SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Antimuscarinic drugs
คือ Cholinergic blocking agents ยับยั้งการออกฤทธิ์ของ Acetylcholine และสารประกอบที่ให้ผล
เช่นเดียวกับ Acetylcholine ที่ muscarinic receptor อาจเรียกชื่อเป็น Antiparasympathetic หรือ
spasmolytic agents ผลการยับยั้งจะให้ผลตรงข้ามกับการทางานของ Acetylcholine คือ ลดการหลั่ง
ของน้าลาย (ปากแห้ง คอแห้ง) ลดการหลั่งน้าย่อย ลดการเคลื่อนไหวของลาไส้ และทางเดินปัสสาวะ
ม่านตาขยาย และกล้ามเนื้อหลอดลมคลายตัว
SAR
1. ส่วนใหญ่ n = 1 หรือ 2 ระยะระหว่าง N และ C ของหมู่ carbonyl ประมาณ 5 Ao
2. ส่วนใหญ่ N เป็น tertiaryamine ซึ่งผ่านเข้าสู่สมองได้หากเป็น quaternary ammonium จะผ่านเข้าสู่สมองไม่ได้
Ref. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 315
สูตรโครงสร้างทั่วไป (Spasmolyticformula)
Antimuscarinic drugs
1. Atropine มี 2 enantiomer ; Hyoscyamine เป็น levorotary isomer ของ atropine ส่วน Scopolamine มีอีก
ชื่อหนึ่งว่า Hyoscine มีความต่างจาก Hyoscyamine ตรงที่มี epoxy ring
2. Atropine และ Hyoscine สกัดมาจาก Atropa belladonna และ Hyoscine อาจสกัดจากพืชสกุล Scopolia
ได้ด้วย ซึ่งพืชทั้งสองจัดอยู่ในวงศ์Solanaceae (วงศ์มะเขือ)
3. ทั้ง Atropine , Hyoscyamine และ Scopolamine (หรือ Hyoscine) จัดเป็น Tropane alkaloids
4. Atropine ในรูปแบบยาฉีดจะอยู่ในรูปเกลือ Atropine Sulfate ใช้เป็นยาต้านพิษยาฆ่าแมลงกลุ่ม
organophosphate และ carbamates ที่เกิดจากกระตุ้น muscarinic receptor , ต้านฤทธิ์ยาที่ทาให้การเต้น
ของหัวใจช้าลง ได้แก่ digitalisและ beta blockers , ต้านฤทธิ์สารที่เป็น cholinergic เช่น เห็ดบางชนิด
5. ยาหยอดตา Atropine sulfate มีฤทธิ์ทาให้ม่านตาขยาย ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน เพราะจะเพิ่มความ
ดันในลูกตา
แสดง enantiomer ทั้งสองของ atropine Epoxyring
(Hyoscine)
Ref. 1. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 315-317
2. http://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/anti-cov/atropine
ตัวอย่างยาฉีด
Atropine sulfate
ตัวอย่างยาตา
Atropine sulfate
http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=105
ชื่อสมุนไพร ลาโพง
ชื่ออื่นๆ ลาโพงขาว มะเขือบ้า ลาโพงกาสลัก กาสลัก มะเขือบ้าดอกดา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Datura metel L. var. fastuosa (Bernh.) Danert.
ชื่อพ้อง Datura fastuosa L.
ชื่อวงศ์Solanaceae
สรรพคุณ:
ตำรำยำไทย ใช้ ใบ รสขมเมาเบื่อ ตาพอกฝี ทาให้ยุบ แก้สะอึกในไข้พิษไข้กาฬ ยาพอกแก้โรคผิวหนังกลากเกลื้อน แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษสัตว์กัดต่อย
แก้พิษฝี แก้ปวดแสบบวมที่แผล แก้ปวดบวม อักเสบ ใช้ทาแก้อักเสบเต้านม มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อเรียบ แก้อาการปวดเกร็งท้อง และขยายหลอดลม แก้หอบ
หืด มีฤทธิ์กดสมอง แก้อาเจียนจากเมารถเมาเรือ แต่มีอำกำรข้ำงเคียงคือ ปากคอแห้ง ใบและยอด มีอัลคาลอยด์ ที่มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อเรียบ แก้อาการปวด
ท้องเกร็ง และขยายหลอดลม ดอก รสเมาเบื่อ ตากแห้งผสมยาเส้นสูบ แก้หอบหืด โพรงจมูกอักเสบ แก้ริดสีดวงจมูก มีสารแก้การตีบตัวของหลอดลม เมล็ด
รสเมาเบื่อ คั่วให้หมดน้ามัน ปรุงยาแก้ไข้พิษ ไข้กระสับกระส่าย น้ำมันจำกเมล็ด รสเมาเบื่อ ปรุงยาใส่แผล แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน หิดเหา เมล็ดทาบรรเทา
อาการปวดเมื่อย ขัดยอก โดยนาเมล็ด 30 กรัม ทุบพอแหลก แล้วแช่กับน้ามันพืช ทาตรงบริเวณที่ปวดเมื่อย หรือขัดยอก จะช่วยบรรเทาอาการปวด แต่ต้อง
แช่เอาไว้ประมาณ 7 วัน จึงจะนามาใช้ได้ และใช้ใส่ฟันที่เป็นรู ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ รำก รสเมาเบื่อหวาน ฝนทาพิษร้อน ดับพิษฝี แก้ปวดบวมแก้
อักเสบ สุมเป็นถ่านปรุงยารับประทาน แก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้เซื่องซึม เปลือกผล รสเมาเบื่อ แก้มะเร็ง คุดทะราด แก้กระษัย แก้ริดสีดวง ทุกส่วน มีฤทธิ์เป็นยา
เสพติดระงับปวด แก้อาการเกร็ง ทั้งต้น เป็นยาระงับปวด แก้อาการเกร็ง น้าคั้นจากต้นเมื่อหยอดตาจะทาให้ม่านตาขยาย
ข้อควรระวัง
ผลและเมล็ดเป็นพิษ มีสารอัลคาลอยด์ hyoscine, hyoscyamine ถ้ากินเข้าไปทาให้เกิดอาการเริ่มต้นคือสายตาพร่ามัว ปากแห้ง กระหายน้ามาก
ม่านตาขยายและปรับสายตาไม่ได้ทาให้ตาไม่สู้แสง ผิวหนังร้อนแดงและมีผื่นแดงตามใบหน้า คอและหน้าอก ไข้ขึ้นสูง ปวดศีรษะ ความรู้สึกสับสน การ
ทางานของกล้ามเนื้อผิดปกติ ถ้าได้รับมาก วิกลจริต เพ้อคลั่ง เคลิ้มฝัน มีอาการทางจิตและประสาท ตื่นเต้น ตาแข็ง หายใจไม่สะดวก พูดไม่ออก หายใจช้าลง
ตัวเขียว เมื่อแก้พิษหายแล้ว จะมีอาการวิกลจริตติดอยู่ตลอดไป รักษาไม่ค่อยหาย
Herbal antimuscarinic drugs
http://flipper.diff.org/app/items/4260
Hyoscine-n-butyl bromide (BuscopanR)
n-butyl group Semisynthetic antimuscarinic drugs
1. Hyoscine-n-butyl bromide มีอีกชื่อหนึ่งว่า Butylscopolamine เป็นสารประกอบ quaternary ammonium เป็นสารกึ่ง
สังเคราะห์จาก Scopolamine หรือ Hyoscine การเพิ่มส่วนของ n-butyl group ที่ N เพื่อให้ตัวยาไม่ผ่าน blood brain barrier
เพื่อลดผลไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทกลางเหมือน hyoscine
2. ใช้บรรเทาอาการปวดเกร็งช่องท้องที่มีสาเหตุมาจากการหดเกร็งกล้ามเนื้อที่บริเวณกระเพาะอาหาร หรือกระเพาะปัสสาวะ ,
ใช้รักษากลุ่มอาการลาไส้แปรปรวน (Irritablebowel syndrome :IBS) , ใช้ลดการหลั่งของเหลวในปอด
3. อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันทีมีดังนี้ ปวดตา ตาแดง หรือการมองเห็นผิดปกติ หัวใจเต้นเร็ว
หรือช้าผิดปกติ ถ่ายปัสสาวะลาบากหรือเจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ
4. อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัช
กรทราบ มีดังนี้ ปากแห้ง ผิวแห้ง ท้องผูก ตาสู้แสงไม่ได้
ตัวอย่างยาเม็ด ยาน้า และยาฉีด Hyoscine-n-butylbromide
http://www.yaandyou.net/index.php/component/drug/?nsetidT=4806&drugname=HYOSCINE+%5BBUTYLBROMIDE%5D&drugtype=g://flipper.diff.org/app/items/4260
Dicyclomine Hydrochloride
Synthetic antimuscarinic drugs
Flavoxate Hydrochloride
สารสังเคราะห์ Antimuscarinicdrugs มักมีส่วนกรดใหญ่กว่าส่วนของ Acetyl group ของ Acetylcholine และหมู่แทนที่ที่ N มีขนาดใหญ่ขึ้น
ตัวอย่างยาเม็ดที่มี Dicyclomine HCl เป็นส่วนประกอบ
ในท้องตลาดจะมีทั้งชนิดเป็นยาเดี่ยว และสูตรผสม
ระหว่าง Mefenamic acid กับ DicyclomineHCl
ตัวอย่างยาเม็ดที่มี Flavoxate HCl เป็นส่วนประกอบ
มีทั้งชนิด100 มก. และ 200มก. ต่อเม็ด
Ref. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 317
Flavoxate HCl ใช้เพื่อบรรเทาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อทางเดินปัสสาวะ หากรับประทานแล้วมีอาการง่วงนอน มึนงง หรือเห็นภาพซ้อน ควรหลีกเลี่ยง
การขับรถ การทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร หรือการทางานใดๆที่ต้องอาศัยสมาธิ ไม่ควรใช้ flavoxate HCl ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี และควรระมัดระวังในการใช้
กับสตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคต้อหิน
(จาก เอกสารกากับยา และ http://www.yaandyou.net/index.php/component/drug/?nsetidT=1604&drugname=FLAVOXATE+%5BHYDROCHLORIDE%5D&drugtype=g
Antispasmodic drug But Not Anticholinergic drug
Drotaverine ยับยั้งการทางานของ
enzyme Phosphodiesterase-4 (PDE-4)
ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เปลี่ยน cyclic adenosine
monophosphate (cAMP) ให้เป็น AMP
ส่งผลให้สาร cAMP ในเซลล์เพิ่มขึ้นซึ่ง
ไปยับยั้ง myosin light chain kinase ทาให้
กล้ามเนื้อเรียบไม่หดตัว ยาตัวนี้จึงไม่มี
antichloinergic effects สูตรโครงสร้าง
related to papaverine มีข้อห้ามใช้ในผู้ที่
แพ้ยา drotaverine , ผู้ที่เป็นโรค porphyria
ซึ่งเป็นโรคเลือดชนิดหนึ่ง, ตับ ไตและ
หัวใจทางานบกพร่องอย่างรุนแรง อาการ
ไม่พึงประสงค์อาจพบความดันต่า ปวด
ศีรษะ เวียนศีรษะแบบหมุน
http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=13339&gid=7

Contenu connexe

Tendances

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
Ospemu
OspemuOspemu
Ospemu
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 

En vedette

Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...
Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...
Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...DR. JONATHAN D'SOUZA (PhD)
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆsome163
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2Share Rora
 
Cholinergic drugs thea
Cholinergic drugs theaCholinergic drugs thea
Cholinergic drugs theaThea Fresnoza
 
Anticholinergics Med Chem Lecture
Anticholinergics Med Chem LectureAnticholinergics Med Chem Lecture
Anticholinergics Med Chem Lecturesagar joshi
 
3.cholinergic drugs
3.cholinergic drugs3.cholinergic drugs
3.cholinergic drugsIAU Dent
 
Cholinergic agonists - medicinal chemistry updated
Cholinergic agonists  -  medicinal chemistry updatedCholinergic agonists  -  medicinal chemistry updated
Cholinergic agonists - medicinal chemistry updatedkaami16
 
Cholinergic antagonists medicinal chemistry
Cholinergic antagonists medicinal chemistryCholinergic antagonists medicinal chemistry
Cholinergic antagonists medicinal chemistrykaami16
 
Cholinergic drugs ppt
Cholinergic drugs pptCholinergic drugs ppt
Cholinergic drugs pptpharma stuff
 

En vedette (12)

Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...
Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...
Propiverine hydrochloride vs previous anticholinergic agents (For Overactive ...
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2
 
Cholinergic drugs thea
Cholinergic drugs theaCholinergic drugs thea
Cholinergic drugs thea
 
Anticholinergics Med Chem Lecture
Anticholinergics Med Chem LectureAnticholinergics Med Chem Lecture
Anticholinergics Med Chem Lecture
 
3.cholinergic drugs
3.cholinergic drugs3.cholinergic drugs
3.cholinergic drugs
 
Cholinergic agonists - medicinal chemistry updated
Cholinergic agonists  -  medicinal chemistry updatedCholinergic agonists  -  medicinal chemistry updated
Cholinergic agonists - medicinal chemistry updated
 
Cholinergic antagonists medicinal chemistry
Cholinergic antagonists medicinal chemistryCholinergic antagonists medicinal chemistry
Cholinergic antagonists medicinal chemistry
 
Cholinergic drugs ppt
Cholinergic drugs pptCholinergic drugs ppt
Cholinergic drugs ppt
 

Similaire à Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)

การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ GppKanon Thamcharoen
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessationsoftganz
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutadriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 

Similaire à Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ) (9)

การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handout
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 

Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)

  • 1. Antimuscarinic drugs คือ Cholinergic blocking agents ยับยั้งการออกฤทธิ์ของ Acetylcholine และสารประกอบที่ให้ผล เช่นเดียวกับ Acetylcholine ที่ muscarinic receptor อาจเรียกชื่อเป็น Antiparasympathetic หรือ spasmolytic agents ผลการยับยั้งจะให้ผลตรงข้ามกับการทางานของ Acetylcholine คือ ลดการหลั่ง ของน้าลาย (ปากแห้ง คอแห้ง) ลดการหลั่งน้าย่อย ลดการเคลื่อนไหวของลาไส้ และทางเดินปัสสาวะ ม่านตาขยาย และกล้ามเนื้อหลอดลมคลายตัว SAR 1. ส่วนใหญ่ n = 1 หรือ 2 ระยะระหว่าง N และ C ของหมู่ carbonyl ประมาณ 5 Ao 2. ส่วนใหญ่ N เป็น tertiaryamine ซึ่งผ่านเข้าสู่สมองได้หากเป็น quaternary ammonium จะผ่านเข้าสู่สมองไม่ได้ Ref. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 315 สูตรโครงสร้างทั่วไป (Spasmolyticformula)
  • 2. Antimuscarinic drugs 1. Atropine มี 2 enantiomer ; Hyoscyamine เป็น levorotary isomer ของ atropine ส่วน Scopolamine มีอีก ชื่อหนึ่งว่า Hyoscine มีความต่างจาก Hyoscyamine ตรงที่มี epoxy ring 2. Atropine และ Hyoscine สกัดมาจาก Atropa belladonna และ Hyoscine อาจสกัดจากพืชสกุล Scopolia ได้ด้วย ซึ่งพืชทั้งสองจัดอยู่ในวงศ์Solanaceae (วงศ์มะเขือ) 3. ทั้ง Atropine , Hyoscyamine และ Scopolamine (หรือ Hyoscine) จัดเป็น Tropane alkaloids 4. Atropine ในรูปแบบยาฉีดจะอยู่ในรูปเกลือ Atropine Sulfate ใช้เป็นยาต้านพิษยาฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphate และ carbamates ที่เกิดจากกระตุ้น muscarinic receptor , ต้านฤทธิ์ยาที่ทาให้การเต้น ของหัวใจช้าลง ได้แก่ digitalisและ beta blockers , ต้านฤทธิ์สารที่เป็น cholinergic เช่น เห็ดบางชนิด 5. ยาหยอดตา Atropine sulfate มีฤทธิ์ทาให้ม่านตาขยาย ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน เพราะจะเพิ่มความ ดันในลูกตา แสดง enantiomer ทั้งสองของ atropine Epoxyring (Hyoscine) Ref. 1. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 315-317 2. http://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/anti-cov/atropine ตัวอย่างยาฉีด Atropine sulfate ตัวอย่างยาตา Atropine sulfate
  • 3. http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=105 ชื่อสมุนไพร ลาโพง ชื่ออื่นๆ ลาโพงขาว มะเขือบ้า ลาโพงกาสลัก กาสลัก มะเขือบ้าดอกดา ชื่อวิทยาศาสตร์ Datura metel L. var. fastuosa (Bernh.) Danert. ชื่อพ้อง Datura fastuosa L. ชื่อวงศ์Solanaceae สรรพคุณ: ตำรำยำไทย ใช้ ใบ รสขมเมาเบื่อ ตาพอกฝี ทาให้ยุบ แก้สะอึกในไข้พิษไข้กาฬ ยาพอกแก้โรคผิวหนังกลากเกลื้อน แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษสัตว์กัดต่อย แก้พิษฝี แก้ปวดแสบบวมที่แผล แก้ปวดบวม อักเสบ ใช้ทาแก้อักเสบเต้านม มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อเรียบ แก้อาการปวดเกร็งท้อง และขยายหลอดลม แก้หอบ หืด มีฤทธิ์กดสมอง แก้อาเจียนจากเมารถเมาเรือ แต่มีอำกำรข้ำงเคียงคือ ปากคอแห้ง ใบและยอด มีอัลคาลอยด์ ที่มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อเรียบ แก้อาการปวด ท้องเกร็ง และขยายหลอดลม ดอก รสเมาเบื่อ ตากแห้งผสมยาเส้นสูบ แก้หอบหืด โพรงจมูกอักเสบ แก้ริดสีดวงจมูก มีสารแก้การตีบตัวของหลอดลม เมล็ด รสเมาเบื่อ คั่วให้หมดน้ามัน ปรุงยาแก้ไข้พิษ ไข้กระสับกระส่าย น้ำมันจำกเมล็ด รสเมาเบื่อ ปรุงยาใส่แผล แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน หิดเหา เมล็ดทาบรรเทา อาการปวดเมื่อย ขัดยอก โดยนาเมล็ด 30 กรัม ทุบพอแหลก แล้วแช่กับน้ามันพืช ทาตรงบริเวณที่ปวดเมื่อย หรือขัดยอก จะช่วยบรรเทาอาการปวด แต่ต้อง แช่เอาไว้ประมาณ 7 วัน จึงจะนามาใช้ได้ และใช้ใส่ฟันที่เป็นรู ช่วยบรรเทาอาการปวดได้ รำก รสเมาเบื่อหวาน ฝนทาพิษร้อน ดับพิษฝี แก้ปวดบวมแก้ อักเสบ สุมเป็นถ่านปรุงยารับประทาน แก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้เซื่องซึม เปลือกผล รสเมาเบื่อ แก้มะเร็ง คุดทะราด แก้กระษัย แก้ริดสีดวง ทุกส่วน มีฤทธิ์เป็นยา เสพติดระงับปวด แก้อาการเกร็ง ทั้งต้น เป็นยาระงับปวด แก้อาการเกร็ง น้าคั้นจากต้นเมื่อหยอดตาจะทาให้ม่านตาขยาย ข้อควรระวัง ผลและเมล็ดเป็นพิษ มีสารอัลคาลอยด์ hyoscine, hyoscyamine ถ้ากินเข้าไปทาให้เกิดอาการเริ่มต้นคือสายตาพร่ามัว ปากแห้ง กระหายน้ามาก ม่านตาขยายและปรับสายตาไม่ได้ทาให้ตาไม่สู้แสง ผิวหนังร้อนแดงและมีผื่นแดงตามใบหน้า คอและหน้าอก ไข้ขึ้นสูง ปวดศีรษะ ความรู้สึกสับสน การ ทางานของกล้ามเนื้อผิดปกติ ถ้าได้รับมาก วิกลจริต เพ้อคลั่ง เคลิ้มฝัน มีอาการทางจิตและประสาท ตื่นเต้น ตาแข็ง หายใจไม่สะดวก พูดไม่ออก หายใจช้าลง ตัวเขียว เมื่อแก้พิษหายแล้ว จะมีอาการวิกลจริตติดอยู่ตลอดไป รักษาไม่ค่อยหาย Herbal antimuscarinic drugs
  • 5. Hyoscine-n-butyl bromide (BuscopanR) n-butyl group Semisynthetic antimuscarinic drugs 1. Hyoscine-n-butyl bromide มีอีกชื่อหนึ่งว่า Butylscopolamine เป็นสารประกอบ quaternary ammonium เป็นสารกึ่ง สังเคราะห์จาก Scopolamine หรือ Hyoscine การเพิ่มส่วนของ n-butyl group ที่ N เพื่อให้ตัวยาไม่ผ่าน blood brain barrier เพื่อลดผลไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทกลางเหมือน hyoscine 2. ใช้บรรเทาอาการปวดเกร็งช่องท้องที่มีสาเหตุมาจากการหดเกร็งกล้ามเนื้อที่บริเวณกระเพาะอาหาร หรือกระเพาะปัสสาวะ , ใช้รักษากลุ่มอาการลาไส้แปรปรวน (Irritablebowel syndrome :IBS) , ใช้ลดการหลั่งของเหลวในปอด 3. อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันทีมีดังนี้ ปวดตา ตาแดง หรือการมองเห็นผิดปกติ หัวใจเต้นเร็ว หรือช้าผิดปกติ ถ่ายปัสสาวะลาบากหรือเจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ 4. อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดระหว่างใช้ยา หากเป็นต่อเนื่อง หรือ รบกวนชีวิตประจาวัน ให้ แจ้งแพทย์หรือเภสัช กรทราบ มีดังนี้ ปากแห้ง ผิวแห้ง ท้องผูก ตาสู้แสงไม่ได้ ตัวอย่างยาเม็ด ยาน้า และยาฉีด Hyoscine-n-butylbromide http://www.yaandyou.net/index.php/component/drug/?nsetidT=4806&drugname=HYOSCINE+%5BBUTYLBROMIDE%5D&drugtype=g://flipper.diff.org/app/items/4260
  • 6. Dicyclomine Hydrochloride Synthetic antimuscarinic drugs Flavoxate Hydrochloride สารสังเคราะห์ Antimuscarinicdrugs มักมีส่วนกรดใหญ่กว่าส่วนของ Acetyl group ของ Acetylcholine และหมู่แทนที่ที่ N มีขนาดใหญ่ขึ้น ตัวอย่างยาเม็ดที่มี Dicyclomine HCl เป็นส่วนประกอบ ในท้องตลาดจะมีทั้งชนิดเป็นยาเดี่ยว และสูตรผสม ระหว่าง Mefenamic acid กับ DicyclomineHCl ตัวอย่างยาเม็ดที่มี Flavoxate HCl เป็นส่วนประกอบ มีทั้งชนิด100 มก. และ 200มก. ต่อเม็ด Ref. ระวีวรรณ สิทธิโอสถ ; เคมีเภสัช CM473 หน้า 317 Flavoxate HCl ใช้เพื่อบรรเทาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อทางเดินปัสสาวะ หากรับประทานแล้วมีอาการง่วงนอน มึนงง หรือเห็นภาพซ้อน ควรหลีกเลี่ยง การขับรถ การทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร หรือการทางานใดๆที่ต้องอาศัยสมาธิ ไม่ควรใช้ flavoxate HCl ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี และควรระมัดระวังในการใช้ กับสตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคต้อหิน (จาก เอกสารกากับยา และ http://www.yaandyou.net/index.php/component/drug/?nsetidT=1604&drugname=FLAVOXATE+%5BHYDROCHLORIDE%5D&drugtype=g
  • 7. Antispasmodic drug But Not Anticholinergic drug Drotaverine ยับยั้งการทางานของ enzyme Phosphodiesterase-4 (PDE-4) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เปลี่ยน cyclic adenosine monophosphate (cAMP) ให้เป็น AMP ส่งผลให้สาร cAMP ในเซลล์เพิ่มขึ้นซึ่ง ไปยับยั้ง myosin light chain kinase ทาให้ กล้ามเนื้อเรียบไม่หดตัว ยาตัวนี้จึงไม่มี antichloinergic effects สูตรโครงสร้าง related to papaverine มีข้อห้ามใช้ในผู้ที่ แพ้ยา drotaverine , ผู้ที่เป็นโรค porphyria ซึ่งเป็นโรคเลือดชนิดหนึ่ง, ตับ ไตและ หัวใจทางานบกพร่องอย่างรุนแรง อาการ ไม่พึงประสงค์อาจพบความดันต่า ปวด ศีรษะ เวียนศีรษะแบบหมุน http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=13339&gid=7