SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Hologram Technology
Hologram Technology 
เทคโนโลยีโฮโลแกรม 
พรภัทรา จันทฉายา 57080702022 
รัตน์พิไล คูชัมภู 57080702025 
เสนอ ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ 
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษารายวิชา LTM633 
Advanced Graphics and Animation for Communication
โฮโลแกรม คือ ภาพชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะแบบ 3 มิติถูกสร้าง 
ขึ้นมาจากการบันทึกข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์โดยบันทึกริ้วรอย 
ของการสอดแทรก (Interference Pattern) ของแสงเลเซอร์ ทา 
ให้สามารถมองเห็นภาพในลักษณะ 3 มิติ มีความลึก ทา ให้ดู 
สวยงามและมีประโยชน์ในการใช้งานหลายด้าน 
เทคโนโลยีโฮโลแกรม (Hologram) ถูกสร้างขึ้นด้วย 
กระบวนการที่เรียกว่า โฮโลกราฟี่ (Holography) โดยโฮ 
โลกราฟีเป็นเทคนิคที่ช่วยให้แสงกระจายจากวัตถุที่จะ 
บันทึกและได้ถูกสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้ปรากฎเป็นวัตถุอยู่ 
ในตา แหน่งเดิมเมื่อเทียบกับการบันทึก
ประเภทของโฮโลแกรม 
White-light Hologram Laser Hologram 
ภาพโฮโลแกรมสามารถ 
มองเห็นได้ด้วยการส่องสว่าง 
ภาพโฮโลแกรม ต้องถูกส่องสว่าง 
ด้วยแสงเลเซอร์ หรือแสงที่มีสภาพ 
หน้าคลื่นสอดคล้องกันในระดับหนึ่ง 
จึงจะมองเห็นภาพ 3 มิติได้
เลเซอร์ของโฮโลแกรม 
โฮโลแกรมจะถูกบันทึกได้โดยใช้ไฟแฟลชของแสงที่ส่อง 
สว่างบนฉากรับภาพ แล้วประทับลงบนสื่อบันทึกข้อมูล 
พบมากในวิธีการถ่ายภาพที่ถูกบันทึกไว้
ต้นกา เนิดของ Hologram 
ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.1948 โดย 
ดร.เดนนิส กาเบอร์ (Dennis Gabor, 
1900-1979) วิศวกรไฟฟ้าชาวฮังการี โดย 
กาเบอร์ได้ค้นพบหลักการของโฮโล 
กราฟีโดยบังเอิญ ระหว่างการพัฒนา 
คุณภาพของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน 
จากการค้นพบนี้ทา ให้กาเบอร์ได้รับ 
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1971
หลังจากที่ได้มีการคิดค้นเลเซอร์ขึ้นมา 
ในปี ค.ศ.1960 และได้มีการนาเอา 
เลเซอร์มาประยุกต์ใช้ในปี ค.ศ.1964 โดย 
นักวิทยาศาสตร์ชื่อ E.Leith และ 
J.Upatniks ได้ร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยี 
Holography โดยใช้คุณสมบัติของแสง 
เลเซอร์ ทา ให้สามารถแสดงรูปภาพที่มี 
ความลึก ความกว้าง และเปลี่ยนแปลงได้ 
ตามมุมมอง
หลักการของ Hologram 
Hologram เป็นภาพที่มีลักษณะ 3 มิติ ใช้หลักการสร้างภาพให้มีการแทรก 
สอดของแสงที่มากระทบรูปภาพ โดยการฉายแสงเลเซอร์จากแหล่ง 
เดียวกัน แยกเป็น 2 ลา แสง ลา แสงหนึ่งเป็นลา แสงอ้างอิง เล็งตรงไปที่ 
แผ่นฟิล์ม
อีกลา แสงหนึ่งเล็งไปที่วัตถุและ 
สะท้อนไปยังฟิล์ม แสงจากทั้งสอง 
แหล่งจะถูกบันทึกไว้บนฟิล์มใน 
รูปแบบของการแทรกสอด 
(Interference Pattern) ซึ่งมองไม่ 
คล้ายกับรูปของวัตถุต้นแบบ 
ก่อให้เกิดภาพเสมือน (Virtual image) 
ขึ้นมาตามมุมของแสงที่มาตกกระทบ 
ทา ให้ตาของเรารับแสงอีกด้านหนึ่ง 
ของแผ่น Hologram เกิดเป็นภาพ 3 
มิติ
ข้นัตอนการสร้าง Hologram 
1. การบันทึกภาพ (Recording of image) เป็นการบันทึกแถบการ 
สอดแทรกเชิงซ้อน (Complex interference patterns) ซึ่งเกิดจากที่ 
แต่ละแสงเลเซอร์ 2 ลา แสงซ้อนทับกันอยู่ (Superposition) แถบ 
การสอดแทรกเชิงซ้อนนี้จะถูกบันทึกไว้บนฟิล์มถ่ายรูป 
(Photographic film)
ข้นัตอนการสร้าง Hologram (ต่อ) 
2. การสร้างภาพ 
(Reconstruction of 
image) เป็นการ 
สร้างภาพ 3 มิติ ขึ้น 
จากแผ่น
คุณสมบัติของ Hologram 
สีสันสดใส 
มองเห็นได้ชัดเจน 
แสดงภาพเคลื่อนไหว 3 มิติเสมือนจริง 
มีขนาดให้เลือก 
หลากหลาย 
ง่ายต่อการทา งาน
การประยุกต์ใช้ Hologram 
1. ใช้ในการสื่อสารทางไกล เพื่อลดข้อจา กัดในเรื่องสถานที่และการ 
เดินทาง อาทิ การปรากฎตัวของเจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ ทรงขึ้นปรากฎตัวบน 
เวทีการประชุมพลังงานสีเขียว ที่กรุงอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 
ทั้งๆ ที่พระองค์ประทับอยู่ที่พระราชวังในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ 
ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.youtube.com/embed/qf5esT95Glw
การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 
2. จัดแสดงสินค้า อาทิ การพบกันของคุณลุงหลุยส์ เชพโรเลต และ 
น้องเชฟวี่ ในบูธ Chevrolet งาน BOI fair 2011 มีการใช้เครื่อง 
แสดงภาพลอยตัวแบบสามมิติ ที่เรียกว่า Hologram Display เพื่อ 
เพิ่มจุดเด่นให้กับสินค้าหรือบริการ เป็นที่ดึงดูดใจแก่ผู้เข้าชม
การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 
3. เสริมสร้างความปลอดภัย โดยใช้โฮโลแกรมประเภทTransmission Hologram 
นามาใช้กับบัตรประชาชน บัตรขับขี่ ซึ่ง 
ตัว ฮอโลแกรมชนิดนี้จะทา ออกมาจาก 
โรงงานมีลักษณะคล้ายกระเป๋าใบเล็ก 
หรือซอง (Purse) นาบัตรหรือวัสดุที่ 
ต้องการทา มาสอดใส่ตรงกลางช่องว่าง 
นาไปรีดที่เครื่องจักรโดยใช้ความร้อนและ 
แรงกดจาก บน - ล่าง แผ่นฮอโลแกรมก็จะ 
ติดแนบกับบัตร
การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 
4. บันทึกข้อมูลด้วยอุปกรณ์ Holographic Storage 
ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้หลักการ Hologram ด้วยขนาด 
เพียง 5 นิ้ว สามารถจุได้สูงถึง 125 กิกะไบต์ เป็น 
อย่างต่า และอาจไปถึง Terra Byte (1000 GB) 
ส่วนความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลอยู่ที่30 เมกะ 
ไบต์ต่อวินาที 
การจัดเก็บแบบโฮโลแกรมนั้นมีความสามารถ 
ในการบันทึกและอ่านนับล้านบิตในแบบขนาน 
ทาให้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลที่สูงกว่าการ 
จัดเก็บแบบออปติคอลในปัจจุบัน
Hologram Showcase 
การจัดแสดงสินค้าด้วย Hologram Display 
เป็นการโฆษณาสินค้าของ Coca-Cola 
ซึ่งการใช้โฮโลแกรมเช่นนี้สามารถถ่ายทอดได้ 
โดยใช้การฉายรูปแบบ Pyramid Hologram 
ซึ่งภาพที่สร้างไว้จะแสดงผ่านอุปกรณ์ที่ถูกเร่ง 
แสงไว้จนสุด 
http://www.3dholodisplay.com
Hologram Showcase (ต่อ) 
Hatsune Miku นักร้องโฮโลแกรม 
3 มิติ ได้เปิดคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบ 
ครั้งแรกของโลกในคอนเสิร์ต 
Animelo Summer Live 2009 
ผลงานของบริษัท Yamaha ที่ได้ 
ริเริ่มโครงการที่มีชื่อว่า Vocaloid 
ซึ่งเป็นโปรแกรมเสียงสังเคราะห์ แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ในปี 2007 บริษัท 
Crpton Future Media ได้พัฒนาโปรแกรม Vocaloid 2 และถือเป็นการเปิด 
ตัวอย่างเป็นทางการของ Hatsune Miku
Hologram Showcase (ต่อ) 
เทคโนโลยีแบบซีเอ็นเอ็น รายงานสดผ่าน “โฮโลแกรม” 
เจสซิกา เยลลิน รายงานสดเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จากชิคาโกถึง 
ห้องส่งของซีเอ็นเอ็นในนิวยอร์กผ่านโฮโลแกรม (ภาพ Engadget)
Hologram Showcase (ต่อ) 
การใช้เทคโนโลยี Hologram ของ iPhone 5 ที่มี Laser Keyboard สะดวก 
และง่ายต่อการใช้งาน ของบริษัท Apple
Hologram Showcase (ต่อ) 
มีข่าวรายงานว่า บริษัทสัญชาติจีนแห่งหนึ่งได้ทา การผลิต Smart Phone ตัว 
แรกของโลกที่มี Interface แสดงภาพแบบ Hologram 3D รุ่น Estar Takee 1 
ใช้กล้องหน้าที่มีมากถึง 4 ตัว ในการจับการเคลื่อนไหวของดวงตาและ 
ท่าทางของผู้ใช้ แล้วสร้างภาพสามมิติขึ้นมา ซึ่งจะเปิดตัวในปีค.ศ. 2015
HOLOGRAM HOMEMADE 
การสร้างโฮโลแกรมสามารถทา เอง 
ได้ที่บ้านง่ายๆ ด้วย Smart Phone 
ด้วยการตัดกระจกเป็นลักษณะพีระมิด 
เมื่อนามาประกอบกันแล้ว นามาวางไว้ 
บนโทรศัพท์มือถือที่มีภาพกราฟิกสร้าง 
ไว้ และเร่งแสงหน้าจอให้สว่างที่สุด
HOLOGRAM HOMEMADE (ต่อ) 
การสร้างภาพโฮโลแกรม ต้องทา 4 มุมมอง
เอกสารอ้างอิง 
ปณพร พิบูลกุลสัมฤทธ์ิ, โฮโลแกรม (Hologram) [ออนไลน์], 
Available: http://cstproject.exteen.com/20100926/entry, [2557, ตุลาคม 19]. 
DMI master, Hologram 3D Showcase [ออนไลน์], Available: 
http://www.dmiinter.com/iptv/index.php/th/product/high-light-products/hologram-3d-showcase, 
[2557, ตุลาคม 19]. 
กัณฑิมา อังคสิงห์, 2555, Hologram การสร้างภาพ 3 มิติ [ออนไลน์], 
Available: http://kantima-arti3319.blogspot.com/2012/02/holography-hologram-3- 
hologram-3.html, [2557, ตุลาคม 19]. 
NUUNEOI, 2557, ทดลองทา Hologram Illustion โดยใช้ Nokia Lumia 1520 ด้วยงบ 
30 บาท [ออนไลน์], Available:http://nuuneoi.com/blog/blog.php?read_id=678, [2557, 
ตุลาคม 19]. 
Tinnarat kongruthaichai, 2556, ชมภาพโฮโลแกรมผ่านอุปกรณ์พกพาด้วย HOLHO 
[ออนไลน์], Available: http://www.beartai.com/news/1023, [2557, ตุลาคม 26].

Contenu connexe

Tendances

แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013Jariya Jaiyot
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 

Tendances (20)

แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 

En vedette

โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือ
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือHololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือ
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือNattawoot Jindakul
 
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Revill Noes
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Nathdar Destiny
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
Holographic versatile disc
Holographic versatile discHolographic versatile disc
Holographic versatile discAkhil Kumar
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPT
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPTNEW holography TECHNOLOGY ALL PPT
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPTConnecting Point
 
Microsoft hololens final ppt
Microsoft hololens final pptMicrosoft hololens final ppt
Microsoft hololens final pptrekhameenacs
 

En vedette (16)

Hologram
HologramHologram
Hologram
 
Hololens2
Hololens2Hololens2
Hololens2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือ
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือHololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือ
Hololens แว่นตาจำลองภาพโฮโลแกรม ควบคุมด้วยมือ
 
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
Story board1
Story board1Story board1
Story board1
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
Holographic versatile disc
Holographic versatile discHolographic versatile disc
Holographic versatile disc
 
Holography
HolographyHolography
Holography
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
Microsoft hololens ppt
Microsoft hololens pptMicrosoft hololens ppt
Microsoft hololens ppt
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPT
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPTNEW holography TECHNOLOGY ALL PPT
NEW holography TECHNOLOGY ALL PPT
 
Microsoft hololens final ppt
Microsoft hololens final pptMicrosoft hololens final ppt
Microsoft hololens final ppt
 

Hologram Technology

  • 2. Hologram Technology เทคโนโลยีโฮโลแกรม พรภัทรา จันทฉายา 57080702022 รัตน์พิไล คูชัมภู 57080702025 เสนอ ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษารายวิชา LTM633 Advanced Graphics and Animation for Communication
  • 3. โฮโลแกรม คือ ภาพชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะแบบ 3 มิติถูกสร้าง ขึ้นมาจากการบันทึกข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์โดยบันทึกริ้วรอย ของการสอดแทรก (Interference Pattern) ของแสงเลเซอร์ ทา ให้สามารถมองเห็นภาพในลักษณะ 3 มิติ มีความลึก ทา ให้ดู สวยงามและมีประโยชน์ในการใช้งานหลายด้าน เทคโนโลยีโฮโลแกรม (Hologram) ถูกสร้างขึ้นด้วย กระบวนการที่เรียกว่า โฮโลกราฟี่ (Holography) โดยโฮ โลกราฟีเป็นเทคนิคที่ช่วยให้แสงกระจายจากวัตถุที่จะ บันทึกและได้ถูกสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้ปรากฎเป็นวัตถุอยู่ ในตา แหน่งเดิมเมื่อเทียบกับการบันทึก
  • 4. ประเภทของโฮโลแกรม White-light Hologram Laser Hologram ภาพโฮโลแกรมสามารถ มองเห็นได้ด้วยการส่องสว่าง ภาพโฮโลแกรม ต้องถูกส่องสว่าง ด้วยแสงเลเซอร์ หรือแสงที่มีสภาพ หน้าคลื่นสอดคล้องกันในระดับหนึ่ง จึงจะมองเห็นภาพ 3 มิติได้
  • 5. เลเซอร์ของโฮโลแกรม โฮโลแกรมจะถูกบันทึกได้โดยใช้ไฟแฟลชของแสงที่ส่อง สว่างบนฉากรับภาพ แล้วประทับลงบนสื่อบันทึกข้อมูล พบมากในวิธีการถ่ายภาพที่ถูกบันทึกไว้
  • 6. ต้นกา เนิดของ Hologram ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.1948 โดย ดร.เดนนิส กาเบอร์ (Dennis Gabor, 1900-1979) วิศวกรไฟฟ้าชาวฮังการี โดย กาเบอร์ได้ค้นพบหลักการของโฮโล กราฟีโดยบังเอิญ ระหว่างการพัฒนา คุณภาพของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน จากการค้นพบนี้ทา ให้กาเบอร์ได้รับ รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1971
  • 7. หลังจากที่ได้มีการคิดค้นเลเซอร์ขึ้นมา ในปี ค.ศ.1960 และได้มีการนาเอา เลเซอร์มาประยุกต์ใช้ในปี ค.ศ.1964 โดย นักวิทยาศาสตร์ชื่อ E.Leith และ J.Upatniks ได้ร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยี Holography โดยใช้คุณสมบัติของแสง เลเซอร์ ทา ให้สามารถแสดงรูปภาพที่มี ความลึก ความกว้าง และเปลี่ยนแปลงได้ ตามมุมมอง
  • 8. หลักการของ Hologram Hologram เป็นภาพที่มีลักษณะ 3 มิติ ใช้หลักการสร้างภาพให้มีการแทรก สอดของแสงที่มากระทบรูปภาพ โดยการฉายแสงเลเซอร์จากแหล่ง เดียวกัน แยกเป็น 2 ลา แสง ลา แสงหนึ่งเป็นลา แสงอ้างอิง เล็งตรงไปที่ แผ่นฟิล์ม
  • 9. อีกลา แสงหนึ่งเล็งไปที่วัตถุและ สะท้อนไปยังฟิล์ม แสงจากทั้งสอง แหล่งจะถูกบันทึกไว้บนฟิล์มใน รูปแบบของการแทรกสอด (Interference Pattern) ซึ่งมองไม่ คล้ายกับรูปของวัตถุต้นแบบ ก่อให้เกิดภาพเสมือน (Virtual image) ขึ้นมาตามมุมของแสงที่มาตกกระทบ ทา ให้ตาของเรารับแสงอีกด้านหนึ่ง ของแผ่น Hologram เกิดเป็นภาพ 3 มิติ
  • 10. ข้นัตอนการสร้าง Hologram 1. การบันทึกภาพ (Recording of image) เป็นการบันทึกแถบการ สอดแทรกเชิงซ้อน (Complex interference patterns) ซึ่งเกิดจากที่ แต่ละแสงเลเซอร์ 2 ลา แสงซ้อนทับกันอยู่ (Superposition) แถบ การสอดแทรกเชิงซ้อนนี้จะถูกบันทึกไว้บนฟิล์มถ่ายรูป (Photographic film)
  • 11. ข้นัตอนการสร้าง Hologram (ต่อ) 2. การสร้างภาพ (Reconstruction of image) เป็นการ สร้างภาพ 3 มิติ ขึ้น จากแผ่น
  • 12. คุณสมบัติของ Hologram สีสันสดใส มองเห็นได้ชัดเจน แสดงภาพเคลื่อนไหว 3 มิติเสมือนจริง มีขนาดให้เลือก หลากหลาย ง่ายต่อการทา งาน
  • 13. การประยุกต์ใช้ Hologram 1. ใช้ในการสื่อสารทางไกล เพื่อลดข้อจา กัดในเรื่องสถานที่และการ เดินทาง อาทิ การปรากฎตัวของเจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ ทรงขึ้นปรากฎตัวบน เวทีการประชุมพลังงานสีเขียว ที่กรุงอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทั้งๆ ที่พระองค์ประทับอยู่ที่พระราชวังในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.youtube.com/embed/qf5esT95Glw
  • 14. การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 2. จัดแสดงสินค้า อาทิ การพบกันของคุณลุงหลุยส์ เชพโรเลต และ น้องเชฟวี่ ในบูธ Chevrolet งาน BOI fair 2011 มีการใช้เครื่อง แสดงภาพลอยตัวแบบสามมิติ ที่เรียกว่า Hologram Display เพื่อ เพิ่มจุดเด่นให้กับสินค้าหรือบริการ เป็นที่ดึงดูดใจแก่ผู้เข้าชม
  • 15. การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 3. เสริมสร้างความปลอดภัย โดยใช้โฮโลแกรมประเภทTransmission Hologram นามาใช้กับบัตรประชาชน บัตรขับขี่ ซึ่ง ตัว ฮอโลแกรมชนิดนี้จะทา ออกมาจาก โรงงานมีลักษณะคล้ายกระเป๋าใบเล็ก หรือซอง (Purse) นาบัตรหรือวัสดุที่ ต้องการทา มาสอดใส่ตรงกลางช่องว่าง นาไปรีดที่เครื่องจักรโดยใช้ความร้อนและ แรงกดจาก บน - ล่าง แผ่นฮอโลแกรมก็จะ ติดแนบกับบัตร
  • 16. การประยุกต์ใช้ Hologram (ต่อ) 4. บันทึกข้อมูลด้วยอุปกรณ์ Holographic Storage ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้หลักการ Hologram ด้วยขนาด เพียง 5 นิ้ว สามารถจุได้สูงถึง 125 กิกะไบต์ เป็น อย่างต่า และอาจไปถึง Terra Byte (1000 GB) ส่วนความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลอยู่ที่30 เมกะ ไบต์ต่อวินาที การจัดเก็บแบบโฮโลแกรมนั้นมีความสามารถ ในการบันทึกและอ่านนับล้านบิตในแบบขนาน ทาให้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลที่สูงกว่าการ จัดเก็บแบบออปติคอลในปัจจุบัน
  • 17. Hologram Showcase การจัดแสดงสินค้าด้วย Hologram Display เป็นการโฆษณาสินค้าของ Coca-Cola ซึ่งการใช้โฮโลแกรมเช่นนี้สามารถถ่ายทอดได้ โดยใช้การฉายรูปแบบ Pyramid Hologram ซึ่งภาพที่สร้างไว้จะแสดงผ่านอุปกรณ์ที่ถูกเร่ง แสงไว้จนสุด http://www.3dholodisplay.com
  • 18. Hologram Showcase (ต่อ) Hatsune Miku นักร้องโฮโลแกรม 3 มิติ ได้เปิดคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบ ครั้งแรกของโลกในคอนเสิร์ต Animelo Summer Live 2009 ผลงานของบริษัท Yamaha ที่ได้ ริเริ่มโครงการที่มีชื่อว่า Vocaloid ซึ่งเป็นโปรแกรมเสียงสังเคราะห์ แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ในปี 2007 บริษัท Crpton Future Media ได้พัฒนาโปรแกรม Vocaloid 2 และถือเป็นการเปิด ตัวอย่างเป็นทางการของ Hatsune Miku
  • 19. Hologram Showcase (ต่อ) เทคโนโลยีแบบซีเอ็นเอ็น รายงานสดผ่าน “โฮโลแกรม” เจสซิกา เยลลิน รายงานสดเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จากชิคาโกถึง ห้องส่งของซีเอ็นเอ็นในนิวยอร์กผ่านโฮโลแกรม (ภาพ Engadget)
  • 20. Hologram Showcase (ต่อ) การใช้เทคโนโลยี Hologram ของ iPhone 5 ที่มี Laser Keyboard สะดวก และง่ายต่อการใช้งาน ของบริษัท Apple
  • 21. Hologram Showcase (ต่อ) มีข่าวรายงานว่า บริษัทสัญชาติจีนแห่งหนึ่งได้ทา การผลิต Smart Phone ตัว แรกของโลกที่มี Interface แสดงภาพแบบ Hologram 3D รุ่น Estar Takee 1 ใช้กล้องหน้าที่มีมากถึง 4 ตัว ในการจับการเคลื่อนไหวของดวงตาและ ท่าทางของผู้ใช้ แล้วสร้างภาพสามมิติขึ้นมา ซึ่งจะเปิดตัวในปีค.ศ. 2015
  • 22. HOLOGRAM HOMEMADE การสร้างโฮโลแกรมสามารถทา เอง ได้ที่บ้านง่ายๆ ด้วย Smart Phone ด้วยการตัดกระจกเป็นลักษณะพีระมิด เมื่อนามาประกอบกันแล้ว นามาวางไว้ บนโทรศัพท์มือถือที่มีภาพกราฟิกสร้าง ไว้ และเร่งแสงหน้าจอให้สว่างที่สุด
  • 23. HOLOGRAM HOMEMADE (ต่อ) การสร้างภาพโฮโลแกรม ต้องทา 4 มุมมอง
  • 24. เอกสารอ้างอิง ปณพร พิบูลกุลสัมฤทธ์ิ, โฮโลแกรม (Hologram) [ออนไลน์], Available: http://cstproject.exteen.com/20100926/entry, [2557, ตุลาคม 19]. DMI master, Hologram 3D Showcase [ออนไลน์], Available: http://www.dmiinter.com/iptv/index.php/th/product/high-light-products/hologram-3d-showcase, [2557, ตุลาคม 19]. กัณฑิมา อังคสิงห์, 2555, Hologram การสร้างภาพ 3 มิติ [ออนไลน์], Available: http://kantima-arti3319.blogspot.com/2012/02/holography-hologram-3- hologram-3.html, [2557, ตุลาคม 19]. NUUNEOI, 2557, ทดลองทา Hologram Illustion โดยใช้ Nokia Lumia 1520 ด้วยงบ 30 บาท [ออนไลน์], Available:http://nuuneoi.com/blog/blog.php?read_id=678, [2557, ตุลาคม 19]. Tinnarat kongruthaichai, 2556, ชมภาพโฮโลแกรมผ่านอุปกรณ์พกพาด้วย HOLHO [ออนไลน์], Available: http://www.beartai.com/news/1023, [2557, ตุลาคม 26].