
ให้โอกาสผู้ป่ วยได้อยู่ตามลาพัง แต่ไม่ควรทอดทิ้งผู้ป่ วย
ช่วยเหลือให้ได้รับการชาระล้างทาความสะอาดหลังการถ่าย
อุจจาระ
36
การพยาบาล
สังเกตและบันทึก เกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระอย่าง
 เพื่อประเมินถึงความรุนแรงของอาการ เก็บอุจจาระส่ง
ตรวจ
บันทึกปริมาณน้าที่ได้รับ/ที่ขับออกจากร่างกาย
ประเมินภาวะสมดุลของน้าและเกลือแร่เป็ นระยะ ๆ
เฝ้ าระวัง ป้ องกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้าและ
เกลือแร่
***ทดแทนน้า และเกลือแร่ให้พอเพียงกับความต้องการ
ของร่างกาย***
37
การพยาบาล
ติดตามประเมินอาการ และรายงานแพทย์ถึงผลการตรวจ
เลือด และอุจจาระทางห้องปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือผู้ป่ วยได้
ทันทีและเหมาะสม
การพักผ่อน ให้ผู้ป่ วยได้พักผ่อนในบรรยากาศที่ผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่สะอาด
อาหาร
 ในระยะแรกมักให้งดอาหาร ให้ดื่มเฉพาะน้า หรือน้าเกลือแร่ซึ่ง
สามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย
 เมื่ออาการดีขึ้นจึงเริ่มให้อาหารอ่อน ไม่มีกากมาก ไม่มีไขมัน 38
การพยาบาล
การใช้ยา
 อาจให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
สอนวิธีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับสุขอนามัยในเพื่อ การ
ป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อ หรือการกลับเป็ นอีก
 เรื่องความสะอาดของร่างการ
 การทาความสะอาดภายหลังถ่ายอุจจาระ
 การล้างมือให้สะอาดหลังถ่าย ก่อนและหลังการ
รับประทานอาหาร 39
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง ( Fecal diversion )
เป็ นการที่ผู้ป่ วยได้รับการผ่าตัดจากส่วน ของลาไส้เปิ ด
ออกทางหน้าท้อง (ostomy)
รูเปิ ด เรียกว่า stoma
การระบายอุจจาระออกชั่วคราว /ถาวร เช่น
 เปิ ดระบายอุจจาระจากลาไส้เล็ก
 เปิ ดระบายอุจจาระจากลาไส้ใหญ่
Ileostomy
40
Colostomy
Colostomy
 เปิ ดระบายอุจจาระจากลาไส้ใหญ่
41
การพยาบาล
การทาความสะอาดช่องเปิ ดของลาไส้ แบ่งเป็ น 3 ระยะ
 ระยะที่ 1 หลังผ่าตัด 4-5 วัน ทาความสะอาดแบบการทา
แผลด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อเพื่อป้ องกันการติดเชื้อของ
แผลผ่าตัด เปลี่ยน colostomy bag เมื่อมีอุจจาระประมาณ
1/3 หรือ 1/2 ของถุง
 ระยะที่ 2 หลังผ่าตัด 7-10 วัน แผลผ่าตัดจะเริ่มติดดี และ
เริ่มมีอุจจาระออกทาง stoma ให้ใช้สาลีสะอาด และน้าต้ม
สุกทาความสะอาด stoma และผิวหนังรอบๆ แล้วซับให้แห้ง
ปิ ดด้วยถุงรองรับอุจจาระ 42
การทาความสะอาดช่องเปิ ดของลาไส้
 ระยะที่ 3 หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์ แผลจะยุบบวมและ
มีขนาดคงที่
 ระยะนี้สามารถทาความสะอาดด้วยน้า และสบู่อ่อน
ขณะอาบน้าสามารถทาความสะอาดเหมือนการล้าง
ทวารหนักตามธรรมดา
43
การพยาบาล
2. การปิ ดถุงรองรับอุจจาระ
ปิ ดด้วยถุงรองรับอุจจาระเพื่อป้ องกันผิวหนังรอบๆ
สัมผัสกับอุจจาระที่ผ่านออกจากลาไส้
ในรายที่สามารถฝึ กการขับถ่ายเป็ นเวลาได้ ไม่
จาเป็ นต้องปิ ดถุงรองรับไว้ตลอดเวลาก็ได้ แต่ถ้าไม่
มั่นใจจะติดไว้ตลอดเวลาก็ได้
44
45
การพยาบาล: การปิ ดถุงรองรับอุจจาระ
ถุงรองรับอุจจาระสาเร็จรูปปากถุงจะมีรูเปิ ด และรอบๆเป็ น
กาวเหนียว ที่ติดกับผิวหนังได้
ก่อนใช้ต้องวัด และตัดขนาดของปากถุงให้
ใหญ่กว่าขนาดของ stoma ประมาณ 0.2-0.3 ซม.
ลอกกระดาษที่ติดกับแผ่นกาวเหนียวออก วางปากถุงที่มี
กาวเหนียวให้แนบสนิทกับผิวหนังรอบ ๆ stoma
กดรอบๆ stoma เบาๆ อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้กาวติดแน่น และ
ป้ องกันการหลุดรั่วของอุจจาระ
การติดถุงต้องพยายามไล่ลมให้มีค้างในถุงน้อยที่สุด 46
การพยาบาล
3.การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด หรือ อาหารหมักดอง
รับประทานอาหารที่ป้ องกันอาการท้องผูก ได้แก่
ดื่มน้าและน้าผลไม้ วันละ 6-8 แก้ว/วัน ผัก ผลไม้
เป็ นต้น
ในกรณีที่อุจจาระเหลวมากให้ทานอาหารที่ลด
กาก เช่น เนื้อสัตว์ 47
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทาให้เกิดกลิ่น ปลา ไข่ หน่อไม้ฝรั่ง
กระเทียม เครื่องเทศ ผักตระกูลกะหล่า สะตอ ผัก
กระถิน ชะอมอาหารที่ลดกลิ่น ได้แก่ คะน้า ตาลึง
ผักบุ้ง โยเกิต
ควรรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ ในเวลาเดียวกัน
ทุกๆ วัน จะช่วยให้การควบคุมการขับถ่ายดีขึ้น
48
การพยาบาล
ควรหลีกเลี่ยง การเคี้ยวหมากฝรั่ง สูบบุหรี่ การเคี้ยว
อาหารปิ ดปากไม่สนิท, การดูดน้าจากหลอดและนอน
ปิ ดปากไม่สนิทเวลาหลับ เพราะเป็ นสาเหตุให้มีแก๊สใน
ลาไส้มากเกินไป
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทาให้เกิดแก็ส เช่น ไข่ หนอไม้
น้าอัดลม กะหล่าปลี
49
การพยาบาล
4. การออกกาลังกายและการทางาน
ระยะแรก ผู้ป่ วยควรออกกาลังกายเบา ๆ
หลังผ่าตัด 3-6 เดือน สามารถออกกาลังกายได้
ตามปกติ เช่น วิ่ง เทนนิส แบดมินตัน
50
การพยาบาล
5. การฝึ กหัดการขับถ่าย
 โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ต้องหัดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง
 เบ่งถ่ายอุจจาระทุกวัน ตอนเช้า นอกจากนี้
 อาจต้องใช้ยา dulcolax หรือ glycerine เหน็บรูเปิ ดลาไส้ จะ
ช่วยให้การขับถ่ายเป็ นเวลา
51
การพยาบาล
6.ภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยมักพบใน
ผู้ป่ วยที่ขาดความรู้และปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง จึงต้องให้
คาแนะนาแก่ผู้ป่ วยในการสังเกตและดูแลตนเอง
ระคายเคืองผิวหนังรอบ
stoma
การติดเชื้อ
การแพ้ การตีบของ stoma
การอุดตัน stoma
การทะลุของลาไส้การยื่นออกมามากเกินไป
52
การสวนอุจจาระ ( Enema )
คือใส่สารอาจจะเป็ นน้า น้ามัน หรือสารเคมี
เข้าไปในลาไส้ใหญ่ส่วนล่าง โดยผ่านทางทวาร
หนัก เพื่อกักเก็บไว้หรือขับถ่ายออก
53
วัตถุประสงค์ของการสวนอุจจาระ
เพื่อลดปัญหาอาการท้องผูก
เพื่อเตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อเตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่ วยจะต้องดมยาสลบ
เพื่อเตรียมคลอด
เพื่อการรักษา เช่น การระบายพิษจากแอมโมเนีย
คั่งค้างในกระแสเลือดในผู้ป่ วยโรคตับ
54
ชนิดของการสวนอุจจาระ
แบ่งเป็ น 2 ชนิด
การสวนล้าง
การสวนเก็บ
55
1.การสวนล้าง
☻ เป็ นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่
☻โดยการทาให้เกิดการระคายเคืองของ colon หรือ rectum
☻เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลาไส้ และขับอุจจาระ
ออกมา
จุดประสงค์ในการสวนล้าง
 บรรเทาอาการท้องผูก อุจจาระอัดแน่น
 ล้างลาไส้ใหญ่ให้สะอาด ใช้ในการเตรียมตรวจ ผ่าตัด หรือการ
X – ray บางอย่าง
 ช่วยให้การขับถ่ายเป็ นปกติ ในช่วงเข้าโปรแกรมฝึ กการขับถ่าย56
1.ประเภทแบ่งตามชนิดของสารละลายที่ใส่เข้าไปในลาไส้
การสวนด้วยน้าสะอาด ( tap water enema : T.W.E. )
ไม่ใช้ใน ผู้ป่ วย อิเล็กโตรไลท์ไม่สมดุล และเด็ก
การสวนด้วยน้าสบู่ ( soap sud enema : S.S.E. )
ทาให้เกิดลาไส้อักเสบได้
ถ้าสบู่ร้อนเกินอาจเกิด methemoglobinemia ร่างกายเขียว
คล้า หายใจลาบาก ชีพจรเต้นเร็ว
57
58
การสวนด้วยน้าเกลือนอร์มัล
( normal saline solution enema : N.S.S. enema )
• ใช้ในผู้ป่ วยเด็ก ผู้ป่ วยลาไส้อักเสบ
• หลีกเลี่ยงใช้ในผู้ป่ วยโรคหัวใจ ผู้ป่ วยที่มี Na คั่ง
การสวนด้วยน้ายาสาเร็จรูป ( fleet enema )
เป็นสารละลายโซเดียม ออกฤทธิ์เร็ว 5 นาที
การสวนด้วยน้ามัน ( oil enema ) >ใช้ในผู้อุจจาระอุดตัน
1.ประเภทแบ่งตามชนิดของสารละลายที่ใส่เข้าไปในลาไส้
2.การสวนเก็บ
☻เป็ นการสวนน้ายาเข้าไปเก็บไว้ใน ลาไส้ใหญ่จานวนน้ายาที่ใช้
ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 cc.
จุดประสงค์ในการสวนเก็บ ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ายา
Oil - retention enema เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นในลาไส้มี
การบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema เป็ นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อลดเชื้อแบคทีเรียใน
ลาไส้ใหญ่ ก่อนผ่าตัดเกี่ยวกับลาไส้ใหญ่ /การสวนเพื่อการ
วินิจฉัยโรค เช่น การทา Barium enema
59
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105
องศาฟาเรนไฮต์ /40.5 องศาเซลเซียส
ปริมาณของสารน้าที่ใช้ในการสวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับ
อายุและขนาดของร่างกายผู้ป่ วย
 เด็กเล็กใช้ 150 – 250 ml.
 เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ 250 – 500 ml.
 เด็กอายุ 10 – 14 ปี ใช้ 500 – 750 ml.
 ผู้ใหญ่ใช้ 750 – 1,000 ml. 60
แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ป่ วย
 ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน
 ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การปล่อยน้า เปิ ด Clamp ให้น้าไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-
10 นาที เพื่อให้ผู้ป่ วยเก็บน้าได้หมด
 การปล่อยน้าช้าๆ จะช่วยลดความไม่สุขสบายจากลาไส้โป่ ง
ตึง
 ถ้าปล่อยน้าไหลแรงเกินอาจทาให้ผู้ป่ วยปวดท้องเป็ น
ตะคริว
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
61
☻ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ สอดลึก 2-4
นิ้ว
เด็กโต สอดลึก 2 – 3 นิ้ว
เด็กเล็ก สอดลึก 1 – 1.5 นิ้ว
☻ การหล่อลื่นหัวสวน: หล่อลื่นด้วย KY jelly
 ยาวประมาณ2-3 นิ้วในผู้ใหญ่
 ยาวประมาณ1นิ้วในเด็ก
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
62
ท่านอนของผู้ป่ วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า ( Sim’s positon )
ให้เข่าขวางอขึ้นมาก ๆ
ถ้าผู้ป่ วยนอนตะแคงซ้ายไม่ได้
ให้นอนหงาน
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
63
ทิศทางการสอดหัวสวน:
 ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้ว
 แล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตาม
ลักษณะโค้งของลาไส้อีกประมาณ1-2นิ้ว
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
64
หลังจากปล่อยน้าผู้ป่ วยจะทนไม่ได้ :
ควรให้ผู้ป่ วยหายใจทางปากยาว ๆ เพื่อ
ผ่อนคลายและกลั้นอุจจาระต่อไปอีก 5 – 10
นาที จนกว่าน้าจะหมด เพื่อให้อุจจาระ
อ่อนตัว
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
65
การแก้ไขเมื่อน้าในหม้อสวนไม่ไหล ได้ถูกต้อง
 ผู้ป่ วยเบ่ง ให้ผู้ป่ วยหายใจเข้าออกลึกๆ ทางปาก
ช้าๆ
 ปลายหัวสวนติดผนังลาไส้ ต้องเลื่อนหัวสวนออกมา
 อุจจาระติดปลายหัวสวน ค่อยๆดึงหัวสวนออกมา
เปลี่ยนใหม่
 เปิ ดเผยผู้ป่ วยเฉพาะที่จาเป็ น และให้เกียรติต่อ
ผู้ป่ วยเสมอ
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
66
การสวนอุจจาระ
67
68
การสวนด้วยน้ายาสาเร็จรูป ( fleet enema )
69
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจหาความผิดปกติในระบบทางเดิน
อาหาร เช่น ภาวะติดเชื้อ ภาวะเลือดออก มะเร็ง
ในลาไส้ใหญ่ แบ่งเป็ น
Stool Examination
Stool Culture
Stool occult blood 70
วิธีการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ควรอธิบายให้ผู้ป่ วยเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ใน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การเก็บตัวอย่างที่ต้องปลอดการปนเปื้ อน
ปัสสาวะ น้า และสิ่งปนเปื้ อนอื่น ๆ เช่น
กระดาษทิชชู
ให้ผู้ป่ วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาด
และแห้ง
71
ถ้าตรวจหาพยาธิ ควรเก็บชิ้นส่วนของอุจจาระที่คาด
ว่าผิดปกติ (มีมูก) จานวนเล็กน้อย
ตรวจหาเลือดแฝงให้งดอาหารที่มีเลือดปน /ยาที่มี
ธาตุเหล็ก
เก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิ ดมิดชิด และใส่ถุงพลาสติกหุ้ม
อีกชั้น
ส่งห้องปฏิบัติการทันที(30นาที)พร้อมใบส่งตรวจ
บันทึก จานวน สี ลักษณะ อุจจาระลงบันทึกทางการ
พยาบาล
วิธีการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
72
วิธีการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
Stool Culture
การเก็บอุจจาระเพื่อเพาะหาเชื้อ ( culture )
ภาชนะที่ใช้เก็บตัวอย่างอุจจาระต้องปลอดเชื้อ มีอาหาร
เลี้ยงเชื้อ
ภาชนะควรเก็บที่ อุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซียส (ในตู้เย็น)
73
74
ภำชนะเก็บอุจจำระส่งตรวจ (เพำะเชื้อ)
ภำชนะเก็บอุจจำระส่งตรวจ
75
กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือได้ผู้ป่ วยที่มีความ
ผิดปกติในการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ สุขนิสัยการ
รับประทานอาหาร ยา การใช้ยาระบาย การออก
กาลังกาย โรคประจาตัวเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร
เป็ นต้น
ตรวจร่างกาย สังเกตรูปร่างหน้าท้อง ฟังการ
เคลื่อนไหวของลาไส้ เคาะฟังเสียงแก๊ส คลาหน้าท้อง
เพื่อสารวจก้อน หรืออาการกดเจ็บ 76
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินมาแล้วนาข้อมูลที่ได้มา
กาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เกิดภาวะท้องผูกเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวของลาไส้น้อย
จากการถูกจากัดการเคลื่อนไหว
มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ เนื่องจากมีการเปิ ดลาไส้ออก
ทางหน้าท้อง
มีภาวะกลั้นอุจจาระไม่อยู่ เนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดทวาร
หนักควบคุมไม่ได้
77
การวางแผนการพยาบาล
เมื่อได้ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
 ต้องกาหนดวัตถุประสงค์
 เกณฑ์การประเมินผล
 การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่ วย เพื่อให้สามารถแก้ไข
หรือบรรเทาปัญหาของผู้ป่ วยได้
78
การวางแผนการพยาบาล
 ท้องผูกเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวของลาไส้น้อย
การพยาบาล
 ประเมินสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร และการขับถ่าย
 กระตุ้นให้ผู้ป่ วยได้ออกกาลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างการ
 แนะนาและกระตุ้นให้ผู้ป่ วยรับประทานอาหารกากใยให้มากเพียง
 แนะนา กระตุ้น ช่วยให้ผู้ป่ วยได้รับน้าอย่างน้อยวันละ 2,000 – 2,500 cc.
79
การวางแผนการพยาบาล
แนะนาและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระและควรฝึ ก
ระบบขับถ่ายให้เป็ นเวลา
จัดสิ่งแวดล้อมสถานที่ให้เหมาะสม และเป็ นส่วนตัว มิดชิด
ขณะต้องการถ่ายอุจจาระ
ติดตามการทางานของลาไส้ โดยการ ฟังสียงการเคลื่อนไหว
ของลาไส้ การเคาะหน้าท้อง ฟังเสียงแก๊ส เป็
ปรึกษาแพทย์ในการใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
ปรึกษาแพทย์ในการสวนอุจจาระ เมื่อใช้ยาไม่ได้ผล
80
การประเมินผลการพยาบาล
ติดตามการขับถ่ายอุจจาระ จานวนครั้ง ลักษณะ
อุจจาระ ความผิดปกติต่างๆ
ติดตามสุขนิสัยในการถ่าย และรับประทานอาหาร
ติดตามการทางานของลาไส้ โดยการ ฟังสียงการ
เคลื่อนไหวของลาไส้ การเคาะหน้าท้อง ฟังเสียงแก๊ส
เป็ นต้น
81
83
THE END
84
85

Contenu connexe

Tendances

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 

Tendances (20)

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
22
2222
22
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 

En vedette

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
saowaluk2556
 
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงานใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
Nattapon
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
Jintana Mokhuntod
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
Susheewa Mulmuang
 
ความผิดปกติด้านการนอน
ความผิดปกติด้านการนอน ความผิดปกติด้านการนอน
ความผิดปกติด้านการนอน
Sai Sai
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
techno UCH
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
Sambushi Kritsada
 

En vedette (20)

ท้องผูก
ท้องผูกท้องผูก
ท้องผูก
 
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงานใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
ใบความรู้ที่ 16 การเขียนโครงงาน
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริม
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
 
ความผิดปกติด้านการนอน
ความผิดปกติด้านการนอน ความผิดปกติด้านการนอน
ความผิดปกติด้านการนอน
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 

Plus de Sirinoot Jantharangkul

Plus de Sirinoot Jantharangkul (13)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57