SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆ
 ในสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆ ในสมัยสุโขทัย

อาณาจักรล้านนา
        ในปี พ.ศ. 1839 พญามังราย(พ.ศ. 1804 - 1854) ได้มีคาสั่งให้สร้าง
เมืองใหม่ขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า นภบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (เชียงใหม่)เพื่อที่จะเป็น
เมืองหลวงแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา ครั้งนั้นพ่อขุนรามคาแหง-มหาราช
และพญางาเมือง ได้เสด็จมาช่วยด้วย
อาณาจักรนครศรีธรรมราช
      สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเริ่ ม ในสมั ย พ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราช ซึ่ ง เป็ น
ลักษณะขยายอิทธิพลลงไปปกครองในฐานะเมืองประเทศราช และได้โปรด
ให้นิมนต์พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวารลัทธิลังกาวงศ์จากเมือง
นครศรีธรรมราชมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ สุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ประดิษฐานอย่างมั่นคงในสุโขทัยนับแต่นั้นมา
อาณาจักรลังกา
          สมเด็จ พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุ นีนัดดาของพ่อขุนผาเมือง
ในศิลาจารึกสุโขทัยกล่าวว่าเคยเสด็จไปลังกา แล้วกลับมาสร้างพระธาตุ
ตามเมืองต่างๆรวมทั้งบูรณะวัดวาอารามต่างๆ
          ความสัมพันธ์กับลังกาโดยผ่านเมืองสาคัญ คือ นครศรีธรรมราชทาให้
เกิดสิ่งก่อสร้างใหญ่ๆ เช่น พระอัฎฐารศ และพระสถูปทรงลังกา รวมถึงการ
สร้างเจดีย์ช้างล้อม
การสร้างพระบรมธาตุขึ้นกลางเมืองสุโขทัย คงอยู่ราวสมัยของ
พ่อขุนศรีนาวนาถม เนื่องจากในจารึกหลักที่ 2 ระบุว่า พระองค์ได้สร้าง
พระธาตุขึ้นที่ สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และสระหลวงสองแคว

        การสร้างพระพุทธบาท เขาพระบาทใหญ่ สมัยพระมหาธรรมราชาลิไท
โปรดให้ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทตามเมืองสาคัญ 4 เมือง ที่เขา
พระบาทใหญ่ หรือเขาสุมนกูฏ ตามศิลาจารึกกล่าวว่า พระองค์โปรดให้
ไปจาลองมาจากเขาสุมนกูฏ เมืองลังกา แต่ที่เห็นชัดเจนคือ มีลักษณะทาง
ศิลปะคล้ายคลึงกับที่พุกาม (รวมถึงสัญลักษณ์มงคล 108) ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า
ทรงให้ไปคัดลอกจากเมืองพุกาม
จักรวรรดิมองโกล
         กองทั พ จั ก รวรรดิ ม องโกลแผ่ แ สนยานุ ภ าพโดดเด่ น ที่ สุ ด เป็ น ช่ ว ง
  เดียวกับการตั้งกรุงสุโขทัย ในปี พ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257) ซึ่งเป็นอาณาจักร
  ของตนอย่ า งแท้ จ ริ ง เป็ น ครั้ ง แรก หลั ก ฐานส าคั ญ ในมิ ไ ด้ บั ง คั บ ให้
  เป็ น ไปตามนี้ ซึ่ ง จะเห็ น ได้ ว่ า พ่ อ ขุ น รามค าแหงก็ มิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต ามแต่
  ประการใด พงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 18 กุบไลข่านได้ส่งคณะทูต
  ชุ ด ที่ ส า ม ม า สุ โ ข ทั ย โ ด ย ไ ด้ อั ญ เ ชิ ญ พ ร ะ บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร ใ ห้
  พ่อขุนรามคาแหงเสด็จไปเฝ้า หากมีเหตุขัดข้องให้ส่งโอรสหรือพระอนุชา
  และอามาตย์ผู้ใหญ่เป็นตัวประกัน ซึ่งปรากฏว่าพ่อขุนรามคาแหงก็มิได้
  ปฏิบัติตาม แต่ส่งคณะทูตนาเครื่องราชบรรณาการไปแทน
อาณาจักรอยุธยา
         หลั ง จากมี ก ารก่ อ ตั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แรกนั้ น สุ โ ขทั ย และอยุ ธ ยา
  ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไมตรี ต่ อ กั น แต่ ด้ ว ยชั ย ภู มิ ที่ เ หมาะสมกว่ า ท าให้ อ ยุ ธ ยา
  เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ประกอบกับปัญหาการเมืองภายในของสุโขทัย
  มิได้เป็นไปโดยสงบ มีการแย่งชิงราชสมบัติกันระหว่าง พระยาบาลเมือง
  พระยาราม ยั ง ผลให้ อ ยุ ธ ยาสบโอกาสเข้ า แทรกแซงกิ จ การภายใน
  ในรั ช กาลนี้ มี ก ารรั บ ไมตรี จ ากอยุ ธ ยาโดยการสมรสระหว่ า งราชวงศ์
  พระร่วง กับราชวงศ์สุพรรณภูมิโดยมีพระราเมศวร ซึ่งต่อมาคือ สมเด็จ-
  พระบรมไตรโลกนาถ
จีน
       เครื่องปั้นดินเผาเคลือบและเครื่องปั้นดินเผาแบบแกร่ง              พบตั้งแต่
สมัยทวารวดี มีทั้งการนาเข้ามาโดยการแลกเปลี่ยนสินค้ากับทางเมืองจีน และ
การน าเอาเทคโนโลยี ใ นการท าเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาน าเข้ า มาสร้ า งเตาผลิ ต เอง
ในประเทศ

          ที่เมืองดงแม่นางเมือง เขตอาเภอบรรพตพิสัย ไม่พบเศษภาชนะดินเผา
แต่พบเศษภาชนะเคลือบแบบลพบุรีและจีน แสดงให้เห็นว่า ความเจริญ
ทางเทคโนโลยีในการผลิตเครื่องปั้นดินเผาเคลือบมีมาก่อนการเกิดเตาในสุโขทัย
และศรีสัชนาลัย นอกจากนี้ยังมีการติดต่อค้าขายกับจีน เศษภาชนะดินเผาเคลือบ
ที่พบเป็นของจีนสมัยราชวงศ์ซ้องลงมา แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
กับจีน ซึ่งนาไปสู่การรับเทคโนโลยีในการทาภาชนะมาใช้ในสมัยต่อมา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
   ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ความสัมพันธ์กับสุโขทัย
                                ความสัมพันธ์กับรัฐที่อยู่ใกล้เคียง
                             สุโขทัย
                มลายู                     ล้ านนา



          ญวน                                       พม่า


                ล้ านช้ าง                มอญ
                             เขมร
ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(อู่ทอง) แห่งกรุงศรีอยุธยาได้ยก
กองทั พ ไปยึ ด เมื อ งชั ย นาทจากอาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ไว้ ไ ด้ ซึ่ ง ตรงกั บ รั ช สมั ย
พระมหาธรรมราชาลิไทแห่งสุโขทัยสุโขทัยได้ส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย
พระเจ้าอู่ทอง เพื่อขอเมืองชัยนาทคืน พระเจ้าอู่ทองจึงคืนเมืองชัยนาทกลับคืน
ให้กับสุโขทัยตามเดิมสุโขทัยจึงต้องยอมรับเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา
          ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอาณาจักรสุโขทัยเกิดการจลาจล
เพราะล้ า นนาเข้ า มาตี เ มื อ งพิ ษ ณุ โ ลกแต่ ตี ไ ม่ ไ ด้ จึ ง ไปตี เ มื อ งก าแพงเพชร
กรุงศรีอยุธยาจึงมาช่วยป้องกันเมืองไว้ได้และพระบรมไตรโลกนาถจึงมาประทับ
อยู่ที่พิษณุโลก และให้พระบรมราชาธิราชที่ 2 ราชโอรสปกครองกรุงศรีอยุธยา
ต่อมาพระบรมไตรโลกนาถเจริญสัมพันธไมตรีกับล้านนาทาให้สงครามยุติและ
สุโขทัยจึงรวมเป็นอาณาจักรเดียวกับกรุงศรีอยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย

•   ประสานประโยชน์
•   เผชิญหน้าทางด้านการทหาร
•   ใช้นโยบายสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
•   สุโขทัยเคยเป็นเมืองประเทศราชของอยุธยา
•   สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ รวมสุโขทัยกับอยุธยาเข้าด้วยกัน
เจดีย์ทรงระฆังคว่าของ
วัดพระศรีสรรเพชญเป็นเจดีย์ศิลปะแบบสุโขทัย
ความสัมพันธ์กับพม่า
พม่ายกทัพมาตีไทยถึง 24 ครั้ง โดยสาเหตุของสงครามส่วนใหญ่มีดังนี้
         1. เกิ ด ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ หั ว เมื อ งชายแดนที่ พ ม่ า ต้ อ งการยึ ด ให้ ไ ด้
เพื่อขยายอานาจมายังอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
         2. ไทยกั บ พม่ า ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี อ านาจเท่ า เที ย มกั น
จนกลายเป็ น คู่ แ ข่ ง ทางการเมื อ งและเศรษฐกิ จ โดยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ด้ า น
สงครามไทยกับพม่าดังนี้
         - สงครามครั้ ง แรกก็ คื อ ศึ ก เชี ย งกราน พ .ศ.2081 ในสมั ย
      พระไชยราชาธิ ร าช กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเสี ย เอกราชครั้ ง แรกแก่ พ ม่ า ในปี
      พ.ศ.2112 ในสมัยพระเจ้ามหินทราธิราช
- สงครามสมเด็ จ พระศรี สุ ริ โ ยทั ย ถู ก พระเจ้ า แปรฟั น คอขาด
บนคอช้า ง เนื่องจากพระองค์ไสช้างไปขวางพระเจ้ าแปร ไม่ให้ ตาม
พระมหาจักรพรรดิทัน
    - สมเด็ จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกู้ เ อกราชของไทยได้ ใ น
ปี พ.ศ.2127 และปี 2135 พระนเรศวรมหาราชทรง ทายุทธหัตถีกับ
พระมหาอุ ปราชของพม่ าจนได้ ชัย ชนะ-ในปี พ .ศ.2310 ไทยเสี ยกรุ ง
ให้พม่าครั้งที่ 2ในสมัยพระเจ้าเอกทัศ
การทายุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
         และพระมหาอุปราชแห่งพม่า
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนา
        ใน พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยุธยาเริ่มขยายอานาจออกไปยังบริเวณที่อยู่
รอบนอก เพื่ อ ความมั่ น คงของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาและในปี พ .ศ.1929 สมเด็ จ
พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1(ขุ น หลวงพะงั่ ว ) ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์
กรุงศรีอยุธยาองค์แรกที่ไปตีเชียงใหม่แต่ไม่สาเร็จ

        หลังสงคราม พ.ศ.1929 แล้วกรุงศรีอยุธยาได้ทาสงครามกับ
        ล้านนาอีกหลายครั้ง สงครามได้ดาเนินไประหว่าง พ.ศ.2003-
        2017 จึงยุติลงและทั้งสองฝ่ายเป็นไมตรีต่อกันพ.ศ.2050
        ล้านนายกทัพไปรุกรานหัวเมืองฝ่ายเหนือของกรุงศรีอยุธยา
        สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 จึงยกทัพไปตีลาปาง
ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพม่าทาสงครามกับจีน
ล้านนาจึงมาพึ่งกรุงศรีอยุธยา ครั้นพม่าทาสงครามกับจีน
เสร็จล้านนาจึงไปเข้ากับพม่าอีก พระนารายณ์มหาราชจึงยก
ทัพมาตีล้านนาได้ ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่

     พ.ศ. 2306 พม่ายกทัพมาตีเชียงใหม่ทาให้เชียงใหม่ต้องขอ
กองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วยแต่ไม่ทัน เชียงใหม่จึงตกเป็น
เมืองประเทศราชของพม่าจนกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า
ความสัมพันธ์กับลาว(ล้านช้าง)
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวเป็นไปได้ด้วยดีกว่าประเทศ
เพื่อนบ้านอื่นๆ ความสัมพันธ์เป็นไปลักษณะ “บ้านพีเมืองน้อง”
                                                     ่
      จุดมุ่งหมายที่ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันคือเพื่อต่อต้าน
พม่า


    พ.ศ.2103 พระมหาจักรพรรดิของไทยและพระไชยเชษฐาธิราช
ของลาวได้ทรงร่วมสร้าง“พระธาตุศรีสองรัก” (ปัจจุบันอยู่ที่อาเภอ
ด่านซ้ายจังหวัดเลย) เพื่อแสดงความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
พระธาตุศรีสองรัก อ.ด่านซ้าย จ.เลย
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรเขมร (ขอม)
ไทยกับเขมรมีความสัมพันธ์กันทั้งด้านวัฒนธรรมและการทา
สงครามกัน ด้านการทาสงครามมีความสัมพันธ์กันดังนี้
          -ไทยกับเขมร ได้เริ่มทาสงครามตั้งแต่สมัยสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทั้งนี้เขมรตกอยู่ภายใต้
การปกครองของไทยหลายครั้ง
          -ในขณะที่ไทยเสียเอกราชหรือมีศึกสงคราม เขมรมัก
จะตั้งตัวเป็นอิสระทาให้เกิดความยุ่งยากแก่ไทย
          -การปกครองของเขมรไทยมั ก ให้ เ จ้ า นายของเขมร
ปกครองกันเอง แต่มักจะเกิดการแย่งชิงราชสมบัติกันอยู่เสมอ
วัฒนธรรมที่อยุธยารับมาจากเขมร

•   ศิลปกรรม
•   ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
•   ภาษา
•   ขนบธรรมเนียมประเพณี
•   การปกครองแบบจตุสดมภ์
•   แนวคิดแบบสมมุติเทพ
พระปรางค์วัดราชบูรณะเป็นสถาปัตยกรรม
 แบบเขมรที่มาเผยแพร่ในกรุงศรีอยุธยา
ความสัมพันธ์กับญวน
• เกิดขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลายเป็นการทาสงครามเพื่อแย่งชิงความเป็น
  ใหญ่เหนือเขมร
• สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ อยุธยาส่งเสริมหนุนหลังพระธรรม
  ราชา(ราชวงศ์เขมร) ญวน ส่งเสริมหนุนหลังนักแก้วฟ้าจอก(ราชวงศ์เขมร
  อีกฝ่ายหนึ่ง)
• ความขัดแย้งในเขมรทาให้อยุธยากับญวนต้องสู้รบกัน ผลัดกันแพ้ ผลัดกัน
  ชนะ จนสิ้นสุดอยุธยา
ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมลายู

                                   มีความสัมพันธ์
เมืองสาคัญ คือ ปัตตานี ไทรบุรี
                                 ทางด้านการค้าต่อกัน
  กลันตัน ตรังกานู มะละกา



   อยุธยาสัมพันธ์กับมลายู         อยุธยาเคยส่งกองทัพ
   ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น           ไปตีมะละกา
ความสัมพันธ์กับจีน
• มีความสัมพันธ์กันในลักษณะของรัฐบรรณาการ
• ชาวจีนเคยมารับราชการในอยุธยา เป็นแรงงานในสาเภา เป็นผู้คิด
  บัญชี
ความสัมพันธ์กับญี่ปุ่น
• เป็นความสัมพันธ์เพื่อประโยชน์ทาง
  ด้านการค้า
• โชกุน อิเอยาสุ ได้ส่งคณะทูต
  ดาบซามูไร ชุดเกราะ มาถวาย
  สมเด็จพระเอกาทศรถ
• เรือสาเภาอยุธยาเข้าไปค้าขายในญี่ปุ่นได้
• สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเกิด
  ความบาดหมางกับทหารอาสาญี่ปุ่น
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมยึดราชสมบัติจากสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
และจับพวกขุนนางไปสาเร็จโทษ รวมทั้งออกญาพระนายไว(ทหารอาสา
ญี่ปุ่น) ยามาดา นางามาสา(ออกญาเสนาภิมุข) ช่วยกระชับความสัมพันธ์
สมัยพระเจ้าปราสาททอง มีชาวญี่ปุ่นก่อการร้ายในกรุงศรีฯ จึงถูกปราบ
อย่างเด็ดขาด
ความสัมพันธ์ของเปอร์เซีย(อิหร่าน)
• เป็นความสัมพันธ์ด้านการค้า
• เข้ามาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถถึงสมัยสมเด็จ
  พระนารายณ์
• เปิดโอกาสให้ชาวเปอร์เซียรับราชการในอยุธยาได้
• เฉกอะหมัดรัตนธิบดีเป็นกรมท่าขวา
• พระยาศรีนวรัตน์ ดูแลการค้าของอยุธยากับเปอร์เซียและ
  อินเดีย
• หลังสมัยสมเด็จพระนารายณ์ไม่มีหลักฐานปรากฏ
ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยา
       กับชาติตะวันตก
ชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยามี
จุดมุ่งหมายที่สาคัญ ได้แก่
-ชาวตะวันตกที่มาติดต่อจะเริ่มด้วยการขอมีไมตรีทางการค้า
สร้างความเข้าใจและปฏิบัติต่อกันโดยสุจริต อยุธยาจึงได้รบ
                                                      ั
ผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านการค้า

-การมีสัมพันธ์ต่อกันทาให้ไทยมีโอกาสรับวิทยาการและ
เทคโนโลยีต่างๆ จากชาติตะวันตกและบุคคลที่มีความรู้
พัฒนาอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาในหลายด้านด้วยกัน ได้แก่
ด้านการแพทย์ ด้านการศึกษา ด้านการก่อสร้าง ด้าน
บุคคลากร
ขบวนแห่พระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
      ไปถวายพระเจ้าหลุยส์ท14แห่งฝรั่งเศส
                          ี่
ความสัมพันธ์กับชาติตะวันตก

              โปรตุเกส



สเปน                          ฮอลันดา

              อยุธยา

   ฝรั่งเศส              อังกฤษ
ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส
• เป็นความสัมพันธ์ด้านการค้า ด้านการเมือง ด้านการทหาร ด้านวัฒนธรรม
• เริ่มเข้ามาสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และให้โปรตุเกสเข้ามาเป็นทหาร
  อาสา และซื้อปืนมาใช้
• มีการทาสัญญาให้ค้าขายและตั้งถิ่นฐานได้
ความสัมพันธ์กับฮอลันดา

• เป็นความสัมพันธ์ทางด้านการค้าและการเมือง
ความสัมพันธ์กับอังกฤษ

• เป็นความสัมพันธ์ทางด้านการค้าและการเมือง



                  ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศส

• เริ่มจากความสัมพันธ์ทางการเมืองก่อน และพัฒนาเป็นความสัมพันธ์ทาง
  การค้าและการเมือง
ความสัมพันธ์กับสเปน

• ส่วนใหญ่เป็นความสัมพันธ์ทางการค้า
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี
1. ความสัมพันธ์กับพม่า
          ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุงธนบุรี จะปรากฎในรูป
ของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็น ฝ่ายตั้งรับการรุกรานของพม่า
หลังจากได้รักเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่วนใหญ่พม่าเป็น
ฝ่ายปราชัย
          ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ.2318 ครั้งนั้น
เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุรสีห์ สองพี่น้องได้ร่วมกัน
ป้องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุดความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่พลเหนือกว่า
จึงตีหักเอาเมืองได้
2.ความสัมพันธ์กับกัมพูชา
        เขมรเคยเป็นประเทศราชของไทยมาแต่สมัยอยุธยา หลังจากกรุงศรี
อยุธยาเสี ยแก่พ ม่าในปี พ.ศ.2310แล้ วพระเจ้าตากสิ นกู้เอกราชได้สาเร็ จ
ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์เขมรไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย
อ้างว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่ใช่เชื้อพระวงศ์พระเจ้าแผ่นดินกรุงศรี
อยุธยา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้พระยาอภัยรณฤทธิ์ (ทองด้วง)
และพระยาอนุชิตราชา (บุญมา) นาทัพไปตีเขมรใน พ.ศ.2312 แต่ไม่สาเร็จ
เพราะเขมรแกล้งปล่อยข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จสวรรคต
พระยาอภัยรณฤทธิ์และพระยาอนุชิตราชาจึงยกทัพกลับ ต่อมาปี พ.ศ.2314
โปรดให้พระยาจักรียกทัพไปตีเขมรอีก และได้เขมรกลับมาเป็นประเทศราช
ของไทย
3. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาว
        ไทยทาสงครามขยายอาณาเขตไปถึงลาว 2 ครั้ง คือ ตีเมืองจาปาศักดิ์
และตีเมืองเวียงจันทร์ครั้งหลัง ไทยได้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมายัง
ไทย โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ล้านนา
         ไทยพยายามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาได้สาเร็จ แต่ไม่สามารถรักษา
ล้านนาไว้ได้ เพราะเมื่อทัพกรุงธนบุรีออกจากล้านนา ทัพพม่าก็เข้ามาคุกคาม
ล้านนาอีก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคงทรงพิจารณาเห็นว่าล้านนาเป็นเมือง
ซึ่งพม่าใช้เป็นฐานทัพเสมอ ทุกครั้งที่พม่ายกทัพมาตีเมืองไทย ทุกครั้งที่พม่ามารบ
ไทย ก็ใช้ล้านนาเป็นคลังเสบียงอาหาร จึงต้องทรงยกทัพไปตีเชียงใหม่ ในปี
พ.ศ. 2317 หลังจากนั้นล้านนาก็เป็นอิสระ โดยมีกรุงธนบุรีคุ้มกันอยู่
มลายู
         หั ว เมื อ งได้ แ ก่ ปั ต ตานี ไทรบุ รี กลั น ตั น และ ตรั ง กานู เคยเป็ น
เมืองขึ้นของไทยมาตลอด เพิ่งมาแยกตัวเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก เมื่อปี
พ.ศ. 2310 ส่วนเมืองปัตตานี และ ไทรบุรี ในตอนต้นสมัยกรุงธนบุรีนั้น ยัง
สวามิภักดิ์อยู่ มาแข็งข้อทีหลัง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตีได้เมือง
นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง แต่มิได้ยกทัพไปตีเมืองมลายู มีแต่คิดอุบายให้
เจ้าพระยานครศรีธรรมราชไปยืมเงินเมืองปัตตานี และไทรบุรี สาหรับที่จะซื้อ
เครื่องศัตราวุธเมืองละ 1,000 ชั่ง เพื่อหยั่งท่าทีพระยาไทรบุรี และ พระยา
ปัตตานี ดูว่าจะทาประการใด แต่ทั้งสองเมืองไม่ยอมให้ขอยืม สมเด็จพระเจ้า
ตากสินก็มิได้ทรงยกทัพไปตี เพราะทรงพิจารณาเห็นว่า ขณะนั้นเป็นการเกิน
กาลังของพระองค์ที่จะยกทัพไปปราบ จึงปล่อยให้หัวเมืองมลายูเป็นอิสระ
ความสัมพันธ์กับจีน
        ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการค้าขายกับจีน ในสมัยกรุงธนบุรี ปรากฎว่ามีสาเภา
ของพ่อค้าจีน เข้ามาติดต่อค้าขายตลอดรัชกาลและทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการ
ทะนุบารุงการค้าขายทางเรือนี้อย่างมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงส่งสาเภา
หลวงออกไปทาการติดต่อค้าขายกับเมื องจีนอยู่เสมอ จึงนับว่าจีนเป็นชาติ ที่
สาคัญที่สุดที่เราติดต่อทางการค้าด้วยในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชที่จะให้จีนยอมรับฐานะและเพื่อให้ไทยได้เปิดค้าขายกับจีน เป็นการฟื้นฟู
เศรษฐกิจและทาให้ฐานะของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมั่นคงขึ้นด้วย
การเมืองระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส
        การค้าขายกับโปรตุเกส ปรากฏในจดหมายเหตุของบาทหลวงฝรั่งเศสซึ่ง
  เข้ามาอยู่ในกรุงธนบุรีครั้งนั้น เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2322 มีเรือแขกมัวร์
  จากเมืองสุรัต ซึ่งขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกส เข้ามาค้าขาย ณ กรุงธนบุรี
  ด้วยและว่าที่ภูเก็ตเวลานั้นมีพวกโปรตุเกสครึ่งชาติอยู่ 2-3 คน อยู่ในความ
  ปกครองของบาทหลวงฟรังซิสแกงของโปรตุเกส จึงแสดงว่า ในสมัยกรุงธนบุรี
  นั้นเราได้มีการติดต่อค้าขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอยู่บ้าง โดยทางเราได้เคย
  ส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยังประเทศอินเดียจนถึงเขตเมืองกัว เมืองสุรัต
  อันเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสอยู่ในครั้งนั้นด้วยเหมือนกัน
การเมืองระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับอังกฤษ
         ในตอนปลายสมั ย กรุ ง ธนบุ รี บรรดาฝรั่ ง ชาติ ต่ า ง ๆ ที่ เ ดิ น ทางเข้ า มา
  ค้าขายในเอเชีย มีการแย่งชิงอานาจกัน ทางการค้าเป็นอันมาก ด้วยเหตุนี้
  อังกฤษจึงมีความประสงค์ที่จะได้สถานที่ตั้งสาหรับทาการค้าขาย แข่งกับ
  พวกฮอลั น ดา ทางด้ า นแหลมมลายู สั ก แห่ ง หนึ่ ง อัง กฤษเห็ น ว่ า เกาะหมาก
  (ปีนัง) มีความเหมาะสม จึงได้พยายามเจรจาเกลี้ยกล่อมกับพระยาไทรบุรี
  ผู้มี อานาจปกครองเกาะนี้อยู่เพื่อจะขอเช่า ในปี พ.ศ. 2319 กะปิตันเหล็ก
  (ฟรานซิสไลท์) เจ้าเมืองเกาะหมาก ได้ส่งปืนนกสับเข้ามาถวายสมเด็จพระเจ้า
  ตากสิน จานวน 1,400 กระบอก พร้อมด้วยสิ่งของเครื่องราชบรรณาการต่างๆ
ความสัมพันธ์กับฮอลันดา
        ปี พ.ศ. 2313 ชาวฮอลันดาจากเมืองปัตตาเวีย (จาการ์ตา) และ พวกแขก
   เมืองตรังกานู ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อถวายปืนคาบ
   ศิลาจานวน 2,200 กระบอก และ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

ความสัมพันธ์กับล้านช้าง
        การที่ได้ล้านช้างมาเป็นประเทศราชเพราะมีการทาสงครามขยายอาณาเขต
  ถึง 2 ครั้ง
        1. ตีเมืองจาปาศักดิ์ พ.ศ. 2319 พระเจ้าตากสิน จึงโปรดให้เจ้าพระยาจักรี
  (ทองด้วง) เป็นแม่ทัพยกไปปราบ เจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพไปช่วย สามารถตี
  เมืองจาปาศักดิ์ได้ พระเจ้าตากสินจึงโปรดให้เจ้าพระยาจักรี(ทองด้วง)
  เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก”
2. พ.ศ. 2321 ไทยตีเมืองเวียงจันทน์
         พระเจ้าตากสินเห็นว่า ลาวได้ละเมิดอธิปไตยของไทย จึงโปรดให้สมเด็จ
  เจ้ า พระยามหากษั ต ริ ย์ ศึ ก ฯ และเจ้ า พระยาสุ ร สี ห์ ฯ ยกทั พ ไป ตี เ มื อ ง
  เวี ย งจั น ทน์ ตี เ มื อ งเวี ย งจั น ทน์ น าน 4 เดื อ นจึ ง ส าเร็ จ ไทยจึ ง ได้ เ มื อ ง
  เวียงจ้นทน์และหลวงพระบาง เป็นประเทศราช เสร็จจากสงครามในครั้งนี้
  สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต มาประดิษฐาน
  ณ วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) หรือวัดพระแก้วในสมัยกรุงธนบุรี
พระแก้วมรกต
เอกสารอ้างอิง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก
(9/6/55)http://culture4queen.exteen.com/20080203/entry-1
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก(9/6/55)
http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/units/unit4/chapter4/chaptor4_0/
Thonburi_History7.htm
สุโขทัย เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก (9/6/55)
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8
%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%
B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2
เอกสารอ้างอิง
อยุธยา เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก (9/6/55)
http://historia.exteen.com/20080109/entry-1
http://www.thaigoodview.com/node/29909
จัดทาโดย
นายรชตะ          ศิริกุลชัย       เลขที่ 3
นางสาวบุศรินทร์ ประทุมโทน         เลขที่ 9
นางสาวสุธาสินี สายทอง             เลขที่ 14
นางสาวณัฏฐาพร ศรีชัยคา            เลขที่ 16
นางสาวพนิตนันท์ โรจนศุภมิตร       เลขที่ 19
        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

                  เสนอ
         ครูสายพิณ วงษารัตน์

 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

Contenu connexe

Tendances

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 

Tendances (20)

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 

Similaire à ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 

Similaire à ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา

  • 2. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆ ในสมัยสุโขทัย อาณาจักรล้านนา ในปี พ.ศ. 1839 พญามังราย(พ.ศ. 1804 - 1854) ได้มีคาสั่งให้สร้าง เมืองใหม่ขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า นภบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (เชียงใหม่)เพื่อที่จะเป็น เมืองหลวงแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา ครั้งนั้นพ่อขุนรามคาแหง-มหาราช และพญางาเมือง ได้เสด็จมาช่วยด้วย
  • 3. อาณาจักรนครศรีธรรมราช สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเริ่ ม ในสมั ย พ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราช ซึ่ ง เป็ น ลักษณะขยายอิทธิพลลงไปปกครองในฐานะเมืองประเทศราช และได้โปรด ให้นิมนต์พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวารลัทธิลังกาวงศ์จากเมือง นครศรีธรรมราชมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ สุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ประดิษฐานอย่างมั่นคงในสุโขทัยนับแต่นั้นมา
  • 4. อาณาจักรลังกา สมเด็จ พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุ นีนัดดาของพ่อขุนผาเมือง ในศิลาจารึกสุโขทัยกล่าวว่าเคยเสด็จไปลังกา แล้วกลับมาสร้างพระธาตุ ตามเมืองต่างๆรวมทั้งบูรณะวัดวาอารามต่างๆ ความสัมพันธ์กับลังกาโดยผ่านเมืองสาคัญ คือ นครศรีธรรมราชทาให้ เกิดสิ่งก่อสร้างใหญ่ๆ เช่น พระอัฎฐารศ และพระสถูปทรงลังกา รวมถึงการ สร้างเจดีย์ช้างล้อม
  • 5. การสร้างพระบรมธาตุขึ้นกลางเมืองสุโขทัย คงอยู่ราวสมัยของ พ่อขุนศรีนาวนาถม เนื่องจากในจารึกหลักที่ 2 ระบุว่า พระองค์ได้สร้าง พระธาตุขึ้นที่ สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และสระหลวงสองแคว การสร้างพระพุทธบาท เขาพระบาทใหญ่ สมัยพระมหาธรรมราชาลิไท โปรดให้ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทตามเมืองสาคัญ 4 เมือง ที่เขา พระบาทใหญ่ หรือเขาสุมนกูฏ ตามศิลาจารึกกล่าวว่า พระองค์โปรดให้ ไปจาลองมาจากเขาสุมนกูฏ เมืองลังกา แต่ที่เห็นชัดเจนคือ มีลักษณะทาง ศิลปะคล้ายคลึงกับที่พุกาม (รวมถึงสัญลักษณ์มงคล 108) ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า ทรงให้ไปคัดลอกจากเมืองพุกาม
  • 6. จักรวรรดิมองโกล กองทั พ จั ก รวรรดิ ม องโกลแผ่ แ สนยานุ ภ าพโดดเด่ น ที่ สุ ด เป็ น ช่ ว ง เดียวกับการตั้งกรุงสุโขทัย ในปี พ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257) ซึ่งเป็นอาณาจักร ของตนอย่ า งแท้ จ ริ ง เป็ น ครั้ ง แรก หลั ก ฐานส าคั ญ ในมิ ไ ด้ บั ง คั บ ให้ เป็ น ไปตามนี้ ซึ่ ง จะเห็ น ได้ ว่ า พ่ อ ขุ น รามค าแหงก็ มิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต ามแต่ ประการใด พงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 18 กุบไลข่านได้ส่งคณะทูต ชุ ด ที่ ส า ม ม า สุ โ ข ทั ย โ ด ย ไ ด้ อั ญ เ ชิ ญ พ ร ะ บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร ใ ห้ พ่อขุนรามคาแหงเสด็จไปเฝ้า หากมีเหตุขัดข้องให้ส่งโอรสหรือพระอนุชา และอามาตย์ผู้ใหญ่เป็นตัวประกัน ซึ่งปรากฏว่าพ่อขุนรามคาแหงก็มิได้ ปฏิบัติตาม แต่ส่งคณะทูตนาเครื่องราชบรรณาการไปแทน
  • 7. อาณาจักรอยุธยา หลั ง จากมี ก ารก่ อ ตั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แรกนั้ น สุ โ ขทั ย และอยุ ธ ยา ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไมตรี ต่ อ กั น แต่ ด้ ว ยชั ย ภู มิ ที่ เ หมาะสมกว่ า ท าให้ อ ยุ ธ ยา เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ประกอบกับปัญหาการเมืองภายในของสุโขทัย มิได้เป็นไปโดยสงบ มีการแย่งชิงราชสมบัติกันระหว่าง พระยาบาลเมือง พระยาราม ยั ง ผลให้ อ ยุ ธ ยาสบโอกาสเข้ า แทรกแซงกิ จ การภายใน ในรั ช กาลนี้ มี ก ารรั บ ไมตรี จ ากอยุ ธ ยาโดยการสมรสระหว่ า งราชวงศ์ พระร่วง กับราชวงศ์สุพรรณภูมิโดยมีพระราเมศวร ซึ่งต่อมาคือ สมเด็จ- พระบรมไตรโลกนาถ
  • 8. จีน เครื่องปั้นดินเผาเคลือบและเครื่องปั้นดินเผาแบบแกร่ง พบตั้งแต่ สมัยทวารวดี มีทั้งการนาเข้ามาโดยการแลกเปลี่ยนสินค้ากับทางเมืองจีน และ การน าเอาเทคโนโลยี ใ นการท าเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาน าเข้ า มาสร้ า งเตาผลิ ต เอง ในประเทศ ที่เมืองดงแม่นางเมือง เขตอาเภอบรรพตพิสัย ไม่พบเศษภาชนะดินเผา แต่พบเศษภาชนะเคลือบแบบลพบุรีและจีน แสดงให้เห็นว่า ความเจริญ ทางเทคโนโลยีในการผลิตเครื่องปั้นดินเผาเคลือบมีมาก่อนการเกิดเตาในสุโขทัย และศรีสัชนาลัย นอกจากนี้ยังมีการติดต่อค้าขายกับจีน เศษภาชนะดินเผาเคลือบ ที่พบเป็นของจีนสมัยราชวงศ์ซ้องลงมา แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ กับจีน ซึ่งนาไปสู่การรับเทคโนโลยีในการทาภาชนะมาใช้ในสมัยต่อมา
  • 9. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
  • 10. ความสัมพันธ์กับสุโขทัย ความสัมพันธ์กับรัฐที่อยู่ใกล้เคียง สุโขทัย มลายู ล้ านนา ญวน พม่า ล้ านช้ าง มอญ เขมร
  • 11. ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(อู่ทอง) แห่งกรุงศรีอยุธยาได้ยก กองทั พ ไปยึ ด เมื อ งชั ย นาทจากอาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ไว้ ไ ด้ ซึ่ ง ตรงกั บ รั ช สมั ย พระมหาธรรมราชาลิไทแห่งสุโขทัยสุโขทัยได้ส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย พระเจ้าอู่ทอง เพื่อขอเมืองชัยนาทคืน พระเจ้าอู่ทองจึงคืนเมืองชัยนาทกลับคืน ให้กับสุโขทัยตามเดิมสุโขทัยจึงต้องยอมรับเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอาณาจักรสุโขทัยเกิดการจลาจล เพราะล้ า นนาเข้ า มาตี เ มื อ งพิ ษ ณุ โ ลกแต่ ตี ไ ม่ ไ ด้ จึ ง ไปตี เ มื อ งก าแพงเพชร กรุงศรีอยุธยาจึงมาช่วยป้องกันเมืองไว้ได้และพระบรมไตรโลกนาถจึงมาประทับ อยู่ที่พิษณุโลก และให้พระบรมราชาธิราชที่ 2 ราชโอรสปกครองกรุงศรีอยุธยา ต่อมาพระบรมไตรโลกนาถเจริญสัมพันธไมตรีกับล้านนาทาให้สงครามยุติและ สุโขทัยจึงรวมเป็นอาณาจักรเดียวกับกรุงศรีอยุธยา
  • 12. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย • ประสานประโยชน์ • เผชิญหน้าทางด้านการทหาร • ใช้นโยบายสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติ • สุโขทัยเคยเป็นเมืองประเทศราชของอยุธยา • สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ รวมสุโขทัยกับอยุธยาเข้าด้วยกัน
  • 14. ความสัมพันธ์กับพม่า พม่ายกทัพมาตีไทยถึง 24 ครั้ง โดยสาเหตุของสงครามส่วนใหญ่มีดังนี้ 1. เกิ ด ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ หั ว เมื อ งชายแดนที่ พ ม่ า ต้ อ งการยึ ด ให้ ไ ด้ เพื่อขยายอานาจมายังอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา 2. ไทยกั บ พม่ า ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี อ านาจเท่ า เที ย มกั น จนกลายเป็ น คู่ แ ข่ ง ทางการเมื อ งและเศรษฐกิ จ โดยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ด้ า น สงครามไทยกับพม่าดังนี้ - สงครามครั้ ง แรกก็ คื อ ศึ ก เชี ย งกราน พ .ศ.2081 ในสมั ย พระไชยราชาธิ ร าช กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเสี ย เอกราชครั้ ง แรกแก่ พ ม่ า ในปี พ.ศ.2112 ในสมัยพระเจ้ามหินทราธิราช
  • 15. - สงครามสมเด็ จ พระศรี สุ ริ โ ยทั ย ถู ก พระเจ้ า แปรฟั น คอขาด บนคอช้า ง เนื่องจากพระองค์ไสช้างไปขวางพระเจ้ าแปร ไม่ให้ ตาม พระมหาจักรพรรดิทัน - สมเด็ จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกู้ เ อกราชของไทยได้ ใ น ปี พ.ศ.2127 และปี 2135 พระนเรศวรมหาราชทรง ทายุทธหัตถีกับ พระมหาอุ ปราชของพม่ าจนได้ ชัย ชนะ-ในปี พ .ศ.2310 ไทยเสี ยกรุ ง ให้พม่าครั้งที่ 2ในสมัยพระเจ้าเอกทัศ
  • 17.
  • 18. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนา ใน พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยุธยาเริ่มขยายอานาจออกไปยังบริเวณที่อยู่ รอบนอก เพื่ อ ความมั่ น คงของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาและในปี พ .ศ.1929 สมเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1(ขุ น หลวงพะงั่ ว ) ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ กรุงศรีอยุธยาองค์แรกที่ไปตีเชียงใหม่แต่ไม่สาเร็จ หลังสงคราม พ.ศ.1929 แล้วกรุงศรีอยุธยาได้ทาสงครามกับ ล้านนาอีกหลายครั้ง สงครามได้ดาเนินไประหว่าง พ.ศ.2003- 2017 จึงยุติลงและทั้งสองฝ่ายเป็นไมตรีต่อกันพ.ศ.2050 ล้านนายกทัพไปรุกรานหัวเมืองฝ่ายเหนือของกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 จึงยกทัพไปตีลาปาง
  • 19. ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพม่าทาสงครามกับจีน ล้านนาจึงมาพึ่งกรุงศรีอยุธยา ครั้นพม่าทาสงครามกับจีน เสร็จล้านนาจึงไปเข้ากับพม่าอีก พระนารายณ์มหาราชจึงยก ทัพมาตีล้านนาได้ ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ พ.ศ. 2306 พม่ายกทัพมาตีเชียงใหม่ทาให้เชียงใหม่ต้องขอ กองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วยแต่ไม่ทัน เชียงใหม่จึงตกเป็น เมืองประเทศราชของพม่าจนกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า
  • 21. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวเป็นไปได้ด้วยดีกว่าประเทศ เพื่อนบ้านอื่นๆ ความสัมพันธ์เป็นไปลักษณะ “บ้านพีเมืองน้อง” ่ จุดมุ่งหมายที่ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันคือเพื่อต่อต้าน พม่า พ.ศ.2103 พระมหาจักรพรรดิของไทยและพระไชยเชษฐาธิราช ของลาวได้ทรงร่วมสร้าง“พระธาตุศรีสองรัก” (ปัจจุบันอยู่ที่อาเภอ ด่านซ้ายจังหวัดเลย) เพื่อแสดงความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
  • 24. ไทยกับเขมรมีความสัมพันธ์กันทั้งด้านวัฒนธรรมและการทา สงครามกัน ด้านการทาสงครามมีความสัมพันธ์กันดังนี้ -ไทยกับเขมร ได้เริ่มทาสงครามตั้งแต่สมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทั้งนี้เขมรตกอยู่ภายใต้ การปกครองของไทยหลายครั้ง -ในขณะที่ไทยเสียเอกราชหรือมีศึกสงคราม เขมรมัก จะตั้งตัวเป็นอิสระทาให้เกิดความยุ่งยากแก่ไทย -การปกครองของเขมรไทยมั ก ให้ เ จ้ า นายของเขมร ปกครองกันเอง แต่มักจะเกิดการแย่งชิงราชสมบัติกันอยู่เสมอ
  • 25. วัฒนธรรมที่อยุธยารับมาจากเขมร • ศิลปกรรม • ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู • ภาษา • ขนบธรรมเนียมประเพณี • การปกครองแบบจตุสดมภ์ • แนวคิดแบบสมมุติเทพ
  • 26.
  • 28. ความสัมพันธ์กับญวน • เกิดขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลายเป็นการทาสงครามเพื่อแย่งชิงความเป็น ใหญ่เหนือเขมร • สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ อยุธยาส่งเสริมหนุนหลังพระธรรม ราชา(ราชวงศ์เขมร) ญวน ส่งเสริมหนุนหลังนักแก้วฟ้าจอก(ราชวงศ์เขมร อีกฝ่ายหนึ่ง) • ความขัดแย้งในเขมรทาให้อยุธยากับญวนต้องสู้รบกัน ผลัดกันแพ้ ผลัดกัน ชนะ จนสิ้นสุดอยุธยา
  • 29. ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมลายู มีความสัมพันธ์ เมืองสาคัญ คือ ปัตตานี ไทรบุรี ทางด้านการค้าต่อกัน กลันตัน ตรังกานู มะละกา อยุธยาสัมพันธ์กับมลายู อยุธยาเคยส่งกองทัพ ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ไปตีมะละกา
  • 31. ความสัมพันธ์กับญี่ปุ่น • เป็นความสัมพันธ์เพื่อประโยชน์ทาง ด้านการค้า • โชกุน อิเอยาสุ ได้ส่งคณะทูต ดาบซามูไร ชุดเกราะ มาถวาย สมเด็จพระเอกาทศรถ • เรือสาเภาอยุธยาเข้าไปค้าขายในญี่ปุ่นได้ • สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเกิด ความบาดหมางกับทหารอาสาญี่ปุ่น
  • 32. สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมยึดราชสมบัติจากสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ และจับพวกขุนนางไปสาเร็จโทษ รวมทั้งออกญาพระนายไว(ทหารอาสา ญี่ปุ่น) ยามาดา นางามาสา(ออกญาเสนาภิมุข) ช่วยกระชับความสัมพันธ์ สมัยพระเจ้าปราสาททอง มีชาวญี่ปุ่นก่อการร้ายในกรุงศรีฯ จึงถูกปราบ อย่างเด็ดขาด
  • 33.
  • 34. ความสัมพันธ์ของเปอร์เซีย(อิหร่าน) • เป็นความสัมพันธ์ด้านการค้า • เข้ามาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถถึงสมัยสมเด็จ พระนารายณ์ • เปิดโอกาสให้ชาวเปอร์เซียรับราชการในอยุธยาได้ • เฉกอะหมัดรัตนธิบดีเป็นกรมท่าขวา • พระยาศรีนวรัตน์ ดูแลการค้าของอยุธยากับเปอร์เซียและ อินเดีย • หลังสมัยสมเด็จพระนารายณ์ไม่มีหลักฐานปรากฏ
  • 36. ชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยามี จุดมุ่งหมายที่สาคัญ ได้แก่ -ชาวตะวันตกที่มาติดต่อจะเริ่มด้วยการขอมีไมตรีทางการค้า สร้างความเข้าใจและปฏิบัติต่อกันโดยสุจริต อยุธยาจึงได้รบ ั ผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านการค้า -การมีสัมพันธ์ต่อกันทาให้ไทยมีโอกาสรับวิทยาการและ เทคโนโลยีต่างๆ จากชาติตะวันตกและบุคคลที่มีความรู้ พัฒนาอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาในหลายด้านด้วยกัน ได้แก่ ด้านการแพทย์ ด้านการศึกษา ด้านการก่อสร้าง ด้าน บุคคลากร
  • 37. ขบวนแห่พระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไปถวายพระเจ้าหลุยส์ท14แห่งฝรั่งเศส ี่
  • 38. ความสัมพันธ์กับชาติตะวันตก โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา อยุธยา ฝรั่งเศส อังกฤษ
  • 39. ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส • เป็นความสัมพันธ์ด้านการค้า ด้านการเมือง ด้านการทหาร ด้านวัฒนธรรม • เริ่มเข้ามาสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และให้โปรตุเกสเข้ามาเป็นทหาร อาสา และซื้อปืนมาใช้ • มีการทาสัญญาให้ค้าขายและตั้งถิ่นฐานได้
  • 41. ความสัมพันธ์กับอังกฤษ • เป็นความสัมพันธ์ทางด้านการค้าและการเมือง ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศส • เริ่มจากความสัมพันธ์ทางการเมืองก่อน และพัฒนาเป็นความสัมพันธ์ทาง การค้าและการเมือง
  • 42.
  • 43.
  • 45. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี 1. ความสัมพันธ์กับพม่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุงธนบุรี จะปรากฎในรูป ของความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็น ฝ่ายตั้งรับการรุกรานของพม่า หลังจากได้รักเอกราช ต้องทาสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่วนใหญ่พม่าเป็น ฝ่ายปราชัย ครั้งสาคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ.2318 ครั้งนั้น เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุรสีห์ สองพี่น้องได้ร่วมกัน ป้องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุดความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่พลเหนือกว่า จึงตีหักเอาเมืองได้
  • 46. 2.ความสัมพันธ์กับกัมพูชา เขมรเคยเป็นประเทศราชของไทยมาแต่สมัยอยุธยา หลังจากกรุงศรี อยุธยาเสี ยแก่พ ม่าในปี พ.ศ.2310แล้ วพระเจ้าตากสิ นกู้เอกราชได้สาเร็ จ ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์เขมรไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย อ้างว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่ใช่เชื้อพระวงศ์พระเจ้าแผ่นดินกรุงศรี อยุธยา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้พระยาอภัยรณฤทธิ์ (ทองด้วง) และพระยาอนุชิตราชา (บุญมา) นาทัพไปตีเขมรใน พ.ศ.2312 แต่ไม่สาเร็จ เพราะเขมรแกล้งปล่อยข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จสวรรคต พระยาอภัยรณฤทธิ์และพระยาอนุชิตราชาจึงยกทัพกลับ ต่อมาปี พ.ศ.2314 โปรดให้พระยาจักรียกทัพไปตีเขมรอีก และได้เขมรกลับมาเป็นประเทศราช ของไทย
  • 47. 3. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาว ไทยทาสงครามขยายอาณาเขตไปถึงลาว 2 ครั้ง คือ ตีเมืองจาปาศักดิ์ และตีเมืองเวียงจันทร์ครั้งหลัง ไทยได้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมายัง ไทย โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
  • 48. ล้านนา ไทยพยายามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาได้สาเร็จ แต่ไม่สามารถรักษา ล้านนาไว้ได้ เพราะเมื่อทัพกรุงธนบุรีออกจากล้านนา ทัพพม่าก็เข้ามาคุกคาม ล้านนาอีก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคงทรงพิจารณาเห็นว่าล้านนาเป็นเมือง ซึ่งพม่าใช้เป็นฐานทัพเสมอ ทุกครั้งที่พม่ายกทัพมาตีเมืองไทย ทุกครั้งที่พม่ามารบ ไทย ก็ใช้ล้านนาเป็นคลังเสบียงอาหาร จึงต้องทรงยกทัพไปตีเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2317 หลังจากนั้นล้านนาก็เป็นอิสระ โดยมีกรุงธนบุรีคุ้มกันอยู่
  • 49. มลายู หั ว เมื อ งได้ แ ก่ ปั ต ตานี ไทรบุ รี กลั น ตั น และ ตรั ง กานู เคยเป็ น เมืองขึ้นของไทยมาตลอด เพิ่งมาแยกตัวเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก เมื่อปี พ.ศ. 2310 ส่วนเมืองปัตตานี และ ไทรบุรี ในตอนต้นสมัยกรุงธนบุรีนั้น ยัง สวามิภักดิ์อยู่ มาแข็งข้อทีหลัง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตีได้เมือง นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง แต่มิได้ยกทัพไปตีเมืองมลายู มีแต่คิดอุบายให้ เจ้าพระยานครศรีธรรมราชไปยืมเงินเมืองปัตตานี และไทรบุรี สาหรับที่จะซื้อ เครื่องศัตราวุธเมืองละ 1,000 ชั่ง เพื่อหยั่งท่าทีพระยาไทรบุรี และ พระยา ปัตตานี ดูว่าจะทาประการใด แต่ทั้งสองเมืองไม่ยอมให้ขอยืม สมเด็จพระเจ้า ตากสินก็มิได้ทรงยกทัพไปตี เพราะทรงพิจารณาเห็นว่า ขณะนั้นเป็นการเกิน กาลังของพระองค์ที่จะยกทัพไปปราบ จึงปล่อยให้หัวเมืองมลายูเป็นอิสระ
  • 50. ความสัมพันธ์กับจีน ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการค้าขายกับจีน ในสมัยกรุงธนบุรี ปรากฎว่ามีสาเภา ของพ่อค้าจีน เข้ามาติดต่อค้าขายตลอดรัชกาลและทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการ ทะนุบารุงการค้าขายทางเรือนี้อย่างมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงส่งสาเภา หลวงออกไปทาการติดต่อค้าขายกับเมื องจีนอยู่เสมอ จึงนับว่าจีนเป็นชาติ ที่ สาคัญที่สุดที่เราติดต่อทางการค้าด้วยในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชที่จะให้จีนยอมรับฐานะและเพื่อให้ไทยได้เปิดค้าขายกับจีน เป็นการฟื้นฟู เศรษฐกิจและทาให้ฐานะของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมั่นคงขึ้นด้วย
  • 51. การเมืองระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส การค้าขายกับโปรตุเกส ปรากฏในจดหมายเหตุของบาทหลวงฝรั่งเศสซึ่ง เข้ามาอยู่ในกรุงธนบุรีครั้งนั้น เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2322 มีเรือแขกมัวร์ จากเมืองสุรัต ซึ่งขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกส เข้ามาค้าขาย ณ กรุงธนบุรี ด้วยและว่าที่ภูเก็ตเวลานั้นมีพวกโปรตุเกสครึ่งชาติอยู่ 2-3 คน อยู่ในความ ปกครองของบาทหลวงฟรังซิสแกงของโปรตุเกส จึงแสดงว่า ในสมัยกรุงธนบุรี นั้นเราได้มีการติดต่อค้าขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอยู่บ้าง โดยทางเราได้เคย ส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยังประเทศอินเดียจนถึงเขตเมืองกัว เมืองสุรัต อันเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสอยู่ในครั้งนั้นด้วยเหมือนกัน
  • 52. การเมืองระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์กับอังกฤษ ในตอนปลายสมั ย กรุ ง ธนบุ รี บรรดาฝรั่ ง ชาติ ต่ า ง ๆ ที่ เ ดิ น ทางเข้ า มา ค้าขายในเอเชีย มีการแย่งชิงอานาจกัน ทางการค้าเป็นอันมาก ด้วยเหตุนี้ อังกฤษจึงมีความประสงค์ที่จะได้สถานที่ตั้งสาหรับทาการค้าขาย แข่งกับ พวกฮอลั น ดา ทางด้ า นแหลมมลายู สั ก แห่ ง หนึ่ ง อัง กฤษเห็ น ว่ า เกาะหมาก (ปีนัง) มีความเหมาะสม จึงได้พยายามเจรจาเกลี้ยกล่อมกับพระยาไทรบุรี ผู้มี อานาจปกครองเกาะนี้อยู่เพื่อจะขอเช่า ในปี พ.ศ. 2319 กะปิตันเหล็ก (ฟรานซิสไลท์) เจ้าเมืองเกาะหมาก ได้ส่งปืนนกสับเข้ามาถวายสมเด็จพระเจ้า ตากสิน จานวน 1,400 กระบอก พร้อมด้วยสิ่งของเครื่องราชบรรณาการต่างๆ
  • 53. ความสัมพันธ์กับฮอลันดา ปี พ.ศ. 2313 ชาวฮอลันดาจากเมืองปัตตาเวีย (จาการ์ตา) และ พวกแขก เมืองตรังกานู ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อถวายปืนคาบ ศิลาจานวน 2,200 กระบอก และ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง ความสัมพันธ์กับล้านช้าง การที่ได้ล้านช้างมาเป็นประเทศราชเพราะมีการทาสงครามขยายอาณาเขต ถึง 2 ครั้ง 1. ตีเมืองจาปาศักดิ์ พ.ศ. 2319 พระเจ้าตากสิน จึงโปรดให้เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) เป็นแม่ทัพยกไปปราบ เจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพไปช่วย สามารถตี เมืองจาปาศักดิ์ได้ พระเจ้าตากสินจึงโปรดให้เจ้าพระยาจักรี(ทองด้วง) เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก”
  • 54. 2. พ.ศ. 2321 ไทยตีเมืองเวียงจันทน์ พระเจ้าตากสินเห็นว่า ลาวได้ละเมิดอธิปไตยของไทย จึงโปรดให้สมเด็จ เจ้ า พระยามหากษั ต ริ ย์ ศึ ก ฯ และเจ้ า พระยาสุ ร สี ห์ ฯ ยกทั พ ไป ตี เ มื อ ง เวี ย งจั น ทน์ ตี เ มื อ งเวี ย งจั น ทน์ น าน 4 เดื อ นจึ ง ส าเร็ จ ไทยจึ ง ได้ เ มื อ ง เวียงจ้นทน์และหลวงพระบาง เป็นประเทศราช เสร็จจากสงครามในครั้งนี้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต มาประดิษฐาน ณ วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) หรือวัดพระแก้วในสมัยกรุงธนบุรี
  • 56. เอกสารอ้างอิง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก (9/6/55)http://culture4queen.exteen.com/20080203/entry-1 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก(9/6/55) http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/units/unit4/chapter4/chaptor4_0/ Thonburi_History7.htm สุโขทัย เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก (9/6/55) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8 %B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0% B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2
  • 57. เอกสารอ้างอิง อยุธยา เอกสารออนไลน์ เข้าถึงได้จาก (9/6/55) http://historia.exteen.com/20080109/entry-1 http://www.thaigoodview.com/node/29909
  • 58. จัดทาโดย นายรชตะ ศิริกุลชัย เลขที่ 3 นางสาวบุศรินทร์ ประทุมโทน เลขที่ 9 นางสาวสุธาสินี สายทอง เลขที่ 14 นางสาวณัฏฐาพร ศรีชัยคา เลขที่ 16 นางสาวพนิตนันท์ โรจนศุภมิตร เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ ครูสายพิณ วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย