SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  90
Télécharger pour lire hors ligne
การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
SUSTAINABLE TOURISM PLANNING
TM306
เทอม 2 / 2557
ครั้งที่ 3 – 5
บรรยายโดย
ดร.สมนึก จงมีวศิน (อ.เขียว)
การประเมินศักยภาพ
และ
คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว
(มรดกในพื้นที่)
เพื่อการพัฒนา
และ
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(ส่วนที่ 1 ของ SUSTAINABLE TOURISM PLANNING)
โมเดลการจัดเตรียมการประเมินศักยภาพ
และ
คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว
(มรดกในพื้นที่)
เพื่อการพัฒนา
และ
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ขั้นตอนการจัดสร้างแผนงาน
การบริหารจัดการมรดกในชุมชนเพื่อความยั่งยืน
1 ชื่อพื้นที่มรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
(ชื่อทางการ และ ชื่อไม่เป็นทางการ)
2 ตาแหน่ง (หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด)
3 ขนาดของพื้นที่ (ไร่ งาน ตารางเมตร ตารางวา ฯลฯ)
4 ลักษณะพื้นที่ .. สภาพทางภูมิศาสตร์
(ที่ราบลุ่ม ป่า ภูเขา แม่น้า คลอง อ่าว แหลม ฯลฯ)
5 ประเภทของพื้นที่
(พื้นที่ต้นน้า พื้นที่กลางน้า พื้นที่ปลายน้า)
ตัวอย่าง ลักษณะและประเภทของพื้นที่ (เพิ่มเติม)
• พื้นที่ที่ได้รับการจัดการ เช่น ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์ ป่าปลูก
• พื้นที่เกษตรกรรมแบบดั้งเดิม เช่น ทุ่งนา ทุ่งหญ้า ไร่บุกเบิก
• พื้นที่เกษตรกรรมผสม แบบดั้งเดิม และ แบบสมัยใหม่ เช่น การเริ่มปลูกพืชพันธุ์ชนิดเดี่ยวเป็น
จานวนมากกว่าการปลูกหลายชนิดปนกัน แต่ยังมีสภาพเป็นธรรมชาติอยู่
• พื้นที่เกษตรกรรมแบบสมัยใหม่ เช่น การปลูกพืชพันธุ์เดียวเกือบทั้งพื้นที่ และสภาพธรรมชาติเดิม
เหลือน้อยลง
• พื้นที่รอบนอกศูนย์กลางเมือง เช่น เมืองขนาดเล็กที่มีที่พักอาศัยร่วมกับ ร้านค้า ไร่สวนพื้นที่
เกษตรกรรม และพื้นที่ธรรมชาติ
• พื้นที่ในเมือง เช่น สภาพแวดล้อมที่มีการก่อสร้างหนาแน่น มีสวนสาธารณะเป็นสภาพแวดล้อมที่
สร้างขึ้น
• พื้นที่ทางโบราณคดี เช่น ป้ อมปราการ เมืองโบราณ การตั้งถิ่นฐานโบราณ
• พื้นที่ทางประวัติศาสตร์ เช่น สนามรบ ชุมชนเมือง พื้นที่อุตสาหกรรมเก่า โรงสี ท่าเรือเก่า อ่างเก็บ
น้าหรือคลองเก่า
6 แผนผังโดยรวมของพื้นที่
(ผังภูมิศาสตร์ ผังนิเวศวัฒนธรรม..คน ธรรมชาติ สิ่งปลูกสร้าง)
The Pilgrimage Routes of French Catholic Mission in Thailand:
Ayutthaya, Lopburi, Bangkok,  Chanthaburi Provinces
11
A A
-
Figure 7. Site Layout, Ban Sakhla, viewed by satellite
(Source: Google Earth Software, simulation dated 20.06.06)
A A
A A
Shrimp Farm
Mangrove Forest
Village Area
Mangrove Forest
Sanctuary
Canal
Public Area
Village Area
Mangrove Forest
Shrimp Farm
Public Area
7 พัฒนาการของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
– ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องเล่าท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น รูปภาพอดีต-ปัจจุบัน
(ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม .. วัฒนธรรมข้าว วัฒนธรรมน้า ฯลฯ)
– พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในอดีตที่ผ่านมา
(ภูมิบ้าน ภูมิเมือง)
– ความรุ่งเรืองในอดีต ปัญหาหรือผลกระทบในอดีต จุดพลิกผัน
(ภูมิสังคม)
อดีต ปัจจุบัน
25
ปัจจุบัน
อนาคต
8 ความสาคัญ (คุณค่าและมูลค่า) ของพื้นที่
พื้นที่สาคัญ(พื้นที่ที่น่าสนใจ)ในชุมชน
พื้นที่ที่จับต้องได้
วัด วัง บ้าน โบสถ์ มัสยิด ป่าชายเลน ป่าดิบชื้น พื้นที่ปลูกข้าวโบราณ
แหล่งเกษตรอินทรีย์ อ่าวทองคา แหล่งชีวมณฑล ฯลฯ
พื้นที่ที่จับต้องไม่ได้
พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ที่เคยมีอยู่ในอดีต ฯลฯ
คาสาคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่า (และหรือมูลค่า) โดยรวมของชุมชน
เช่น พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่สาคัญของประเทศ
อ่าวทองคาแห่งภาคใต้
ธนาคารทางทะเลแห่งบูรพาทิศด้วยมูลค่ากว่าพันล้านบาทต่อปี
มรดกทางธรรมชาติในพัทยา
อ่าวพัทยา
ทะเลที่ยังสะอาดและคลื่นไม่แรงจัด
หาดทรายที่ยังขาวสะอาดและเข้าถึงง่าย
แสงแดดที่ไม่ร้อนแรงจนเกินไป
จุดชมวิวธรรมชาติของอ่าวพัทยา 360 องศา บนภูเขา
อ่าวนาเกลือ
ความหลากหลายทางชีวภาพ  ป่าชายเลน
พืช : ป่าโกงกาง พืชชายหาด ไม้พุ่มและต้นไม้
สัตว์น้า : กุ้ง หอย ปู ปลา
นก : นกประจาถิ่น นกย้ายถิ่น  นกยางโทน นกยางเปีย
มรดกทางวัฒนธรรมในพัทยา
• บ้าน ย่าน ตลาด  บ้านเก่า บ้านพื้นถิ่น ย่านการค้าโบราณ
• วัด  วัดไทย วัดจีน/โรงเจ ศาลเจ้า
• วัง  พระตาหนัก(ที่เสด็จประทับ)ของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน
• อาชีพ  ประมง ค้าขาย  เรือ อวน แห กาแฟโบราณ ขนมโบราณ
• ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม  เขา สทร ลานโพธิ์ ถนน ตรอก ซอกซอย สะพาน
ยาวนาเกลือ อ่าวนาเกลือ
• ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
– ประเพณีกองข้าว
– ประเพณีสงกรานต์
– ตรุษจีน กินเจ
– การเข้าแม่สี การเข้าลิงลม เรื่องเล่าในอดีต ตานาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
– จุดเรือจมพัทยา
มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้
– โบสถ์และอาสนวิหารคาทอลิกโบราณในพื้นที่อนุรักษ์
• Romanesque Revival Gothic
• Renaissance Neo-Classic
• Thai Vernacular Thai – Western
• Western
– สุสานคาทอลิกโบราณในพื้นที่อนุรักษ์
– โรงเรียนคาทอลิกโบราณในพื้นที่อนุรักษ์
– บ้านพื้นถิ่นในพื้นที่อนุรักษ์
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้
– วัฒนธรรมคาทอลิกในประเทศไทย
– วัฒนธรรมชาติพันธุ์ในประเทศไทย
• เวียดนาม
• กัมพูชา
• จีน
• โปรตุเกส
45
46
47
48
อาหารเวียดนามพื้นถิ่นในพื้นที่อนุรักษ์
49
Bánh Xèo Nem Nướng
Bánh Trôi
Bánh Cuốn
Bánh Tét
Bánh Canh
50
อาหารกัมพูชาพื้นถิ่นในพื้นที่อนุรักษ์
• Suckling Pig
51
อาหารไทยวัฒนธรรมโปรตุเกสในพื้นที่อนุรักษ์
• Trouxos das caldas  Thong Yip
• Fios de Ovos  Foi Thong
• Ovos-Moles  Thong Yot
• Queijadas de Coimbra  Ba Bin
• Tigelada  Mo Kang
• Kha Nom Pastel (Traditional Portuguese Pastel) Curry Puff
• Kha Nom Kudi Jeen
• Kha Nom Kud Sarang (Christmas period)
• Curry made of roasted chicken + Thai rice noodles (Celebration of Virgin Mary of
Immaculate Conception Church in September),so called “Kha Nom Jeen Kai Khua”
52
คาสาคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่าโดยรวมของ
เส้นทางจาริกแสวงบุญคาทอลิกในประเทศไทย
• The pilgrimage routes of the French Catholic mission in Thailand are the
remaining routes of the fundamental Catholic communities in the country
contributed by mosaics of the missionary travails in the past accompanied by the
different ethnic groups, who have overtime learned to co-exist spiritually under
Catholicism, with mutual dependencies of rich history, spirit, culture, and ways of
living on their own, keeping from Ayutthaya, Thonburi, and early Bangkok periods,
and still standing to continue their existence nowadays
• เส้นทางจาริกแสวงบุญนี้เป็นเส้นทางวัฒนธรรมที่ยังคงเหลือร่องรอยทางประวัติศาสตร์และสังคมของ
ชุมชนคาทอลิกในประเทศไทยที่ยังมีหลักฐานความต่อเนื่องของวิถีชุมชนคาทอลิกที่ชัดเจนที่สุด ซึ่งประกอบ
ไปด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ร้อยเรียงเรื่องราวที่ผูกพันและกลมกลืนเสมือนมัดเชือกเดียวกัน
ของเหล่านักบวชและสาวกชาติพันธุ์กลุ่มต่างๆที่ได้ผ่านการเรียนรู้ดารงอยู่ร่วมกันมาด้วยจิตวิญญาณอัน
แรงกล้าภายใต้คาสอนในวิถีคาทอลิก ซึ่งเต็มไปด้วยเรื่องราวที่มีค่าร่วมกันและพึ่งพิงกันทางประวัติศาสตร์
จิตวิญญาณการต่อสู้ วัฒนธรรม และ วิถีชีวิตทางสังคมของพวกเขา สืบสานต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ยุคทอง
ของอยุธยา ผ่านมายังสมัยธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น และยังคงดาเนินต่อไปจนถึงปัจจุบันนี้โดยที่
คุณค่าโดยรวมของชุมชนเหล่านี้ได้ถูกส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นและไม่เคยจางหายไปตามกระแสวัฒนธรรมที่
เปลี่ยนแปลงไป
9 การประเมินคุณค่าของมรดกชุมชนแบบบูรณาการ
• คุณค่าด้านเศรษฐกิจ  เชื่อมโยงกับมูลค่า  มีทรัพยากรอยู่เท่าไหร่ ?
• คุณค่าด้านอรรถประโยชน์ใช้สอยในปัจจุบัน
• คุณค่าทางประวัติศาสตร์
• คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ ความงดงาม (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณ์
ความรู้สึก)
• คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ (รวมถึงภูมิปญญา)
• คุณค่าด้านการศึกษาเรียนรู้
• คุณค่าทางสังคม รวมถึงคุณค่าด้านเอกลักษณ์เฉพาะท้องที่
• คุณค่าทางจิตวิญญาณของชุมชน (รวมถึงศาสนา ความเชื่อ)
• คุณค่าจากการตีความ (คุณค่าร่วมระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ หรือระดับโลก)
• คุณค่าจากความร่วมมือร่วมใจ (ความสัมพันธ์ ความสามัคคี ความเป็นน้าหนึ่งใจ
เดียวกัน)
• คุณค่าจากความจริงแท้ ความสมบูรณ์ และความต่อเนื่องของมรดกในชุมชน
ตัวอย่าง การประเมินคุณค่าของมรดกในชุมชน (อย่าง
ง่าย)
Pom Mahakarn Fort  Society behind the Wall
Statement of Significance
• Only the remaining fort with continuous flows of traditional
way of life from early Bangkok era to present (Locations,
Buildings, Settings, Skills, and Spirit)
Historic Value (1)
Pom Mahakarn, 2 of 14 Forts Remaining in Bangkok
Historic Value (2)
Bangkok in King Rama III’s Reign (1824-1851 A.D.)
Historic Value (3)
Pom Mahakarn,
History of Water Circulation (Klong Mahanak)
Historic Value (4)
Pom Mahakarn,
King Rama V (1868-1910 A.D.)
Aesthetic Value (1)
Gable Roof Hip Roof
Ginger Bread
Fort (French)
Aesthetic Value (2)
Water Front Architecture
Water Front Landscape
Traditional Pier
Natural Environment
Aesthetic Value (3)
Shutter
Thai Ornament
Shutter
Folding Door
Thai Ornament
Golden Teak
Wood
Aesthetic Value (4)
Strong / Mass Secure / Double Height / Thickness
Scientific Value (1)
Architectural Construction
Western Style
(Function  Form)
Eastern Style
(Function  Form)
Scientific Value (2)
Architectural / Energy Construction
Wooden Inter-Lock
Post  Lintel Ventilation
(Upper)
Raised Floor
Brick  Concrete Plaster
Ventilation
(Lower)
Scientific Value (3)
Engineering
Fort Structure (French)
Water Supply (Copper Piping)
Electricity Supply
(Pulley  Cabling)
Social Value
Spiritual Value
10 สถานการณ์ปัจจุบันของ
การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการบริหารจัดการมรดกในชุมชน
ตัวชี้วัดความสาเร็จของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการมรดกในพื้นที่
• ความยั่งยืนของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
• ผู้คนอาศัยอยู่ในท้องถิ่นตนอย่างเป็นสุข
• สามารถสืบทอดวัฒนธรรมของตนได้อย่างเหมาะสม
• ความเข้มแข็งของชุมชน
• ชุมชนสามารถสืบทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนามาปรับใช้กับสังคม
ร่วมสมัยได้
11 ปญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออนาคตของมรดกใน
ชุมชน
(ที่มีผลกระทบต่อคุณค่าและมูลค่าของมรดกในชุมชน)
• สภาพแวดล้อมถูกทาลาย
• การใช้ทรัพยากรแบบไม่เคารพต่อสิ่งที่มีอยู่เดิม
• การใช้ทรัพยากรที่ไม่เกิดประโยชน์ใช้สอยต่อชุมชนอย่างทั่วถึง เกิดความเหลื่อมล้า
• ประชาชนอยู่อาศัยในชุมชนอย่างไม่เป็นปกติสุข มีคุณภาพชีวิตตกต่า
• การดาเนินชีวิตของชุมชนไม่สอดคล้องกับระบบนิเวศชุมชน
• การบริโภคทรัพยากรเกินตัว
• ละเลยการใช้ทรัพยากรที่หมุนเวียนได้ภายในท้องถิ่น
• ขาดการรักษาและธารงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชน ขาดการสืบทอดวัฒนธรรม
• องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นถูกทาให้ลดค่า หรือจางหายไป ขาดการนาไปปรับใช้กับสังคมร่วม
สมัย
• ขาดการใช้องค์ความรู้ท้องถิ่นเป็นรากฐานในการพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่
• ขาดการไตร่ตรองในการรับมาซึ่งการพัฒนาที่ไม่เหมาะสมกับชุมชน ไม่รู้เท่าทันกระแสทุน
• เกิดความอ่อนแอในระบบเศรษฐกิจชุมชน กลายเป็นระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพิงปัจจัยภายนอกที่มีความ
ซับซ้อนและผันผวนสูง
12 การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน
– คาสาคัญเพื่อบ่งบอกถึงนโยบายโดยรวมในการจัดการมรดกในชุมชน
• EX: นโยบายการบริหารจัดการชุมชนอ่าวบางละมุงจะมุ่งเน้นในเรื่อง
ความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน โดยใช้ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
ของนโยบายผ่านการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับ
ภาคประมง และการลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงทรัพยากรท้องถิ่น
– ร่างนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวนรักษาหรือ
อนุรักษ์
•EX:
• นโยบายสร้างความยั่งยืนของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
• นโยบายที่ทาให้ผู้คนอาศัยอยู่ในท้องถิ่นตนอย่างเป็นสุข
• นโยบายที่สามารถสร้างการสืบทอดวัฒนธรรมของชุมชนได้อย่างเหมาะสม
• นโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
• นโยบายที่กระตุ้นให้ชุมชนสามารถสืบทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนามา
ปรับใช้กับสังคมร่วมสมัยได้
12 การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน
– ทางเลือกต่างๆที่มีของนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวน
รักษาหรืออนุรักษ์
• การดูแลรักษามรดกในชุมชน (Maintenance)
• การรักษามรดกในชุมชนให้คงสภาพ (Preservation)
• การบรูณะมรดกในชุมชน(Restoration)
• การสร้างมรดกในชุมชนตัวเดิมขึ้นมาใหม่ (Reconstruction)
• การปรับประโยชน์ใช้สอยของมรดกในชุมชนใหม่
(Adaptation)
• การพัฒนาและสร้างสรรค์มรดกในชุมชนตัวใหม่ๆ
(Development and Creation)
– แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ และแผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชนเพื่อ
ความยั่งยืน
»วิสัยทัศน์  มองไกลๆ 3ปี 5ปี 10ปี .. 20 30 50 ปี
»เป้ าหมาย  สิ่งที่ต้องได้ ต้องไปถึง
»กลยุทธ์ (ยุทธศาสตร์)  เครื่องมือที่จะได้มาซึ่งเป้ าหมาย
»แผนการจัดการหลัก  ต้องมีวัตถุประสงค์และเป้ าหมายเป็น
ตัวชี้วัด
»แผนการจัดการย่อย หรือ แผนปฎิบัติการ  โปรแกรม/กิจกรรม
ปฎิบัติการเพื่อบรรลุเป้ าหมาย
(5W1H ต้องครบ ต้องมีรูปแบบการวัดผลที่ชัดเจน)
ตัวอย่าง: กลยุทธ์เพื่อใช้เป็นแผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชน
• การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่ถูกทาลายผ่านงานอนุรักษ์ภายในชุมชน
• การส่งเสรืมการใช้ทรัพยากรแบบเคารพต่อสิ่งที่มีอยู่เดิม
• การส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรที่เกิดประโยชน์ใช้สอยต่อชุมชนอย่างทั่วถึง เพื่อลดความเหลื่อมล้า
• การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้อาศัยในชุมชนอย่างเป็นปกติสุข
• การดาเนินชีวิตของชุมชนที่สอดคล้องกับระบบนิเวศชุมชน
• การส่งเสริมการบริโภคทรัพยากรอย่างพอเพียง
• การรณรงค์ให้ใช้ทรัพยากรที่หมุนเวียนได้ภายในท้องถิ่น
• การรักษาและธารงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชน สร้างการสืบทอดวัฒนธรรม
• การเพิ่มคุณค่าให้กับองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อทาให้เกิดกระแสการนาไปปรับใช้กับสังคมร่วม
สมัย
• การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ท้องถิ่นเป็นรากฐานในการพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่
• การสร้างกระบวนการเรียนรู้และไตร่ตรองร่วมกันในการรับมาซึ่งการพัฒนาที่เหมาะสมกับชุมชน การเสริม
องค์ความรู้เพื่อรู้เท่าทันกระแสทุน
• การสร้างความเข้มแข็งในระบบเศรษฐกิจชุมชน การลดความสาคัญของระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพิงปัจจัย
ภายนอกที่มีความซับซ้อนและผันผวนสูง
ตัวอย่าง: แผนการจัดการหลัก / แผนการจัดการย่อย
1. การจัดทาทางเชื่อมต่อจากถนนพระอาทิตย์กับทางเดินเท้าริมแม่น้าเจ้าพระยา
• กาหนดพื้นที่เปิดโล่งสาธารณะ ให้สามารถเชื่อมต่อกับทางเดินริมแม่น้า อยู่ใน
บริเวณพื้นที่อาคารกรมพาณิชย์นาวีและบริเวณพื้นที่ว่างทางตอนใต้อาคารริ
เวอร์แมนชั่น (ระยะเวลา 3 เดือน โดย สานักโยธาธิการ กทม)
• ปรับปรุงเส้นทางเดินท่าพระอาทิตย์และท่าบางลาพู ให้มีความสะดวกในการ
เข้าถึง (ระยะเวลา 2 เดือน โดย กรมเจ้าท่า)
2. การควบคุมกิจกรรมบริเวณถนนพระอาทิตย์
• ออกมาตรการควบคุมการประกอบกิจกรรมประเภทร้านอาหารกึ่งสถานบันเทิง
ไม่ให้ขัดต่อสภาพแวดล้อมและกิจกรรมเดิมในพื้นที่ ต้องมีการจัดระเบียบพื้นที่
และการใช้งานบริเวณริมทางเดินทางเท้าให้เหมาะสม (ระยะเวลา 6 เดือน
โดย สานักผังเมือง กทม)
– บันทึกสถานภาพของมรดกในชุมชนก่อนการเปลี่ยนแปลง และหลังการใช้งาน
แผนการจัดการ
• การแปลความหมายของผลลัพธ์ต้องชัดเจนและอธิบายได้ในมุมกว้าง
(เข้าถึงภาคประชาชน)
• ตรวจสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
• แผนการปรับปรุง หรือ แผนการแก้ไข ต้องมีต่อเนื่อง
(แผนการจัดการ วิธีวัดผล การแปลผล และเป้ าหมาย สามารถปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงได้)
• การสื่อสาร “การเปลี่ยนแปลง” สู่สาธารณะชนทั้งในและนอกชุมชน
การสร้างแผนการตลาดอย่างยั่งยืน
(ส่วนที่ 2 ของ SUSTAINABLE TOURISM PLANNING)
• บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
• การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน
• การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้
• การกาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมายอย่างยั่งยืน
• การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดอย่างยั่งยืน
• การกาหนดโปรแกรมการปฏิบัติการอย่างยั่งยืน
• การกาหนดงบประมาณอย่างยั่งยืน
• การควบคุมทางการตลาดเพื่อความยั่งยืน
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (Sustainable Marketing Plan)
1. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
เป็นการสรุปย่อแผนการตลาดของกิจการ เพื่อให้
ผู้บริหารระดับสูงได้รับรู้และเข้าใจสภาพธุรกิจปัจจุบัน
รวมทั้งกล่าวถึงประวัติและการพัฒนาการของกิจการ
โดยสังเขป
2. การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน
- ด้านการตลาด - ด้านผลิตภัณฑ์/บริการ
- ด้านการแข่งขัน - ด้านการจัดจาหน่าย
- ด้านสภาพแวดล้อม
3. การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้
การวิเคราะห์ (SWOT) และวิเคราะห์ความเป็นไปได้
“SWOT ANALYSIS”
S = Strength
W = Weakness
O = Opportunity
T = Threat
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
(ข้อเด่น) (ข้อเสียหรือจุดด้อย)
1.จุดแข็งทางการตลาด 1.จุดอ่อนทางการตลาด
2.จุดแข็งทางการการเงิน 2.จุดอ่อนทางการการเงิน
3.จุดแข็งด้านการผลิต 3.จุดอ่อนด้านการผลิต
4.จุดแข็งด้านบุคลากร 4.จุดอ่อนด้านบุคลากร
5.จุดแข็งด้านอื่นขององค์การ 5.จุดอ่อนด้านอื่นขององค์การ
การวิเคราะห์ SWOT
โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)
(ข้อได้เปรียบ) (ปัญหาหรืออุปสรรค)
1.สภาพแวดล้อมจุลภาค 1.สภาพแวดล้อมจุลภาค
2.สภาพแวดล้อมมหภาค 2.สภาพแวดล้อมมหภาค
2.1 ประชากรศาสตร์ 2.1 ประชากรศาสตร์
2.2 เศรษฐกิจ 2.2 เศรษฐกิจ
2.3 เทคโนโลยี 2.3 เทคโนโลยี
2.4 การเมืองและกฎหมาย 2.4 การเมืองและกฎหมาย
2.5 ทรัพยากรทางธรรมชาติ 2.5 ทรัพยากรทางธรรมชาติ
2.6 สังคมและวัฒนธรรม 2.6 สังคมและวัฒนธรรม
การวิเคราะห์ SWOT
4. การกาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมายอย่าง
ยั่งยืน
- การกาหนดวัตถุประสงค์ทางการตลาด
ควรกาหนดเป้ าหมายที่ต้องการอย่างชัดเจน ภายในกาหนด
ระยะเวลาและมีความเป็นไปได้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
ของกิจการที่วางไว้
- เป้ าหมายร่วมกันทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม
- การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย (STP) เพื่อความยั่งยืน
5. การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดอย่างยั่งยืน
คือการกาหนดส่วนประสมทางการตลาด ให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้ าหมายร่วมทั้ง 3 เป้ าหมาย
6. การกาหนดโปรแกรมการปฏิบัติการอย่างยั่งยืน
คือการนาผลลัพธ์จากการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
อย่างยั่งยืนมาจัดทาแผนปฏิบัติการ แสดงรายละเอียด
ของกิจกรรมต่างๆ เป็นการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแก่
พนักงานอย่างชัดเจน เช่น ด้านการบริการ การผลิต
ด้านการจัดซื้อ ด้านการจัดจาหน่าย ฯลฯ
7. การกาหนดงบประมาณอย่างยั่งยืน
คือการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้กับกิจกรรมต่างๆ
อย่างเหมาะสม (จัดทางบกาไรขาดทุน) โดยต้องคานึงถึง
วัตถุประสงค์ร่วมทั้ง 3 เป้ าหมายเป็นหลัก
8. การควบคุมทางการตลาดเพื่อความยั่งยืน
คือการติดตามผลการปฏิบัติงานการตลาด ให้เป็นไปตามแผนที่
กาหนดไว้ (ปกติเป้ าหมายและงบประมาณจะทากันเป็นเดือนหรือ
ไตรมาส)
ควรมีแผนสารองสาหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
มีเป้ าหมายร่วมด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเป็นตัว
วัดผล

Contenu connexe

En vedette

Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยpongpangud13
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 

En vedette (17)

Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Eco
EcoEco
Eco
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 

Similaire à Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdf
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdfทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdf
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdfSiriporn Tiwasing
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
วัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdfวัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdfssuser2aa5d7
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1pageสไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4pageสไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวArtitayamontree
 
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)ปิยนันท์ ราชธานี
 
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560Orange Wongwaiwit
 

Similaire à Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015 (20)

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdf
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdfทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdf
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา.pdf
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
วัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdfวัฒนธรรมไทย.pdf
วัฒนธรรมไทย.pdf
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1pageสไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-1page
 
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4pageสไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4page
สไลด์ มรดกโลกของไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f01-4page
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
 
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
 
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 

Plus de Silpakorn University

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...Silpakorn University
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Silpakorn University
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iSilpakorn University
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 

Plus de Silpakorn University (7)

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 

Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015