SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
02-590-1723 Fax : 02-590-1784
                                                                         สถานการณ์ ณ วันที่ 7 กันยายน 2554
            สถานการณ์ฉบับถัดไปจะเผยแพร่ทุกวันพุธของสัปดาห์ ฉบับต่อไป วันที่ 14 กันยายน 2554

          จากการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (pH1N1) ที่มีการระบาดไปทั่วโลกโดยสํานักระบาด
วิทยา ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2552 สํานักระบาดวิทยาได้จัดทํารายงานการเฝ้าระวังสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
ใหม่ทุกสัปดาห์ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2553 องค์การอนามัยโลกได้ลดระดับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ลงเป็นระยะหลังการระบาดใหญ่
          ดังนั้นสํานักระบาดวิทยาจึงได้ปรับเปลี่ยนการรายงานจากการเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A
(pH1N1) เป็นการเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่โดยรวมเพื่อให้การเฝ้าระวังโรคมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้จัดทํารายงานการ
เฝ้าระวังสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่ในช่วงนี้ทุกสัปดาห์เพื่อเฝ้าระวังแนวโน้มของไข้หวัดใหญ่ และนําข้อมูลในรายงานนี้เป็น
ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการเตือนภัย ขอให้พิจารณาก่อนนําไปใช้อ้างอิง

I. สถานการณ์โรคในประเทศไทย
           วันที่ 28 สิงหาคม - 3 กันยายน 2554 สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ได้รับรายงานจากสํานักงาน-
สาธารณสุขจังหวัด สํานักงานป้องกันควบคุมโรค โรงพยาบาล สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร และกรมวิทยาศาสตร์-
การแพทย์ สถานการณ์โดยรวมสรุปได้ดังนี้
           สถานการณ์ในภาพรวมพบว่า สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและ
จํานวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามฤดูกาล นอกจากนี้พบว่า จํานวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มสูงกว่า
ค่ามัธยฐาน 3 ปี (2551-2553) (รูปที่ 1) จังหวัดที่มีสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่มากกว่าร้อยละ 10 ของ
จํานวนผู้ป่วยนอกในสัปดาห์นี้มี 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดศรีสะเกษ อุทัยธานี สมุทรสาคร บุรีรัมย์ และฉะเชิงเทรา ใน
สัปดาห์น้ีพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3)และชนิด B ในกลุ่มผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (Influenza like
illness, ILI) และเชื้อชนิด B ในกลุ่มผู้ปวยปอดอักเสบ (Pneumonia) จากจุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ โดยเชื้อไวรัสไข้หวัด
                                        ่
ใหญ่ที่พบเป็นสาเหตุการระบาดมากที่สุดในช่วงนี้เป็นชนิด A (H3) มีรายงานการระบาด จํานวน 2 เหตุการณ์ จากเชื้อ
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A สายพันธุ์ปกติ และชนิด A (H3) และผู้เสียชีวิต 1 ราย จากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3)
ดังนั้น
           มาตรการการดําเนินงานเฝ้าระวังโรคและควบคุมป้องกันโรคในช่วงนี้ ได้แก่
           • เร่งรัดการรายงานผู้ปวยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ภายใต้การเฝ้าระวัง รง. 506
                                 ่
           • เสริมสร้างความเข้มแข็งและขยายเครือข่ายการรายงานการระบาดโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน
เบื้องต้น ให้มีความรวดเร็วขึ้น
           • ประชาสัมพันธ์แก่สาธารณะ กรณีที่มีการจัดกิจกรรมที่มีการรวมคนมาก ๆ หรือหนาแน่น ให้มีการการคัด
กรองผู้ป่วยและแยกผู้ป่วย เฝ้าระวังการแพร่กระจายจากผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่หรือไข้หวัดใหญ่ โดยเน้นการใช้
หน้ากากอนามัย ตลอดจนการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ให้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล และเมื่อมีอาการ
ป่วยให้รบไปพบแพทย์
         ี
1. การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ (รง 506) (National Disease Surveillance, R506)
        จํานวนผู้ปวยไข้หวัดใหญ่ สะสมตั้งแต่ 1 มกราคม – 3 กันยายน 2554 ทั้งสิ้น 28,540 ราย ผลการตรวจทาง
                   ่
ห้องปฏิบัติการพบเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ตาง ๆ ดังนี้ ไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (2009H1N1) 1,246 ราย, ชนิด A ไม่ระบุ
                                          ่
สายพันธุ์ 1,553 ราย, ชนิด B 280 ราย, ชนิด A (H1) 69 ราย, ชนิด A (H3) 29 ราย และไม่มีผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ 25,363 ราย
        จํานวนผู้เสียชีวิตสะสม 7 ราย เป็นผู้เสียชีวิตตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (2009H1N1) 6 ราย และ A
(H3) 1 ราย
     จํานวนผูปวย
                                                                                                                                                                   จํานวนผูเสียชีวิต
     10000                                                                                                                                                                        10


      9000                                                                                                                                                                        9


      8000                                                                                                                                                                        8
                                                                                                                                 death (2009 H1N1)
                                                                                                                                 death
      7000                                                                                                                                                                        7
                                                                                                                                 influenza
                                                                                                                                 Median (2551-2553)
      6000                                                                                                                                                                        6


      5000                                                                                                                                                                        5


      4000                                                                                                                                                                        4


      3000                                                                                                                                                                        3


      2000                                                                                                                                                                        2


      1000                                                                                                                                                                        1


         0                                                                                                                                                                        0
             1   2   3   4   5   6   7   8   9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52
                                                                                       สัปดาหเริ่มปวย


รูปที่ 1 จํานวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ (รง506 ) เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 3 ปี (2551-2553) และ จํานวนผู้เสียชีวิตโรคไข้หวัดใหญ่
 จําแนกรายสัปดาห์ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554
2. การเฝ้าระวังกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล (Influenza Like Illness Surveillance)
        จากการเฝ้าระวังผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในแผนกผู้ป่วยนอกในภาพรวม พบว่าแนวโน้มสัดส่วนผู้ป่วย
จากการเฝ้าระวังผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในแผนกผู้ปวยนอกในภาพรวม พบว่าแนวโน้มสัดส่วนผู้ปวยอาการคล้าย
                                                      ่                                       ่
ไข้หวัดใหญ่ของประเทศเพิ่มสูงขึ้นตามฤดูกาล (รูปที่ 2) และเพิ่มขึ้นทุกภาคของประเทศ โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนผู้ป่วย
อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่มากกว่าร้อยละ 10 ของจํานวนผู้ป่วยนอกในสัปดาห์นี้มีจํานวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
อุทัยธานี สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา บุรรมย์ และศรีสะเกษ (รูปที่ 3)
                                  ีั




        รูปที่ 2 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จากสถานพยาบาล ทั่วประเทศไทย
                                                                           2 มกราคม – 3 กันยายน 2554
สัปดาหที่ 32          สัปดาหที่ 33           สัปดาหที่ 34            สัปดาหที่ 35




                     รูปที่ 3 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่รายจังหวัด สัปดาห์ที่ 32-35 ประเทศไทย ปี พ.ศ.2554
3. การเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ (Sentinel Surveillance)
        จากความร่วมมือของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสํานักระบาดวิทยา
ดําเนินการเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่แผนกผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยปอดอักเสบที่รับไว้ในโรงพยาบาล
ใน 9 จังหวัดทั่วประเทศ สัปดาห์ที่ 34 (วันที่ 21-27 สิงหาคม พ.ศ. 2554) ได้รับตัวอย่างจากจุดเฝ้าระวัง 11 แห่ง ผล
การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จํานวนตัวอย่างที่ตรวจพบสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จําแนกตามสายพันธุ์และพื้นที่สัปดาห์ที่ 35 ระหว่างวันที่
          28 สิงหาคม – 3 กันยายน 2554

                                      OPD                                                     IPD
 ภูมิภาค
                          A 2009                                                     A 2009
           ทั้งหมด                    A H1       A H3        Flu B   ทั้งหมด                  A H1            A H3   Flu B
                            H1                                                         H1

  กลาง       23               0        0           7          2         7              0       0               0      1

  เหนือ      29               0        0          12          5         1              0       0               0      0
 ตอ./น.      11               0        0           5          0         -              -       -               -       -
   ใต       12               0        0           2          1         -              -       -               -       -
  รวม        75               0        0          26          8         8              0       0               0      1



4. รายงานการระบาดและผูเสียชีวิต้
         มีรายงานการระบาดจํานวน 2 เหตุการณ์ และผู้เสียชีวิต 1 ราย รายละเอียดดังนี้
         จังหวัดเชียงใหม่ การระบาดในโรงเรียนแห่งหนึ่ง วันที่ 26 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่จํานวน 78
ราย เป็นนักเรียน 74 ราย (อัตราป่วยร้อยละ 23.13) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียนประจํา เป็นครู 4 ราย (อัตราป่วยร้อยละ
10) ไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ส่วนใหญ่มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ คอแดง ตาแดง บางรายปวดเมื่อยเนื้อตัว ได้รับยา
Tamiful จํานวน 20 ราย รายแรกเป็นนักเรียนเริ่มป่วยวันที่ 24 สิงหาคม 2554 เก็บตัวอย่าง throat swab จํานวน
10 ราย ผลพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A สายพันธุ์ปกติ จํานวน 7 ตัวอย่าง ปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดการแพร่ระบาด
ได้แก่ การที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจํานวนมาก นอนรวมกันห้องละ 40-50 คน การใช้ของใช้ร่วมกัน ตลอดจนการสื่อสารให้
ความรู้ในการควบคุมป้องกันทําได้ยาก การควบคุมป้องกันได้มีการให้สุขศึกษา ตรวจคัดกรองเด็กที่มีอาการป่วยทุกวัน
และแยกเด็กที่มีอาการป่วย
          กรณีเสียชีวิต เป็นหญิงอายุ 57 ปี ปฏิเสธโรคประจําตัวแต่เคยตรวจพบน้ําตาลในเลือดสูง 3 ครั้ง แต่ปฏิเสธ
การรักษา เริ่มมีอาการไข้ ไอ เหนื่อย วันที่ 23 สิงหาคม 2554 ไปรับการรักษาที่คลินิก อาการไม่ดีขึ้นเข้ารับการรักษาที่
โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในวันที่ 26 สิงหาคม 2554 ผลเอ็กซเรย์ปอดมี slight thickening of marking in right
lung base ต่อมาอาการทรุดลงได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจวันที่ 28 สิงหาคม 2554 และเสียชีวิตวันที่ 29 สิงหาคม
2554 เก็บตัวอย่าง Nasopharyngeal swab ส่งตรวจ PCR พบสารพันธุ์กรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H3)
 จังหวัดนครราชสีมา
         การระบาดในกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมศูนย์แห่งหนึ่ง กองร้อยอาสารักษาดินแดน หลักสูตร 10 วัน ระหว่างวันที่
17-28 สิงหาคม 2554 ตําบลจอหอ อําเภอเมือง ในวันที่ 24 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จํานวน 72 ราย คิด
เป็นอัตราป่วยร้อยละ 29 เข้ารักษาเป็นผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จํานวน 6 ราย รายแรกเริ่มป่วย
วันที่ 15 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยมากที่สุดจํานวน 22 ราย ในวันที่ 21 สิงหาคม 2554 ได้เก็บตัวอย่าง throat swab
จํานวน 5 ราย ผลพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H3) จํานวน 3 ราย จากการสอบสวนพบว่า ที่พักมีสภาพแออัดและ
อากาศถ่ายเทไม่สะดวกเนื่องจากมีการปิดหน้าต่างในบางวันที่ฝนตก ไม่มีการแยกผู้ป่วยอย่างชัดเจน มีการใช้ของใช้
ร่วมกัน และอ่างล้างมือมีน้อย การควบคุมโรคได้มีการให้สุขศึกษา แยกผู้ที่มีอาการป่วยและให้สวมหน้ากากอนามัย
จัดหาเจลแอลกอฮอล์สําหรับล้างมือ และติดตามเฝ้าระวังในชุมชนเมื่อผู้เข้ารับการอบรมกลับภูมิลําเนาตลอดจน
เสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดระบบคัดกรองผู้ป่วยตั้งแต่ก่อนเข้ารับการอบรมในรุ่นต่อไป ให้คําแนะนําเรื่องการ
ปรับปรุงสถานที่ ให้มีจํานวนคนเข้ารับการอบรมพอเหมาะกับสถานที่ และจัดเตรียมของใช้ส่วนตัวของผู้เข้ารับการ
อบรมให้เพียงพอ

Contenu connexe

Plus de sivapong klongpanich

แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54sivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังsivapong klongpanich
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศsivapong klongpanich
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทอง
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทองอิฐก้อนแรก โกมล คีมทอง
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทองsivapong klongpanich
 

Plus de sivapong klongpanich (13)

EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
 
แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.
 
Flu redcross01
Flu redcross01Flu redcross01
Flu redcross01
 
Data l3 100
Data l3 100Data l3 100
Data l3 100
 
Poster h1n1 03
Poster h1n1 03Poster h1n1 03
Poster h1n1 03
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทอง
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทองอิฐก้อนแรก โกมล คีมทอง
อิฐก้อนแรก โกมล คีมทอง
 

การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่

  • 1. 02-590-1723 Fax : 02-590-1784 สถานการณ์ ณ วันที่ 7 กันยายน 2554 สถานการณ์ฉบับถัดไปจะเผยแพร่ทุกวันพุธของสัปดาห์ ฉบับต่อไป วันที่ 14 กันยายน 2554 จากการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (pH1N1) ที่มีการระบาดไปทั่วโลกโดยสํานักระบาด วิทยา ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2552 สํานักระบาดวิทยาได้จัดทํารายงานการเฝ้าระวังสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ ใหม่ทุกสัปดาห์ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2553 องค์การอนามัยโลกได้ลดระดับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ลงเป็นระยะหลังการระบาดใหญ่ ดังนั้นสํานักระบาดวิทยาจึงได้ปรับเปลี่ยนการรายงานจากการเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (pH1N1) เป็นการเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่โดยรวมเพื่อให้การเฝ้าระวังโรคมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้จัดทํารายงานการ เฝ้าระวังสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่ในช่วงนี้ทุกสัปดาห์เพื่อเฝ้าระวังแนวโน้มของไข้หวัดใหญ่ และนําข้อมูลในรายงานนี้เป็น ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการเตือนภัย ขอให้พิจารณาก่อนนําไปใช้อ้างอิง I. สถานการณ์โรคในประเทศไทย วันที่ 28 สิงหาคม - 3 กันยายน 2554 สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ได้รับรายงานจากสํานักงาน- สาธารณสุขจังหวัด สํานักงานป้องกันควบคุมโรค โรงพยาบาล สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร และกรมวิทยาศาสตร์- การแพทย์ สถานการณ์โดยรวมสรุปได้ดังนี้ สถานการณ์ในภาพรวมพบว่า สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและ จํานวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามฤดูกาล นอกจากนี้พบว่า จํานวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มสูงกว่า ค่ามัธยฐาน 3 ปี (2551-2553) (รูปที่ 1) จังหวัดที่มีสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่มากกว่าร้อยละ 10 ของ จํานวนผู้ป่วยนอกในสัปดาห์นี้มี 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดศรีสะเกษ อุทัยธานี สมุทรสาคร บุรีรัมย์ และฉะเชิงเทรา ใน สัปดาห์น้ีพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3)และชนิด B ในกลุ่มผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (Influenza like illness, ILI) และเชื้อชนิด B ในกลุ่มผู้ปวยปอดอักเสบ (Pneumonia) จากจุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ โดยเชื้อไวรัสไข้หวัด ่ ใหญ่ที่พบเป็นสาเหตุการระบาดมากที่สุดในช่วงนี้เป็นชนิด A (H3) มีรายงานการระบาด จํานวน 2 เหตุการณ์ จากเชื้อ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A สายพันธุ์ปกติ และชนิด A (H3) และผู้เสียชีวิต 1 ราย จากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3) ดังนั้น มาตรการการดําเนินงานเฝ้าระวังโรคและควบคุมป้องกันโรคในช่วงนี้ ได้แก่ • เร่งรัดการรายงานผู้ปวยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ภายใต้การเฝ้าระวัง รง. 506 ่ • เสริมสร้างความเข้มแข็งและขยายเครือข่ายการรายงานการระบาดโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน เบื้องต้น ให้มีความรวดเร็วขึ้น • ประชาสัมพันธ์แก่สาธารณะ กรณีที่มีการจัดกิจกรรมที่มีการรวมคนมาก ๆ หรือหนาแน่น ให้มีการการคัด กรองผู้ป่วยและแยกผู้ป่วย เฝ้าระวังการแพร่กระจายจากผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่หรือไข้หวัดใหญ่ โดยเน้นการใช้ หน้ากากอนามัย ตลอดจนการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ให้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล และเมื่อมีอาการ ป่วยให้รบไปพบแพทย์ ี
  • 2. 1. การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ (รง 506) (National Disease Surveillance, R506) จํานวนผู้ปวยไข้หวัดใหญ่ สะสมตั้งแต่ 1 มกราคม – 3 กันยายน 2554 ทั้งสิ้น 28,540 ราย ผลการตรวจทาง ่ ห้องปฏิบัติการพบเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ตาง ๆ ดังนี้ ไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (2009H1N1) 1,246 ราย, ชนิด A ไม่ระบุ ่ สายพันธุ์ 1,553 ราย, ชนิด B 280 ราย, ชนิด A (H1) 69 ราย, ชนิด A (H3) 29 ราย และไม่มีผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ 25,363 ราย จํานวนผู้เสียชีวิตสะสม 7 ราย เป็นผู้เสียชีวิตตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (2009H1N1) 6 ราย และ A (H3) 1 ราย จํานวนผูปวย จํานวนผูเสียชีวิต 10000 10 9000 9 8000 8 death (2009 H1N1) death 7000 7 influenza Median (2551-2553) 6000 6 5000 5 4000 4 3000 3 2000 2 1000 1 0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 สัปดาหเริ่มปวย รูปที่ 1 จํานวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ (รง506 ) เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 3 ปี (2551-2553) และ จํานวนผู้เสียชีวิตโรคไข้หวัดใหญ่ จําแนกรายสัปดาห์ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 2. การเฝ้าระวังกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล (Influenza Like Illness Surveillance) จากการเฝ้าระวังผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในแผนกผู้ป่วยนอกในภาพรวม พบว่าแนวโน้มสัดส่วนผู้ป่วย จากการเฝ้าระวังผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ในแผนกผู้ปวยนอกในภาพรวม พบว่าแนวโน้มสัดส่วนผู้ปวยอาการคล้าย ่ ่ ไข้หวัดใหญ่ของประเทศเพิ่มสูงขึ้นตามฤดูกาล (รูปที่ 2) และเพิ่มขึ้นทุกภาคของประเทศ โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนผู้ป่วย อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่มากกว่าร้อยละ 10 ของจํานวนผู้ป่วยนอกในสัปดาห์นี้มีจํานวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด อุทัยธานี สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา บุรรมย์ และศรีสะเกษ (รูปที่ 3) ีั รูปที่ 2 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จากสถานพยาบาล ทั่วประเทศไทย 2 มกราคม – 3 กันยายน 2554
  • 3. สัปดาหที่ 32 สัปดาหที่ 33 สัปดาหที่ 34 สัปดาหที่ 35 รูปที่ 3 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่รายจังหวัด สัปดาห์ที่ 32-35 ประเทศไทย ปี พ.ศ.2554 3. การเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ (Sentinel Surveillance) จากความร่วมมือของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสํานักระบาดวิทยา ดําเนินการเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่แผนกผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยปอดอักเสบที่รับไว้ในโรงพยาบาล ใน 9 จังหวัดทั่วประเทศ สัปดาห์ที่ 34 (วันที่ 21-27 สิงหาคม พ.ศ. 2554) ได้รับตัวอย่างจากจุดเฝ้าระวัง 11 แห่ง ผล การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จํานวนตัวอย่างที่ตรวจพบสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จําแนกตามสายพันธุ์และพื้นที่สัปดาห์ที่ 35 ระหว่างวันที่ 28 สิงหาคม – 3 กันยายน 2554 OPD IPD ภูมิภาค A 2009 A 2009 ทั้งหมด A H1 A H3 Flu B ทั้งหมด A H1 A H3 Flu B H1 H1 กลาง 23 0 0 7 2 7 0 0 0 1 เหนือ 29 0 0 12 5 1 0 0 0 0 ตอ./น. 11 0 0 5 0 - - - - - ใต 12 0 0 2 1 - - - - - รวม 75 0 0 26 8 8 0 0 0 1 4. รายงานการระบาดและผูเสียชีวิต้ มีรายงานการระบาดจํานวน 2 เหตุการณ์ และผู้เสียชีวิต 1 ราย รายละเอียดดังนี้ จังหวัดเชียงใหม่ การระบาดในโรงเรียนแห่งหนึ่ง วันที่ 26 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่จํานวน 78 ราย เป็นนักเรียน 74 ราย (อัตราป่วยร้อยละ 23.13) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียนประจํา เป็นครู 4 ราย (อัตราป่วยร้อยละ 10) ไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ส่วนใหญ่มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ คอแดง ตาแดง บางรายปวดเมื่อยเนื้อตัว ได้รับยา Tamiful จํานวน 20 ราย รายแรกเป็นนักเรียนเริ่มป่วยวันที่ 24 สิงหาคม 2554 เก็บตัวอย่าง throat swab จํานวน 10 ราย ผลพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A สายพันธุ์ปกติ จํานวน 7 ตัวอย่าง ปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดการแพร่ระบาด ได้แก่ การที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจํานวนมาก นอนรวมกันห้องละ 40-50 คน การใช้ของใช้ร่วมกัน ตลอดจนการสื่อสารให้
  • 4. ความรู้ในการควบคุมป้องกันทําได้ยาก การควบคุมป้องกันได้มีการให้สุขศึกษา ตรวจคัดกรองเด็กที่มีอาการป่วยทุกวัน และแยกเด็กที่มีอาการป่วย กรณีเสียชีวิต เป็นหญิงอายุ 57 ปี ปฏิเสธโรคประจําตัวแต่เคยตรวจพบน้ําตาลในเลือดสูง 3 ครั้ง แต่ปฏิเสธ การรักษา เริ่มมีอาการไข้ ไอ เหนื่อย วันที่ 23 สิงหาคม 2554 ไปรับการรักษาที่คลินิก อาการไม่ดีขึ้นเข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในวันที่ 26 สิงหาคม 2554 ผลเอ็กซเรย์ปอดมี slight thickening of marking in right lung base ต่อมาอาการทรุดลงได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจวันที่ 28 สิงหาคม 2554 และเสียชีวิตวันที่ 29 สิงหาคม 2554 เก็บตัวอย่าง Nasopharyngeal swab ส่งตรวจ PCR พบสารพันธุ์กรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H3) จังหวัดนครราชสีมา การระบาดในกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมศูนย์แห่งหนึ่ง กองร้อยอาสารักษาดินแดน หลักสูตร 10 วัน ระหว่างวันที่ 17-28 สิงหาคม 2554 ตําบลจอหอ อําเภอเมือง ในวันที่ 24 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จํานวน 72 ราย คิด เป็นอัตราป่วยร้อยละ 29 เข้ารักษาเป็นผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จํานวน 6 ราย รายแรกเริ่มป่วย วันที่ 15 สิงหาคม 2554 พบผู้ป่วยมากที่สุดจํานวน 22 ราย ในวันที่ 21 สิงหาคม 2554 ได้เก็บตัวอย่าง throat swab จํานวน 5 ราย ผลพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H3) จํานวน 3 ราย จากการสอบสวนพบว่า ที่พักมีสภาพแออัดและ อากาศถ่ายเทไม่สะดวกเนื่องจากมีการปิดหน้าต่างในบางวันที่ฝนตก ไม่มีการแยกผู้ป่วยอย่างชัดเจน มีการใช้ของใช้ ร่วมกัน และอ่างล้างมือมีน้อย การควบคุมโรคได้มีการให้สุขศึกษา แยกผู้ที่มีอาการป่วยและให้สวมหน้ากากอนามัย จัดหาเจลแอลกอฮอล์สําหรับล้างมือ และติดตามเฝ้าระวังในชุมชนเมื่อผู้เข้ารับการอบรมกลับภูมิลําเนาตลอดจน เสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดระบบคัดกรองผู้ป่วยตั้งแต่ก่อนเข้ารับการอบรมในรุ่นต่อไป ให้คําแนะนําเรื่องการ ปรับปรุงสถานที่ ให้มีจํานวนคนเข้ารับการอบรมพอเหมาะกับสถานที่ และจัดเตรียมของใช้ส่วนตัวของผู้เข้ารับการ อบรมให้เพียงพอ