SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
การปฏิรูปศาสนา
       (Religious Reformation)



ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็น
      คัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา

ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่พระและบาทหลวงในกรุงโรมมี
ความเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบารุงศาสนาสูงขึ้น
เพื่อนาเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรในกรุงโรม

เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มี
สันตะปาปาเป็นผู้ปกครอง เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเกี่ยวอานาจทาง
การเมือง

การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการทาให้ชาวยุโรปเห็นว่ามนุษย์
สามารถทาความเข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่านพิธีกรรม
ของศาสนจักร
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)


สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และสันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการหาเงินใน
การก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปเตอร์ที่กรุงโรมจึงส่งคณะสมณทูตมาขาย
                         ี
ใบไถ่บาปในเยอรมนี
การเริ่มต้นการปฏิรูปศาสนา
***การปฏิรูปศาสนาเริ่มต้นใน
เยอรมนี ค.ศ. 1517 มาร์ติน ลูเธอร์
(Martin Luther) นักบวชชาวเยอรมันได้เขียน
ญัตติ 95 ข้อ (Ninety-Five Theses) คัดค้าน
การขายใบไถ่บาปติดไว้หน้ามหาวิหารแห่ง
เมืองวิทเทนบูร์ก ญัตติของเขาได้รับการ
สนับสนุนอย่างกว้างขวางในเยอรมนี

          เขาถูกประกาศให้เป็นบุคคลนอกศาสนา แต่ได้รับความ
 อุปถัมภ์จากเจ้าชายเฟรเดอริก ผู้ครองแคว้นแซกโซนี
          เขาได้แปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาเยอรมัน ทาให้ความรู้ด้าน
 ศาสนาแพร่หลาย
          เขาได้ก่อตั้งนิกายลูเธอร์ (Lutheranism) ซึ่งได้แพร่ขยายไปทั่ว
 เยอรมนีและสแกนดิเนเวีย
ในสวิตเซอร์แลนด์ได้มีการปฏิรูปศาสนาโดย อุลริค ชวิงลี (Ulrich
Zwingli) ชาวเยอรมัน ไฮริช บูลลิงเจอร์ (Heinrich Bullinger) และ
จอห์น คาลวิน (John Calvin) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งลัทธิคาลวินส์
(นิกายคาลวิน : Calvinism) ที่แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และ
สกอตแลนด์




    Ulrich Zwingli       Heinrich Bullinger        John Calvin
ในอังกฤษ
          พระเจ้าเฮนรีที่ 8 ทรงขัดแย้งกับสันตะปาปาเรื่องการหย่าขาด
กับพระมเหสีองค์เดิมเพื่ออภิเษกสมรสใหม่
          พระองค์จึงให้อังกฤษแยกตัวทางศาสนาออกจากศาสนจักร
ที่กรุงโรมโดยแต่งตั้งสังฆราชแห่งแคนเทอร์บิวรี (Archbishop of
Canterbury) ขึ้นใหม่

         ค.ศ. 1563 กษัตริย์อังกฤษ
(สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1)
ทรงประกาศตั้งนิกายอังกฤษ (Anglican
Church) โดยกษัตริย์อังกฤษเป็นประมุข
ของศาสนา นิกายนี้ยอมรับพิธีกรรมต่างๆ
ของนิกายโรมันคาทอลิก แต่ไม่ยอมรับ
นับถือสันตะปาปาที่กรุงโรมในฝรั่งเศส
การปฏิรูปได้แพร่ขยายจากเยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ
ฮอลแลนด์ และกลุ่มสแกน- ดิเนเวีย ไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป
      การต่อต้านอย่างรุนแรงเกิดขึ้นในฝรั่งเศสและสเปน
จนกลายเป็นสงครามศาสนา




        เกิดนิกายใหม่ คือ นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism)
หมายถึงผู้คัดค้าน ซึ่งต่อมาได้แยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย เช่น
นิกายลูเธอร์แรน นิกายรีฟอร์ม นิกายเพรสไบทีเรียน นิกายแองกลิคัน
เป็นต้น
การปฏิรูปศาสนาของคริสตจักร
1. การประชุมสังคายนาแห่งเทรนต์ (Council of Trent)
ระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อกาหนดระเบียบ
วินัยภายในคริสตจักร


บทสรุป

สันตะปาปาทรงเป็นประมุขของคริสต์ศาสนา
การประกาศหลักธรรมต้องให้ศาสนจักรเป็นผู้ประกาศแก่ศาสนิกชน
คัมภีรไบเบิลต้องเป็นภาษาละติน
        ์
ยกเลิกการขายใบไถ่บาป และตาแหน่งทางศาสนา

***ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา และชาวคาทอลิกที่มีความเห็น
แตกต่างจากศาสนจักร ซึ่งมีการลงโทษโดยเผาคนผิดทั้งเป็น
2. การปรับปรุงระเบียบวินัยของนักบวชและตั้งคณะนักบวช
เพื่อการปฏิรูป เช่น คณะเยซูอิต ตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1534 เพื่อจัดตั้ง
โรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศต่างๆ
***คณะเยซูอิต (The Jesuit)
ก่อตั้งโดยชาวสเปนชื่อ Ignatius Loyola
และได้รับการรับรองโดยพระสันตะปาปา
พอลที่ 3 เป็นสุดยอดของสมาคมลับ
ในคริสตจักรคาทอลิคที่จะเข้าไปแทรกซึม
กลุ่มโปรเตสแตนต์
ฟรังซีสแห่งปาโอลา
                      (Francis of Paola)
                           ในอิตาลี




 บริจิตต์แห่งสวีเดน
(Brigitt of Sweden)
ผลของการปฏิรูปศาสนา

      คริสตศาสนา แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ
นิกายโรมันคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีสันตะปาปาเป็นประมุข
นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน
                  นิกายคาลวิน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น
       ทาให้ความเป็นเอกภาพทางศาสนาสิ้นสุดลง

         เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนามาก
ยิ่งขึ้นในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนต่างๆ
ผลของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)

       สภาพสังคมเปลี่ยนไป นิกายโปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการ
ประกอบอาชีพด้านการค้า และอุตสาหกรรม ระบบทุนนิยมในยุโรปจึง
เจริญเติบโต

       เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจากนิกาย
โปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมให้อานาจแก่
ผู้ปกครองในท้องถิ่นเป็นตัวแทนของพระเจ้าในการปกครองประเทศ

        เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้สถาบัน
กษัตริย์มีอานาจเหนือคริสตจักรในที่สุด
สมาชิกกลุ่ม

นายณัฐกิตติ์      อินใจ      เลขที่   ๒
นายสหัสชัย        อินวงศ์วาร เลขที่   ๗
นางสาวการปฐม      เกสรสุวรรณ เลขที่   ๑๓
นางสาวศิโรรัตน์   เตชะแก้ว เลขที่     ๒๐

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑

Contenu connexe

Tendances

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 

Tendances (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ปฏิรูปศาสนา

  • 1. การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็น คัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล
  • 2. สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่พระและบาทหลวงในกรุงโรมมี ความเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบารุงศาสนาสูงขึ้น เพื่อนาเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรในกรุงโรม เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มี สันตะปาปาเป็นผู้ปกครอง เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเกี่ยวอานาจทาง การเมือง การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการทาให้ชาวยุโรปเห็นว่ามนุษย์ สามารถทาความเข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่านพิธีกรรม ของศาสนจักร
  • 3. สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)  สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และสันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการหาเงินใน การก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปเตอร์ที่กรุงโรมจึงส่งคณะสมณทูตมาขาย ี ใบไถ่บาปในเยอรมนี
  • 5. ***การปฏิรูปศาสนาเริ่มต้นใน เยอรมนี ค.ศ. 1517 มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) นักบวชชาวเยอรมันได้เขียน ญัตติ 95 ข้อ (Ninety-Five Theses) คัดค้าน การขายใบไถ่บาปติดไว้หน้ามหาวิหารแห่ง เมืองวิทเทนบูร์ก ญัตติของเขาได้รับการ สนับสนุนอย่างกว้างขวางในเยอรมนี เขาถูกประกาศให้เป็นบุคคลนอกศาสนา แต่ได้รับความ อุปถัมภ์จากเจ้าชายเฟรเดอริก ผู้ครองแคว้นแซกโซนี เขาได้แปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาเยอรมัน ทาให้ความรู้ด้าน ศาสนาแพร่หลาย เขาได้ก่อตั้งนิกายลูเธอร์ (Lutheranism) ซึ่งได้แพร่ขยายไปทั่ว เยอรมนีและสแกนดิเนเวีย
  • 6. ในสวิตเซอร์แลนด์ได้มีการปฏิรูปศาสนาโดย อุลริค ชวิงลี (Ulrich Zwingli) ชาวเยอรมัน ไฮริช บูลลิงเจอร์ (Heinrich Bullinger) และ จอห์น คาลวิน (John Calvin) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งลัทธิคาลวินส์ (นิกายคาลวิน : Calvinism) ที่แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และ สกอตแลนด์ Ulrich Zwingli Heinrich Bullinger John Calvin
  • 7. ในอังกฤษ พระเจ้าเฮนรีที่ 8 ทรงขัดแย้งกับสันตะปาปาเรื่องการหย่าขาด กับพระมเหสีองค์เดิมเพื่ออภิเษกสมรสใหม่ พระองค์จึงให้อังกฤษแยกตัวทางศาสนาออกจากศาสนจักร ที่กรุงโรมโดยแต่งตั้งสังฆราชแห่งแคนเทอร์บิวรี (Archbishop of Canterbury) ขึ้นใหม่ ค.ศ. 1563 กษัตริย์อังกฤษ (สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1) ทรงประกาศตั้งนิกายอังกฤษ (Anglican Church) โดยกษัตริย์อังกฤษเป็นประมุข ของศาสนา นิกายนี้ยอมรับพิธีกรรมต่างๆ ของนิกายโรมันคาทอลิก แต่ไม่ยอมรับ นับถือสันตะปาปาที่กรุงโรมในฝรั่งเศส
  • 8. การปฏิรูปได้แพร่ขยายจากเยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ฮอลแลนด์ และกลุ่มสแกน- ดิเนเวีย ไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป การต่อต้านอย่างรุนแรงเกิดขึ้นในฝรั่งเศสและสเปน จนกลายเป็นสงครามศาสนา เกิดนิกายใหม่ คือ นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) หมายถึงผู้คัดค้าน ซึ่งต่อมาได้แยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย เช่น นิกายลูเธอร์แรน นิกายรีฟอร์ม นิกายเพรสไบทีเรียน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น
  • 10. 1. การประชุมสังคายนาแห่งเทรนต์ (Council of Trent) ระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อกาหนดระเบียบ วินัยภายในคริสตจักร บทสรุป สันตะปาปาทรงเป็นประมุขของคริสต์ศาสนา การประกาศหลักธรรมต้องให้ศาสนจักรเป็นผู้ประกาศแก่ศาสนิกชน คัมภีรไบเบิลต้องเป็นภาษาละติน ์ ยกเลิกการขายใบไถ่บาป และตาแหน่งทางศาสนา ***ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา และชาวคาทอลิกที่มีความเห็น แตกต่างจากศาสนจักร ซึ่งมีการลงโทษโดยเผาคนผิดทั้งเป็น
  • 11. 2. การปรับปรุงระเบียบวินัยของนักบวชและตั้งคณะนักบวช เพื่อการปฏิรูป เช่น คณะเยซูอิต ตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1534 เพื่อจัดตั้ง โรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศต่างๆ ***คณะเยซูอิต (The Jesuit) ก่อตั้งโดยชาวสเปนชื่อ Ignatius Loyola และได้รับการรับรองโดยพระสันตะปาปา พอลที่ 3 เป็นสุดยอดของสมาคมลับ ในคริสตจักรคาทอลิคที่จะเข้าไปแทรกซึม กลุ่มโปรเตสแตนต์
  • 12. ฟรังซีสแห่งปาโอลา (Francis of Paola) ในอิตาลี บริจิตต์แห่งสวีเดน (Brigitt of Sweden)
  • 13. ผลของการปฏิรูปศาสนา  คริสตศาสนา แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีสันตะปาปาเป็นประมุข นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน นิกายคาลวิน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น ทาให้ความเป็นเอกภาพทางศาสนาสิ้นสุดลง  เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนามาก ยิ่งขึ้นในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนต่างๆ
  • 14. ผลของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)  สภาพสังคมเปลี่ยนไป นิกายโปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการ ประกอบอาชีพด้านการค้า และอุตสาหกรรม ระบบทุนนิยมในยุโรปจึง เจริญเติบโต  เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจากนิกาย โปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมให้อานาจแก่ ผู้ปกครองในท้องถิ่นเป็นตัวแทนของพระเจ้าในการปกครองประเทศ  เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้สถาบัน กษัตริย์มีอานาจเหนือคริสตจักรในที่สุด
  • 15. สมาชิกกลุ่ม นายณัฐกิตติ์ อินใจ เลขที่ ๒ นายสหัสชัย อินวงศ์วาร เลขที่ ๗ นางสาวการปฐม เกสรสุวรรณ เลขที่ ๑๓ นางสาวศิโรรัตน์ เตชะแก้ว เลขที่ ๒๐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑