SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ โดย ผู้แทนสำนักกำกับและประเมินผลรัฐวิสาหกิจ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔
2 4 ,[object Object],[object Object],ความเป็นมาของระบบประเมินผลฯ
1.  เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการผลักดันประสิทธิภาพ  การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล  2.  มุ่งเน้นให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจเป็นผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจให้ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.  ให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจตอนต้นปี และมีการประเมินผลตอนสิ้นปี โดยเป็นการประเมินผลดำเนินงานของทั้งองค์กร 4.  การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายตามบันทึกข้อตกลงฯ จะมุ่งเน้นให้รัฐวิสาหกิจมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงาน และยกระดับการบริหารจัดการให้เทียบเคียงได้กับ  Industry Norm  หรือมาตรฐานสากล 5.  ผลการประเมินจะเชื่อมโยงกับระบบแรงจูงใจ ซึ่งมีทั้งที่เป็น  ตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน หลักการของระบบประเมินผลฯ
บันทึกข้อตกลงการประเมินผลฯ  (Performance Agreement) ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการประเมินผลฯ  ( ปัจจุบัน )   จำนวน  12  คน ประกอบด้วย หมายเหตุ :  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้มีคำสั่งกระทรวงการคลัง ที่  624/2553  ลงวันที่  1  มิถุนายน  2553  คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ คณะอนุกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลง และประเมินผล การดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ  ( รายสาขา )  Sub Pac คณะอนุกรรมการเพิ่มมูลค่ารัฐวิสาหกิจ คณะอนุกรรมการพิจารณาประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหาร จัดการองค์กร คณะอนุกรรมการพิจารณาแนวทาง การแก้ปัญหาสำหรับรัฐวิสาหกิจ ที่ปิดบัญชีล่าช้า แบ่งเป็น  9  สาขา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะอนุกรรมการดูแลการประเมินผลคุณภาพรัฐวิสาหกิจ คณะอนุกรรมการต่างๆ ในระบบประเมินผลฯ
3.4  ระบบสารสนเทศ 3.1  บทบาท  Board 3. 3 Control & Audit 3. 5   HR Management 3. 2   Risk Management 2.2   KPI   (Non-Financial) 2 .1  KPI   (Financial ยุทธศาสตร์ / ทิศทางประเทศ Statement Of Direction: SOD ยุทธศาสตร์ / ทิศทางรัฐวิสาหกิจ ยุทธศาสตร์ / ทิศทางของหน่วยงานกำกับ KPIs ,[object Object],[object Object],[object Object],งานมอบรางวัล รส ดีเด่นประจำปี ( ภาพรวม ,  Board, Management, CSR, Improvement) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเทศ  -  ประชาชน โดย หน่วยงานกำกับ ผู้ถือหุ้น คาดหวังผลตอบแทน SOD คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ วิสัยทัศน์  -  ยุทธศาสตร์ ชี้นำวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ ผู้บริหาร ผู้บริหาร แผนปฏิบัติ แผนปฏิบัติ ใครทำ  / ทำอะไร  / เสร็จเมื่อไร ภาพรวมระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ผลการประเมิน ,[object Object],กลุ่ม / ประเภท เกณฑ์และน้ำหนักประเมินผล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],70  คะแนน 30  คะแนน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],20  ( +10 )   คะแนน 50  ( +10 )   คะแนน 30  คะแนน ระดับ คะแนน ผลงาน 5 ดีมาก ( ดำเนินการได้ดีกว่าแผนมาก ) 4 ดีขึ้น ( ดำเนินการได้ดีกว่าแผน ) 3 ปกติ ( ดำเนินการได้ตามแผน ) 2 ต่ำ ( ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผน ) 1 ต่ำมาก ( ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผนมาก )
แนวนโยบายของผู้ถือหุ้นภาครัฐ  ,[object Object],[object Object],[object Object]
ภาพรวม :   เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ บนพื้นฐานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล รายแห่ง :   เร่งรัดปรับโครงสร้างองค์กรรองรับการควบรวมกิจการกับ อ . ส . ย .  เพื่อการส่งเสริมและ สงเคราะห์เกษตรกรสวนยางอย่างเป็นระบบครบวงจร 1.  ปรับโครงสร้างการดำเนินงานให้รองรับกับการควบรวมเพื่อเป็นการยางแห่งประเทศไทย  2.  ปรับปรุงกระบวนงานให้มีประสิทธิภาพ  3.  พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ให้มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง  รายสาขา :   เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร แนวนโยบายของผู้ถือหุ้นภาครัฐ  (SOD)
[object Object],[object Object],[object Object],การกำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงาน 1 2
เกณฑ์การกำหนดตัวชี้วัด  (KPI) กลุ่ม / ประเภท เกณฑ์และน้ำหนักประเมินผล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],65  คะแนน 35  คะแนน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],20  ( + 10 )   คะแนน 45  ( + 10 )   คะแนน 35  คะแนน ระดับ คะแนน ผลงาน 5 ดีมาก ( ดำเนินการได้ดีกว่าแผนมาก ) 4 ดีขึ้น ( ดำเนินการได้ดีกว่าแผน ) 3 ปกติ ( ดำเนินการได้ตามแผน ) 2 ต่ำ ( ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผน ) 1 ต่ำมาก ( ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผนมาก )
การประเมินผลด้านการบริหารจัดการองค์กร รวม 35 หัวข้อ น้ำหนัก ( ร้อยละ ) 1.  บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 6 2.  การบริหารความเสี่ยง 7 3.  การควบคุมภายใน 4 4.  การตรวจสอบภายใน 6 5.  การบริหารจัดการสารสนเทศ 6 6.  การบริหารทรัพยากรบุคคล 6
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แนวทางการประเมิน บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
การเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมิน ปี  2553  และ  2554 พิจารณาในกรณีที่มีเหตุการณ์สำคัญขององค์กร  ( Incident)  ที่เกิดขึ้นในรอบปี และส่งผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  มาพิจารณาหักคะแนนเพิ่มเติม  (0.25 -1  คะแนน ) เกณฑ์ การพิจารณา ประกอบ เกณฑ์ประเมิน 100 100 รวม น้ำหนัก  (%) 20 20 1.7  การส่งเสริมการดำเนินงานด้าน  CG  และ  CSR 4 6 10 10 10 10 10 10 20 90 2553 4 2.2  การส่งเสริมความรู้ ความสามารถ 6 2.1  การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 10 2.  การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ 10 1.6  การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 10 1.5  การบริหารจัดการประชุม คณะกรรมการ / อนุกรรมการ 10 1.4  การประเมินผลงานของผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารสูงสุด 10 1.3  การดูแลติดตามผลการดำเนินงาน  10 1.2  การติดตามและทบทวนความเพียงพอของระบบงานที่สำคัญ 20 1.1  การกำหนดให้มีแผน ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและเป้าหมายที่สำคัญ 90 ,[object Object],2554 ประเด็นพิจารณา
เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญ / รุนแรง เช่น 1.  การกำกับดูแลและความโปร่งใส  ( Good Governance ) 2.  การปฏิบัติงาน  ( Operation ) แนวทางการพิจารณาหักคะแนนจากเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบเชิงลบ  อย่างมีนัยสำคัญของ รส .  ที่เกิดขึ้นในรอบปี พิจารณาในกรณีที่มีเหตุการณ์สำคัญขององค์กร  ( Incident)  ที่เกิดขึ้นในรอบปี และส่งผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยอาจพิจารณาหักคะแนน  0.25 -1  คะแนน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการประเมินผลฯ ปีบัญชี  2554 1 .  ศึกษา และวิเคราะห์แบบสอบถามและเอกสาร / หลักฐานอ้างอิงของ รส . 3 .  สัมภาษณ์ผู้บริหาร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันผลประเมิน 2.  เข้าเยี่ยมชม  ( Visit )  และสุ่มตรวจการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการผ่านกิจกรรม / สัมมนาของ รส .  ประจำปี 4.  การสนทนา / อภิปราย กับ  กรรมการ รส . ,[object Object],[object Object]
แนวทางการประเมินผลฯ ปีบัญชี  2554 ( ต่อ ) แนวทางการสนทนา / อภิปรายกับคณะกรรมการ รส .  เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาประเมินผลฯ ปีบัญชี  2554  สรุปได้ดังนี้ รส .  นำเสนอวันนัดสนทนา / อภิปรายของกรรมการ รส .  ภายในระยะเวลา  1. รัฐวิสาหกิจ ระยะเวลาการเข้า  สนทนา / อภิปรายกับกรรมการ รส . รัฐวิสาหกิจ ปีงบประมาณ วันที่  21  พ . ย . 54  –  15  ธ . ค . 54  รัฐวิสาหกิจ ปีปฏิทิน วันที่  21  ก . พ . 55  –  15  มี . ค . 55  รัฐวิสาหกิจ ปีพิเศษ สิ้นสุด  31  มี . ค .  วันที่  1  พ . ค . 55  –  15  พ . ค . 55
สรุปผลการประเมิน  “ บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ระดับคะแนน ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง I.  บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ ข องคณะกรรมการ  ข้อ  1.1  การกำหนดแผนงาน      คณะกรรมการ สกย .  มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง กลยุทธ์ และนโยบายมากกว่า ปีก่อน แต่ยังขาดรายละเอียดของการจัดทำแผนที่ครบถ้วนในบางส่วน ข้อ  1.2  การทบทวนระบบงาน      คณะกรรมการ สกย .  มีส่วนร่วมในการทบทวนระบบงานด้าน  HR  และ  IA  ที่เร็วกว่าปีก่อน แต่ยังขาดการทบทวนในระบบ  Risk IC  และ  IS ข้อ  1.3  การติดตามผลการดำเนินงาน      คณะกรรมการ สกย .  มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ แต่ยังขาดการมอบข้อสังเกตและแนวทางในการแก้ไขปัญหา ข้อ  1.4  การประเมินผู้บริหาร      คณะกรรมการ สกย .  มีการประเมินผู้บริหารสูงสุดอย่างเป็นรูปธรรม ข้อ  1.5  การบริหารการประชุม      คณะกรรมการ สกย .  มีส่วนร่วมในการประชุมและดำเนินการตามวาระประชุมที่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าครบถ้วนค่อนข้างมาก เช่นเดียวกับปีบัญชี  2552 ข้อ  1.6  การเปิดเผยข้อมูล      มีการเปิดเผยข้อมูลผ่านหน้า  Website  ลดลงกว่าปีก่อน ข้อ  1.7  การส่งเสริมให้องค์กร   มี  CG   และ  CSR        คณะกรรมการ สกย .  มีบทบาทในการติดตามการดำเนินงานด้าน  CG  และ  CSR  ค่อนข้างน้อย ควรจัดให้มีคณะอนุกรรมการและหน่วยงานด้าน  CG  รวมถึงการนำเสนอผลการดำเนินงานด้าน  CG  และ  CSR  ให้คณะกรรมการพิจารณาอย่างสม่ำเสมอทั้งปี II.  การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ ข้อ  2.1  การประเมินตนเอง      คณะกรรมการ สกย .  มีการประเมินตนเองเช่นเดียวกับปีก่อน ข้อ  2.2  การจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้      สกย .  ไม่มีกรรมการชุดใหม่ในปี  2553  แต่มีการจัดให้มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถของคณะกรรมการมากขึ้นกว่าปีก่อน คะแนนรวม 2.3048 2.4916
การบริหารความเสี่ยงที่ดีตามองค์ประกอบหลักของ  COSO ERM  และ เกณฑ์การพิจารณาอื่น  ที่มีความสำคัญ การบริหารความเสี่ยง ระดับ  1 - 3 ส่วนที่  1  :  ระดับ ผ่านการประเมิน ระดับที่ 3 เกณฑ์เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนระบบการบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับ  4 - 5 ส่วนที่  2  :  คะแนนถ่วงน้ำหนัก Linkage between risk and policy Revise Culture Value Enhancement Incentive Risk Result Value Creation IT&ITG Portfolio View of Risk GRC
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การวัดระดับการบริหารความเสี่ยง ระดับ  1 ระดับ  2 ระดับ  3 ระดับ  4 - 5
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารความเสี่ยง ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารความเสี่ยง ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง ระดับที่  1  การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง  ในระดับเบื้องต้น   ,[object Object],[object Object],[object Object],ระดับที่  2  การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง  ในระดับเบื้องต้นอย่างมีระบบ   ,[object Object],[object Object],[object Object],  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ระดับที่  3  การบริหารความเสี่ยงในเชิงบูรณาการ มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง  ในอย่างมีระบบในเชิงบูรณาการ ? ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คะแนนรวม 1.3000 1.4000 ( หักคะแนนเชิงคุณภาพ  0.5  คะแนน )
[object Object],[object Object],[object Object],1.1  สภาพแวดล้อมของ การควบคุม  ( 34 %) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 1.3  กิจกรรมการ ควบคุม  ( 42 %) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เกณฑ์การประเมิน 1.5  การติดตาม ประเมินผล  ( 24 %) การควบคุมภายใน มีการเปลี่ยนแปลง
สรุปผลการประเมิน  “ การควบคุมภายใน ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินการควบคุมภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ผลประเมินการควบคุมภายใน ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ การควบคุมภายใน ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง 1.  สภาพแวดล้อมของการควบคุม   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2.  การประเมินความเสี่ยง - - ประเมินในหัวข้อการบริหารความเสี่ยง 3.  กิจกรรมการควบคุม   ,[object Object],[object Object],[object Object],4.  สารสนเทศและการสื่อสาร - - ประเมินในหัวข้อการบริหารสารสนเทศ 5.  การติดตามประเมินผล      สกย .  มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการประเมินการควบคุมตนเองในปีที่ผ่านมา และมีความสำเร็จในการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการประเมินการควบคุมด้วยตนเองในปีที่ผ่านมา ร้อยละ  90  คะแนนรวม 2.7600 2.9150
การตรวจสอบภายใน เกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน   น้ำหนัก  ( ร้อยละ ) ปี  2553 ปี  2554 แนวทางปฏิบัติด้านองค์กร 40.00 40.00 1  บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบภายใน  8.00 8.00 2  ความเป็นอิสระ 8.00 8.00 3  ความสัมพันธ์ของคณะกรรมการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี 8.00 8.00 4  ความสัมพันธ์ของหน่วยตรวจสอบภายในกับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และองค์กรกำกับดูแลอื่น 8.00 8.00 5  บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม 8.00 8.00 แนวทางปฏิบัติด้านปฏิบัติงาน 60.00 60.00 6  การวางแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ระยะยาว 12.00 10.00 7  การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ 12.00 1 4 .00 8  การรายงานและการปิดการตรวจสอบ 12.00 12.00 9  ความมั่นใจในคุณภาพ 9.00 9.00 10  การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ 15.00 15.00 น้ำหนักรวม 100 100
หลักเกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน ปีบัญชี  255 4 แนวทางปฏิบัติ ด้านองค์กร (40%) แนวทางปฏิบัติ ด้านการ ปฏิบัติงาน (60%) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ  (15%) ความเป็นอิสระ (8%) คสพ . ของ  A/C   กับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี  (8 %) บทบาทและ ความรับผิดชอบ (8%) คสพ . ของหน่วยตรวจสอบภายในกับผู้บริหาร และผู้สอบบัญชี (8%) การวางแผน เชิงกลยุทธ์ (10%) การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ (14%) การรายงาน และการปิดการตรวจสอบ (12%) ความมั่นใจในคุณภาพ (9%) บุคลากร  การพัฒนาและ การฝึกอบรม ( 8%)
สรุปผลการประเมิน  “ การตรวจสอบภายใน ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ การตรวจสอบภายใน ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง 1.  บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบ   ,[object Object],[object Object],2.  ความเป็นอิสระ      -  ไม่มีการระบุถึงการเปิดเผยความขัดแย้งทางผลประโยชน์กรณีที่บุคคลภายนอกเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3.  ความสัมพันธ์คณะกรรมการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี   ,[object Object],[object Object],[object Object],4.  ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และองค์กรกำกับดูแลอื่น    -  ฝ่ายบริหารควรเข้าไปขอคำแนะนำจากสำนักตรวจสอบมากขึ้น 5.  บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม   ,[object Object],[object Object],6.  การวางแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์    -  ในปี  2553  ไม่มีการทบทวนแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ และขาดความเห็นในการจัดทำแผนฯ จากผู้บริหาร  7.  การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ    -  การจัดทำแผนการตรวจสอบในรายละเอียดของกิจกรรมหลัก และกิจกรรมที่เป็นงานสนับสนุนยังไม่ครบทุกกิจกรรม  -  การจัดทำแนวทางการตรวจสอบในการปฏิบัติงานด้านการหาและบันทึกข้อมูลเอกสารหลักฐานต่างๆ ไม่ครบทุกครั้งและไม่ได้จัดทำขึ้นตามความเสี่ยง  8.  การรายงานและการปิดการตรวจสอบ   ,[object Object],[object Object],9.  ความมั่นใจในคุณภาพ    -  การสอบทานคุณภาพของงานตรวจสอบภายในยังไม่ครบทุกงาน เช่น บางแนวทางวการตรวจสอบไม่ได้รับการสอบทานและอนุมัติ 10.  การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบ    -  ไม่มีกระบวนการเปิดเผยการกระทำผิดหรือละเลยที่ก่อให้เกิดข้อผิดพลาด ความไม่มีประสิทธิภ่าพ ประสิทธิผล การสูญเสีย หรือทำให้เกิดความล้มเหลวในการปฏิบัติตามนโยบาย -  รายละเอียดของรายงานไม่ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และสรุปไม่ตรงประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบที่กำหนดไว้ และไม่สามารถเชื่อมโยงกระดาษทำการกับแนวทางการตรวจสอบได้อย่างครบถ้วน และการจัดเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานยังไม่ครบถ้วน คะแนนรวม 2.7567 2.8667
ในการประเมินการบริหารการจัดการสารสนเทศประกอบด้วย   2  ส่วนหลัก ส่วนที่  1 :   การประเมินแผนแม่บทสารสนเทศ  (IT Master Plan)  ( น้ำหนักร้อยละ  10)  ส่วนที่  2 :   การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ  ( น้ำหนัก ร้อยละ  90)  โดยมีการวิเคราะห์หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ  2.1  ถึง  2.6  ดังนี้ 2.1  ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ 2.2  ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง 2.3  ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 2.4  ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.5  ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร และประชาชน รวมถึงนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล 2.6  ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายในองค์กร การบริหารจัดการสารสนเทศ วิธีการประเมิน   การบริหารจัดการสารสนเทศ
ส่วนที่  1 : การประเมินแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวคูณ  (Multiplier) : คำนวณจากระดับคะแนนที่ได้ของ ส่วนที่  1 ( การประเมินแผนแม่บท ) โดยมีค่าระหว่าง  0.2  ถึง   1  เพื่อสะท้อนตามคุณภาพของแผนแม่บทฯ ส่วนที่  2 : การประเมินความเพียงพอของระบบ หรือแผนงาน  /  โครงการ  /  กิจกรรม โดยมีการวิเคราะห์โครงการ หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ  2.1  ถึง  2.6  คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศเบื้องต้น น้ำหนัก ร้อยละ  10 การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ถ้าผล  IS  ปี  5 4   < 3.00 ถ้าผล  IS  ปี  5 4   >= 3.00 พิจารณา  Improvement การส่งข้อมูลผ่านระบบ  GFMIS-SOE คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ  90 A B C
คะแนนของการบริหารจัดการสารสนเทศ  คะแนนเบื้องต้นจากการประเมินของส่วนที่  2  จะนำมาคูณกับ ตัวคูณ (Multiplier )  โดยการกำหนดตัวคูณมีหลักเกณฑ์ดังนี้ *  ในกรณีที่ไม่มีแผนแม่บทสารสนเทศ  (IT   Master   Plan)  หรือ กรอบระยะเวลาในการดำเนินงานของแผนแม่บทหรือแผนปฏิบัติการไม่ชัดเจน  >>  จะได้คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ เป็น  “ ระดับ  1”   << การบริหารจัดการสารสนเทศ วิธีการประเมิน   รส .  ที่ประเมินการบริหารจัดการฯ ตั้งแต่ ระดับคะแนนของส่วนที่  1 1 2 3 4 4.5 ปี  47-52 ตัวคูณ  (Multiplier) 0.2 0.5 0.7 0.9 1.0 หมายเหตุ :  หากไม่มีการทบทวนแผนแม่บท จะถูกหักคะแนนร้อยละ  20  จากคะแนนประเมินสุดท้าย ปี  53 ตัวคูณ  (Multiplier) 0.2 0.6 0.8 0.9 1.0 หมายเหตุ :  หากไม่มีการทบทวนแผนแม่บท จะถูกหักคะแนนร้อยละ  20  จากคะแนนประเมินสุดท้าย ปี  54 ตัวคูณ  (Multiplier) 0.2 0.6 0.8 0.9 1.0 A
ประเด็นการพิจารณาเรื่องการปรับปรุงผลงาน  ( Improvement) กรณี 1 2 3 ผลคะแนนเบื้องต้นปี  2553 2.8000 2.8000 2.8000 ผลคะแนนเบื้องต้นปี  2554 2.7335 2.9900 3.4175 การปรับปรุงผลงาน ไม่มี   Improvement มี   Improvement  แต่ต่ำกว่าระดับ  3.00 มี   Improvement  และมากกว่าหรือเท่ากับระดับ  3.00 ตัวคูณ   (Multiplier) 0.90 0.95 1.00 ผลประเมินก่อนหักคะแนน การส่งข้อมูลเข้าระบบ  GFMIS-SOE 2. 4602 2.8405 3.4175 B ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารจัดการสารสนเทศ ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารจัดการสารสนเทศ ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง I.  แผนแม่บทสารสนเทศ แผนแม่บทสารสนเทศ   ,[object Object],[object Object],II. การบริหารจัดการสารสนเทศ 2.1 IS  ที่สนับสนุนการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ      ควรพัฒนาระบบ  MIS  และระบบ  EIS  เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถรองรับและสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กร รวมถึงเป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารได้ดียิ่งขึ้น 2.2 IS  ที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง   ,[object Object],2.3 IS  ที่สนับสนุนการควบคุมและตรวจสอบภายใน      ควรดำเนินงานเกี่ยวกับ  Computer Audit   ภายในองค์กรให้ครบในประเด็นที่สำคัญ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.4 IS  ที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล   ,[object Object]
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารจัดการสารสนเทศ ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง II. การบริหารจัดการสารสนเทศ 2.5 IS  ที่ตอบสนองต่อความต้องการผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กร และประชาชน รวมถึงนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล   ,[object Object],[object Object],2.6 IS  ที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียภายในองค์กร   ,[object Object],คะแนนรวม 2.2565 2.6668
[object Object],การบริหารทรัพยากรบุคคล 1.  นโยบายและกลยุทธ์ด้าน  HR (20%) 2.1  ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล  (30%) การสรรหาและ  การจัดการอัตรากำลัง  [10%] การบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์   [10%] การวัดและประเมินผล การดำเนินงาน   [10%] 2.2  ระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคล  (10%) ช่องทาง  การสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์  [8%] 3.  โครงสร้างพื้นฐานฯ  (40%) หลักปฏิบัติและกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง  [8%] ระบบสารสนเทศ  ด้าน  HR  [8%] ความปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดล้อม   [6%] การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล  [10%]
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารทรัพยากรบุคคล ”   ประจำปี  255 3 ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี  2553  ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของ สกย .  ประจำปี  2552-2553   ระดับคะแนน ระดับคะแนน
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารทรัพยากรบุคคล ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง I.  การมีนโยบายและกลยุทธ์ด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1.1  นโยบายและกลยุทธ์ด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล      ความครบถ้วนของกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล ควรกำหนดเพิ่มเติมสำหรับกลยุทธ์ผลผลิตประสิทธิภาพ  ( Productivity)  และกลยุทธ์ความก้าวหน้าในสายอาชีพ ตลอดจน การนำกลยุทธ์และนโยบายไปปฏิบัติควรดำเนินการให้ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท  HR II.  การมีระบบในการบริหารทรัพยากรบุคคล และระบบในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 2.1  ระบบในการบริหารทรัพยากรบุคคล   ,[object Object],[object Object],2.2  ระบบในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล   ,[object Object],[object Object],III.   การมีโครงสร้างพืน :  ฐานสนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 3 .1  ช่องทางการสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์   ,[object Object],3 .2  หลักปฏิบัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง   ,[object Object]
สรุปผลการประเมิน  “ การบริหารทรัพยากรบุคคล ”  ประจำปี  2553    หัวข้อที่มีคะแนน  < 3.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  4.00  คะแนน    หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่  3.00   คะแนน แต่น้อยกว่า  4.00  คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี  2552 ปี  2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน    เพิ่มขึ้น  ,     ลดลง  ,     ไม่เปลี่ยนแปลง III.   การมีโครงสร้างพืน :  ฐานสนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 3.3  ระบบสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล      ควรปรับปรุงฐานข้อมูลดังกล่าวให้มีความสมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในการจัดทำรายงานสารสนเทศทังในด้านการปฏิบัติการทางด้านบุคคล การวางแผนจัดการภายในองค์กร และการวางแผนกลยุทธ์ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อการดำเนินงาน ขององค์กร 3 . 4  ความปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดล้อม   ,[object Object],[object Object],3 . 5   การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล   ,[object Object],[object Object],คะแนนรวม 2.4544 2.6281
ขอบพระคุณ ติดต่อสอบถาม 02-2985880-9  ต่อ  6709, 6732, 6736

Contenu connexe

Tendances

Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
capercom
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
Radanat Chiachai
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
Saiiew
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
Nithimar Or
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
Saiiew
 

Tendances (10)

025
025025
025
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
0 afcap
0 afcap0 afcap
0 afcap
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงานเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 

En vedette

Collaboration AOT travelmed สคร1ชม
Collaboration AOT travelmed สคร1ชมCollaboration AOT travelmed สคร1ชม
Collaboration AOT travelmed สคร1ชม
Sarawuth Noliam
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
1clickidea
 
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
Kraisee PS
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency training
wat_hr
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
maruay songtanin
 

En vedette (8)

การเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงานการเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงาน
 
Collaboration AOT travelmed สคร1ชม
Collaboration AOT travelmed สคร1ชมCollaboration AOT travelmed สคร1ชม
Collaboration AOT travelmed สคร1ชม
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 
งานบุคคลและนิติการ
งานบุคคลและนิติการงานบุคคลและนิติการ
งานบุคคลและนิติการ
 
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 
"Factors Affecting The Engagement of LINE Customers in Bangkok โดย นายวงศกร ...
"Factors Affecting The Engagement of LINE Customers in Bangkok โดย นายวงศกร  ..."Factors Affecting The Engagement of LINE Customers in Bangkok โดย นายวงศกร  ...
"Factors Affecting The Engagement of LINE Customers in Bangkok โดย นายวงศกร ...
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency training
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 

Similaire à Sepo 54

การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
primpatcha
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
สปสช นครสวรรค์
 

Similaire à Sepo 54 (20)

Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
 
028
028028
028
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
Erc Seminar Pmqa
Erc Seminar PmqaErc Seminar Pmqa
Erc Seminar Pmqa
 

Sepo 54

  • 1. บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ โดย ผู้แทนสำนักกำกับและประเมินผลรัฐวิสาหกิจ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔
  • 2.
  • 3. 1. เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการผลักดันประสิทธิภาพ การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล 2. มุ่งเน้นให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจเป็นผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจให้ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจตอนต้นปี และมีการประเมินผลตอนสิ้นปี โดยเป็นการประเมินผลดำเนินงานของทั้งองค์กร 4. การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายตามบันทึกข้อตกลงฯ จะมุ่งเน้นให้รัฐวิสาหกิจมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงาน และยกระดับการบริหารจัดการให้เทียบเคียงได้กับ Industry Norm หรือมาตรฐานสากล 5. ผลการประเมินจะเชื่อมโยงกับระบบแรงจูงใจ ซึ่งมีทั้งที่เป็น ตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน หลักการของระบบประเมินผลฯ
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ภาพรวม : เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ บนพื้นฐานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล รายแห่ง : เร่งรัดปรับโครงสร้างองค์กรรองรับการควบรวมกิจการกับ อ . ส . ย . เพื่อการส่งเสริมและ สงเคราะห์เกษตรกรสวนยางอย่างเป็นระบบครบวงจร 1. ปรับโครงสร้างการดำเนินงานให้รองรับกับการควบรวมเพื่อเป็นการยางแห่งประเทศไทย 2. ปรับปรุงกระบวนงานให้มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ให้มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง รายสาขา : เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร แนวนโยบายของผู้ถือหุ้นภาครัฐ (SOD)
  • 11.
  • 12.
  • 13. การประเมินผลด้านการบริหารจัดการองค์กร รวม 35 หัวข้อ น้ำหนัก ( ร้อยละ ) 1. บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 6 2. การบริหารความเสี่ยง 7 3. การควบคุมภายใน 4 4. การตรวจสอบภายใน 6 5. การบริหารจัดการสารสนเทศ 6 6. การบริหารทรัพยากรบุคคล 6
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18. แนวทางการประเมินผลฯ ปีบัญชี 2554 ( ต่อ ) แนวทางการสนทนา / อภิปรายกับคณะกรรมการ รส . เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาประเมินผลฯ ปีบัญชี 2554 สรุปได้ดังนี้ รส . นำเสนอวันนัดสนทนา / อภิปรายของกรรมการ รส . ภายในระยะเวลา 1. รัฐวิสาหกิจ ระยะเวลาการเข้า สนทนา / อภิปรายกับกรรมการ รส . รัฐวิสาหกิจ ปีงบประมาณ วันที่ 21 พ . ย . 54 – 15 ธ . ค . 54 รัฐวิสาหกิจ ปีปฏิทิน วันที่ 21 ก . พ . 55 – 15 มี . ค . 55 รัฐวิสาหกิจ ปีพิเศษ สิ้นสุด 31 มี . ค . วันที่ 1 พ . ค . 55 – 15 พ . ค . 55
  • 19. สรุปผลการประเมิน “ บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ระดับคะแนน ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน
  • 20. สรุปผลการประเมิน “ บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ” ประจำปี 2553  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง I. บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ ข องคณะกรรมการ ข้อ 1.1 การกำหนดแผนงาน    คณะกรรมการ สกย . มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง กลยุทธ์ และนโยบายมากกว่า ปีก่อน แต่ยังขาดรายละเอียดของการจัดทำแผนที่ครบถ้วนในบางส่วน ข้อ 1.2 การทบทวนระบบงาน    คณะกรรมการ สกย . มีส่วนร่วมในการทบทวนระบบงานด้าน HR และ IA ที่เร็วกว่าปีก่อน แต่ยังขาดการทบทวนในระบบ Risk IC และ IS ข้อ 1.3 การติดตามผลการดำเนินงาน    คณะกรรมการ สกย . มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ แต่ยังขาดการมอบข้อสังเกตและแนวทางในการแก้ไขปัญหา ข้อ 1.4 การประเมินผู้บริหาร    คณะกรรมการ สกย . มีการประเมินผู้บริหารสูงสุดอย่างเป็นรูปธรรม ข้อ 1.5 การบริหารการประชุม    คณะกรรมการ สกย . มีส่วนร่วมในการประชุมและดำเนินการตามวาระประชุมที่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าครบถ้วนค่อนข้างมาก เช่นเดียวกับปีบัญชี 2552 ข้อ 1.6 การเปิดเผยข้อมูล    มีการเปิดเผยข้อมูลผ่านหน้า Website ลดลงกว่าปีก่อน ข้อ 1.7 การส่งเสริมให้องค์กร มี CG และ CSR    คณะกรรมการ สกย . มีบทบาทในการติดตามการดำเนินงานด้าน CG และ CSR ค่อนข้างน้อย ควรจัดให้มีคณะอนุกรรมการและหน่วยงานด้าน CG รวมถึงการนำเสนอผลการดำเนินงานด้าน CG และ CSR ให้คณะกรรมการพิจารณาอย่างสม่ำเสมอทั้งปี II. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ ข้อ 2.1 การประเมินตนเอง    คณะกรรมการ สกย . มีการประเมินตนเองเช่นเดียวกับปีก่อน ข้อ 2.2 การจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้    สกย . ไม่มีกรรมการชุดใหม่ในปี 2553 แต่มีการจัดให้มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถของคณะกรรมการมากขึ้นกว่าปีก่อน คะแนนรวม 2.3048 2.4916
  • 21. การบริหารความเสี่ยงที่ดีตามองค์ประกอบหลักของ COSO ERM และ เกณฑ์การพิจารณาอื่น ที่มีความสำคัญ การบริหารความเสี่ยง ระดับ 1 - 3 ส่วนที่ 1 : ระดับ ผ่านการประเมิน ระดับที่ 3 เกณฑ์เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนระบบการบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับ 4 - 5 ส่วนที่ 2 : คะแนนถ่วงน้ำหนัก Linkage between risk and policy Revise Culture Value Enhancement Incentive Risk Result Value Creation IT&ITG Portfolio View of Risk GRC
  • 22.
  • 23. สรุปผลการประเมิน “ การบริหารความเสี่ยง ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน ระดับคะแนน
  • 24.
  • 25.
  • 26. สรุปผลการประเมิน “ การควบคุมภายใน ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินการควบคุมภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการควบคุมภายใน ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน ระดับคะแนน
  • 27.
  • 28. การตรวจสอบภายใน เกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน น้ำหนัก ( ร้อยละ ) ปี 2553 ปี 2554 แนวทางปฏิบัติด้านองค์กร 40.00 40.00 1 บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบภายใน 8.00 8.00 2 ความเป็นอิสระ 8.00 8.00 3 ความสัมพันธ์ของคณะกรรมการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี 8.00 8.00 4 ความสัมพันธ์ของหน่วยตรวจสอบภายในกับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และองค์กรกำกับดูแลอื่น 8.00 8.00 5 บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม 8.00 8.00 แนวทางปฏิบัติด้านปฏิบัติงาน 60.00 60.00 6 การวางแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ระยะยาว 12.00 10.00 7 การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ 12.00 1 4 .00 8 การรายงานและการปิดการตรวจสอบ 12.00 12.00 9 ความมั่นใจในคุณภาพ 9.00 9.00 10 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ 15.00 15.00 น้ำหนักรวม 100 100
  • 29. หลักเกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน ปีบัญชี 255 4 แนวทางปฏิบัติ ด้านองค์กร (40%) แนวทางปฏิบัติ ด้านการ ปฏิบัติงาน (60%) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ (15%) ความเป็นอิสระ (8%) คสพ . ของ A/C กับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี (8 %) บทบาทและ ความรับผิดชอบ (8%) คสพ . ของหน่วยตรวจสอบภายในกับผู้บริหาร และผู้สอบบัญชี (8%) การวางแผน เชิงกลยุทธ์ (10%) การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ (14%) การรายงาน และการปิดการตรวจสอบ (12%) ความมั่นใจในคุณภาพ (9%) บุคลากร การพัฒนาและ การฝึกอบรม ( 8%)
  • 30. สรุปผลการประเมิน “ การตรวจสอบภายใน ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน ระดับคะแนน
  • 31.
  • 32. ในการประเมินการบริหารการจัดการสารสนเทศประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ส่วนที่ 1 : การประเมินแผนแม่บทสารสนเทศ (IT Master Plan) ( น้ำหนักร้อยละ 10) ส่วนที่ 2 : การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ( น้ำหนัก ร้อยละ 90) โดยมีการวิเคราะห์หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ 2.1 ถึง 2.6 ดังนี้ 2.1 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ 2.2 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง 2.3 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 2.4 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.5 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร และประชาชน รวมถึงนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล 2.6 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายในองค์กร การบริหารจัดการสารสนเทศ วิธีการประเมิน การบริหารจัดการสารสนเทศ
  • 33. ส่วนที่ 1 : การประเมินแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวคูณ (Multiplier) : คำนวณจากระดับคะแนนที่ได้ของ ส่วนที่ 1 ( การประเมินแผนแม่บท ) โดยมีค่าระหว่าง 0.2 ถึง 1 เพื่อสะท้อนตามคุณภาพของแผนแม่บทฯ ส่วนที่ 2 : การประเมินความเพียงพอของระบบ หรือแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม โดยมีการวิเคราะห์โครงการ หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ 2.1 ถึง 2.6  คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศเบื้องต้น น้ำหนัก ร้อยละ 10 การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ถ้าผล IS ปี 5 4 < 3.00 ถ้าผล IS ปี 5 4 >= 3.00 พิจารณา Improvement การส่งข้อมูลผ่านระบบ GFMIS-SOE คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 90 A B C
  • 34. คะแนนของการบริหารจัดการสารสนเทศ คะแนนเบื้องต้นจากการประเมินของส่วนที่ 2 จะนำมาคูณกับ ตัวคูณ (Multiplier ) โดยการกำหนดตัวคูณมีหลักเกณฑ์ดังนี้ * ในกรณีที่ไม่มีแผนแม่บทสารสนเทศ (IT Master Plan) หรือ กรอบระยะเวลาในการดำเนินงานของแผนแม่บทหรือแผนปฏิบัติการไม่ชัดเจน >> จะได้คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ เป็น “ ระดับ 1” << การบริหารจัดการสารสนเทศ วิธีการประเมิน รส . ที่ประเมินการบริหารจัดการฯ ตั้งแต่ ระดับคะแนนของส่วนที่ 1 1 2 3 4 4.5 ปี 47-52 ตัวคูณ (Multiplier) 0.2 0.5 0.7 0.9 1.0 หมายเหตุ : หากไม่มีการทบทวนแผนแม่บท จะถูกหักคะแนนร้อยละ 20 จากคะแนนประเมินสุดท้าย ปี 53 ตัวคูณ (Multiplier) 0.2 0.6 0.8 0.9 1.0 หมายเหตุ : หากไม่มีการทบทวนแผนแม่บท จะถูกหักคะแนนร้อยละ 20 จากคะแนนประเมินสุดท้าย ปี 54 ตัวคูณ (Multiplier) 0.2 0.6 0.8 0.9 1.0 A
  • 35.
  • 36. สรุปผลการประเมิน “ การบริหารจัดการสารสนเทศ ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน ระดับคะแนน
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40. สรุปผลการประเมิน “ การบริหารทรัพยากรบุคคล ” ประจำปี 255 3 ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของ สกย . ประจำปี 2552-2553 ระดับคะแนน ระดับคะแนน
  • 41.
  • 42.