SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
SUSTAINABLE TOURISM PLANNING
TM306
เทอม 2 / 2557
ครั้งที่ 10 – 12
บรรยายโดย
ดร.สมนึก จงมีวศิน (อ.เขียว)
สรุป:
โครงสร้าง
แผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน !
ส่วนที่ 1
แผนการบริหารจัดการ
มรดกชุมชมอย่างยั่งยืน !
•  ชื่อพื้นที่มรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
(ชื่อทางการ และ ชื่อไม่เป็นทางการ)
•  ตําแหน่ง
(หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด)
•  ขนาดของพื้นที่
•  ลักษณะพื้นที่
(ที่ราบลุ่ม ป่า ภูเขา แม่น้ํา คลอง อ่าว แหลม ฯลฯ)
•  ประเภทของพื้นที่
(พื้นที่ต้นน้ํา พื้นที่กลางน้ํา พื้นที่ปลายน้ํา)
!
•  ความสําคัญ (คุณค่าและมูลค่า) ของพื้นที่

พื้นที่สําคัญ(พื้นที่ที่น่าสนใจ)ในชุมชน

พื้นที่ที่จับต้องได้ (วัด วัง บ้าน โบสถ์ มัสยิด ป่าชายเลน
ป่าดิบชื้น พื้นที่ปลูกข้าวโบราณ แหล่งเกษตรอินทรีย์ อ่าว
ทองคํา แหล่งชีวมณฑล ฯลฯ)

พื้นที่ที่จับต้องไม่ได้ (พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ที่เคยมีอยู่ใน
อดีต ฯลฯ)
!
คําสําคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่า (และหรือมูลค่า) โดยรวมของ
ชุมชน 
(เช่น พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่สําคัญของประเทศ
อ่าวทองคําแห่งภาคใต้ ธนาคารทางทะเลแห่งบูรพาทิศ
ด้วยมูลค่ากว่าพันล้านบาทต่อปี ฯลฯ)
•  แผนผังโดยรวมของพื้นที่
(ผังภูมิศาสตร์ ผังนิเวศวัฒนธรรม..คน ธรรมชาติ สิ่งปลูกสร้าง)!
•  พัฒนาการของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
•  ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องเล่าท้องถิ่น
วัฒนธรรมท้องถิ่น รูปภาพอดีต-ปัจจุบัน
(ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม .. วัฒนธรรมข้าว วัฒนธรรมน้ํา ฯลฯ)!
•  พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในอดีต!
! ที่ผ่านมา (ภูมิบ้าน ภูมิเมือง)!
• ความรุ่งเรืองในอดีต ปัญหาหรือผลกระทบในอดีต !
จุดพลิกผัน (ภูมิสังคม)
•  การประเมินคุณค่าของมรดกชุมชนแบบบูรณาการ!
•  คุณค่าทางประวัติศาสตร์!
•  คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
อารมณ์ ความรู้สึก)!
•  คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ (รวมถึงภูมิปํญญา) !
•  คุณค่าทางสังคม!
•  คุณค่าทางจิตวิญญาณ (รวมถึงศาสนา ความเชื่อ)!
•  คุณค่าจากการตีความ (คุณค่าร่วมระดับท้องถิ่น ระดับ
ประเทศ หรือระดับโลก)!
•  คุณค่าจากความร่วมมือร่วมใจ (ความสัมพันธ์ ความ
สามัคคี ความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน)!
•  คุณค่าจากความจริงแท้ ความสมบูรณ์ และความต่อเนื่อง
ของมรดกในชุมชน!
•  สถานการณ์ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการ
บริหารจัดการมรดกในชุมชน
•  ปํญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออนาคตของมรดกใน
ชุมชน (ที่มีผลกระทบต่อคุณค่าและมูลค่าของมรดกใน
ชุมชน)
•  การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน!
•  คําสําคัญเพื่อบ่งบอกถึงนโยบายโดยรวมในการจัดการมรดก
ในชุมชน !
•  ร่างนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวน
รักษาหรืออนุรักษ์!
•  ทางเลือกต่างๆที่มีของนโยบายการบริหารจัดการมรดกใน
ชุมชน ในเชิงสงวนรักษาหรืออนุรักษ์!
•  แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ และแผนการจัดการบริหาร
มรดกในชุมชนเพื่อความยั่งยืน!
แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์
แผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชนเพื่อ
ความยั่งยืน

•  ต้องประกอบไปด้วย :-!
•  วิสัยทัศน์ !
•  เป้าหมาย!
•  ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์การจัดการ)!
•  แผนการจัดการหลัก (ต้องมีวัตถุประสงค์
และเป้าหมายเป็นตัวชี้วัด)!
•  แผนการจัดการย่อย หรือ แผนปฎิบัติ
การ (5W1H ต้องครบ ต้องมีรูปแบบ
การวัดผลที่ชัดเจน)!
อย่าลืม: ในทุกๆครั้งที่จะมีการจัดการบริหาร
มรดกชุมชน ใน ภาคปฎิบัติ จะต้อง :-
•  บันทึกสถานภาพของมรดกในชุมชนก่อนการเปลี่ยนแปลง
และหลังการใช้งานแผนการจัดการ!
•  การแปลความหมายของผลลัพธ์ต้องชัดเจนและอธิบายได้ใน
มุมกว้าง (เข้าถึงภาคประชาชน)
•  ตรวจสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
•  แผนการปรับปรุง หรือ แผนการแก้ไข ต้องมีต่อเนื่อง
(แผนการจัดการ วิธีวัดผล การแปลผล และเป้าหมาย
สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้)
•  การสื่อสารการเปลี่ยนแปลงสู่สาธารณชนทั้งในและนอก
ชุมชน!
!
ส่วนที่ 2
แผนการบริหารการตลาด
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน !
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (1)
•  บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
•  สรุปเรื่องทั้งหมดของแผนการตลาดที่สร้างขึ้น
•  วิสัยทัศน์
•  บอกเป้าหมายของชุมชนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่จะไปถึงในระยะยาว
•  ภารกิจ
•  บอกกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าชุมชนจะทําอะไร
•  สภาวะการตลาดท่องเที่ยวในปัจจุบัน
•  สภาวะตลาด
•  ตลาดเป้าหมาย ขนาดตลาด การเจริญเติบโต ส่วนแบ่งการตลาด
พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
•  สภาวะผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  ยอดขาย ราคา กําไรขั้นต้น กําไรสุทธิ
•  สภาพการแข่งขัน
•  คู่แข่ง ขนาดคู่แข่ง ส่วนแบ่งตลาดของคู่แข่ง กลยุทธ์คู่แข่ง
•  สภาวะการกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  ใครเป็นคนกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการให้
•  สภาพแวดล้อมมหภาค
•  ด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี การเมือง การปกครอง
สังคม วัฒนธรรม
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (2)
•  การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้
•  การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
•  4P
•  Product / Price / Place / Promotion
•  7S
•  Structure / Strategy / System / Style / Staff / Skill / Shared Value
•  ทําเลที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยว
•  ภาพลักษณ์ของชุมชน / สถานที่ท่องเที่ยว
•  การวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค
•  ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี ธรรมชาติ
สังคม วัฒนธรรม สภาพการแข่งขัน ห่วงโซ่อุปทาน
•  การวิเคราะห์ปัญหา
•  หาปัญหาจาก จุดอ่อน อุปสรรค
•  หาปัญหาจาก จุดเด่น โอกาส
•  นําปัญหาออกมาวิเคราะห์ให้ชัดเจน เพื่อสร้างแผนการตลาดใหม่
(วัตถุประสงค์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ แผนปฎิบัติการใหม่)
สภาพการแข่งขัน วิเคราะห์จาก 5 Forces
•  อุปสรรคจากคู่แข่งขันปัจจุบันของเรา (Current Competitor)
•  อุปสรรคจากคู่แข่งขันหน้าใหม่ของเรา (New Entries)
•  อํานาจการต่อรองจากซัพพลายเออร์ของเรา (Suppliers)
•  อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถเข้ามาทดแทนเรา
(Substituted Products / Services)
•  อํานาจการต่อรองจากผู้ซื้อของเรา (Buyers)
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (3)
•  วัตถุประสงค์
•  ระบุวัตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกําหนด
กลยุทธ์ และ แผนปฎิบัติการด้านการตลาด
•  Sales Revenue / % Share / Number of Tourist ฯลฯ
•  อาจนําวัตถุประสงค์ทางด้านการเงิน เช่น เศรษฐกิจชุมชนเป็นตัว
กําหนดร่วมกันไปด้วย .. ตั้งเป้า ROI / Net Profit / Cash Flow ฯลฯ
•  กลยุทธ์ทางการตลาด
•  S: Mass / Segment / Niche / Local / Individual
•  T: Single Segment / Selective Specialization / Specialized Product/ Specialized
Market / Mass
•  P: Positioning on Price  Quality
•  กลยุทธ์
•  Product Differentiation / Cost Leadership / Focus (Market Differentiation)
•  Time to React / Strategic Alliance / Merge r Acquisition
•  Growth Strategy (Market Penetration , Market / Product / Service Development)
•  โปรแกรมปฎิบัติงาน
•  กําหนดแผนการปฎิบัติการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
•  อะไรที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่ที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่เสร็จ /ใครทํา /งบประมาณเท่าไหร่
การประเมินผลกระทบ
จาก
การวางแผนพัฒนา
การท่องเที่ยว!
EIA = Environmental Impact Assessment
-  การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม !
-  เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการหาการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมใน
ปัจจุบันหรือสถานภาพสิ่งแวดล้อมก่อนดําเนินโครงการพัฒนาการ
ท่องเที่ยว เป็นสิ่งแวดล้อมที่คาดว่าจะเกิดผลกระทบหรือเป็นผล
พวงจากการกระทําของกิจกรรมโครงการ ก่อน / ระหว่าง / ภาย
หลัง การพัฒนาโครงการการท่องเที่ยวใดๆ!
สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ
ประเมิน EIA
•  สิ่งแวดล้อมกายภาพ
•  สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต เช่น หิน แร่ ดิน น้ํา แหล่งน้ํา น้ําเสีย อากาศ ขยะ
•  สิ่งแวดล้อมชีวภาพ
•  สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต เช่น พืช สัตว์ ป่าไม้ สัตว์ป่า พืชน้ํา สัตว์น้ํา
•  สิ่งแวดล้อมคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
•  สิ่งแวดล้อมที่แปรสภาพสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติโดยผ่านเทคโนโลยี เช่น
เกษตรกรรม (ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ปศุสัตว์) อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง การใช้
ที่ดิน ลุ่มน้ํา น้ําประปา การชลประทาน การประมง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การปลูก
ป่า การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
•  สิ่งแวดล้อมคุณภาพชีวิต
•  สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต เช่น ประชากร การศึกษา สาธารณสุข
(สุขภาพอนามัย โภชนาการ) วัฒนธรรม (ความเชื่อ ศาสนา สถานที่ทาง
ประวัติศาสตร์ ) เศรษฐกิจ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การนันทนาการ วิถี
ชีวิต การดํารงชีวิต ไลว์สไตล์
HIA = Health Impact Assessment 

- การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 
- เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคาดคะเนความสมบูรณ์
ทางสุขภาพกายและจิตใจ เพื่อสร้างมาตรการและแผนแก้ไข
ผลกระทบทางสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อนําผลการ
ศึกษาไปสนับสนุนผลการศึกษาผลกระทบจากโครงการพัฒนาการ
ท่องเที่ยว เพื่อช่วยให้ผู้ประเมินสามารถนําไปใช้ในการตัดสินใจ
การดําเนินโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว ให้เป็นการตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพ!
สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ
ประเมิน HIA
•  เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม
•  ของเสีย / มลพิษ 
•  รวมถึงมลพิษทางสายตา เรียกว่า มลทัศน์ (Visual Pollution)
•  ภัยพิบัติธรรมชาติ (อุบัติภัยธรรมชาติ)
•  ความขัดแย้งทางสังคม
•  ทรัพยากรที่ไม่มีการผลิต (ทรัพยากรไม่มีกําลังการผลิต Unproductive Resource)
•  การพักผ่อนของมนุษย์
ผลกระทบต่อสุขภาพ
•  สุขภาพกาย: การเจ็บป่วย การสูญเสียอวัยวะ การพิการ การสูญเสียชีวิต
•  สุขภาพจิต: การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ โรคความจําเสื่อม โรคเครียด โรคประสาท
SIA = Social Impact Assessment
!- การประเมินผลกระทบทางสังคม
!- เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจําแนกผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
ของโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว ที่สร้างพลังการขับเคลื่อนการ
เปลี่ยนแปลงการดํารงชีวิตวันต่อวันของบุคคลและ/หรือกลุ่มบุคคล
รวมไปถึงความสัมพันธ์ชายหญิง วัฒนธรรม มรดกและศิลปะทาง
วัฒนธรรม ชุมชนดั้งเดิม เชื้อชาติและปัจจัยกําหนดคุณลักษณะ
ประชากรและเศรษฐกิจระหว่างการดําเนินการและเวลาต่อๆมา จน
ทําให้โครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของสังคมไม่เป็นปกติ !
!- โดยมีการมุ่งเน้นการศึกษาไปที่ผลกระทบทางสังคมที่เกี่ยวกับ
การสืบพันธุ์ให้เกิดลูกหลานซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่การสูญพันธุ์ของ
มนุษยชาติหรือชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็อาจเป็นได้ !
!- การศึกษาในประเด็นนี้จําเป็นที่จะต้องศึกษาให้นุ่มลึกเพื่อให้เกิด
การเกี่ยวโยงไปสู่การสูญพันธุ์ของชุมชนดั้งเดิมและเชื้อชาติด้วย !
สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ
ประเมิน SIA
•  การดํารงชีวิตวันต่อวันของบุคคลและ/หรือกลุ่มบุคคล
•  ชุมชนดั้งเดิม
•  เชื้อชาติ
•  ปัจจัยกําหนดคุณลักษณะประชากร
•  ความสัมพันธ์ชายหญิง
•  การเกิด การตาย การย้ายถิ่น
•  การเปลี่ยนแปลง พิธีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี
•  เศรษฐกิจชุมชน ระหว่าง /หลังการพัฒนา จนทําให้ “โครงสร้าง กระบวนการ
พฤติกรรมสังคม” ไม่ปกติ!
•  การนันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ
•  มรดกและศิลปะทางวัฒนธรรม
องค์กร แผน และกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับ
การวางแผนและพัฒนา
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ของประเทศไทย
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการ
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ: Designated Areas for Sustainable
Tourism Administration (Public Organization) !
ชื่อย่อภาษาไทย: อพท.
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ: DASTA!
ความหมายของโลโก้ อพท.
รูปหยดน้ํา:
หยดน้ํา บ่อเกิดแห่งชีวิต ให้ความสดชื่นและสดใส
รูปต้นไม้ที่แผ่ขยายออกไป 4 กิ่งก้าน: ความสมบูรณ์ของ
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย ทั้ง 4 ภาค
สีเหลืองทอง: ความเจริญรุ่งเรือง
สีเขียว: ความสดใส ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ
สีน้ําเงิน: ความมั่นคง การพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
สีขาว: ทรัพยากรธรรมชาติที่บริสุทธิ์และสดใสยิ่งขึ้นหลัง
การพัฒนาและจัดการอย่างถูกวิธี
•  ประวัติการก่อตั้ง อพท.
- รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มราย
ได้และกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนท้องถิ่น
- ให้มีการบริหารและพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการ
- มีองค์กรกลางทําหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ และ
ประสานงานกับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพ
- สามารถระดมบุคลากร งบประมาณ และเครื่องมือเครื่องใช้มาใช้ใน
การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีเอกภาพและแก้ไขปัญหาโดย
รวดเร็ว
- ส่งเสริมให้มีการนําความรู้ด้านการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนขึ้นเป็นองค์การมหาชน
- ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชนเพื่อปฏิบัติหน้าที่และจัดทํา
ภารกิจดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกา
หมายเหตุ: Download พระราชกฏษฎีกาได้ที่http://
www.dasta.or.th/upload/About_Menu1/FileUpload/
15_1214.pdf
•  บทบาทหน้าที่ของ อพท.
- เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นหน่วยงานในการกําหนดนโยบาย และแผนการ
บริหารการพัฒนาในพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
- ประสานหน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น และประชาชน เพื่อ
ให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษเพื่อ
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม
- คงสภาพแหล่งท่องเที่ยวให้มีความงดงาม สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างความ
ประทับใจ แก่นักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศให้ระลึกถึงและ
กลับมาท่องเที่ยวใหม่
- ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อพท. พ.ศ.2546 ในราชกิจจานุเบกษา
หน้าที่ 2 เล่มที่ 120 ตอนที่ 49 ก 2 มิถุนายน 2546 ได้กําหนด
วัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของ อพท. ดังนี้
วัตถุประสงค์
(1) ประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวระหว่างส่วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่
หรือได้รับมอบหมายให้บริหารจัดการการท่องเที่ยวไม่ว่าในระดับชาติ ระดับภูมิภาค
หรือระดับท้องถิ่น
(2) ประสานงานการใช้อํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ชุมชน ผังเมือง สิ่งแวดล้อมการท่องเที่ยว หรือการรักษาความสงบ
เรียบร้อย เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา และรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่อง
เที่ยวอย่างยั่งยืน
(4) ส่งเสริมการใช้ศักยภาพของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนใน
การพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว
(5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นของตน
(6) ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นจัดให้
มีการบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงาม
ของท้องถิ่น
(7) ส่งเสริมการจัดทําข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
(8) ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการ
จ้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่แห่งท้องถิ่นให้ดีขึ้น!
อํานาจหน้าที่
(1) จัดทําและเสนอนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อคณะรัฐมนตรี
(2) กําหนดแผนปฏิบัติการเพื่อให้นโยบายและแผนยุทธศาสตร์บรรลุผล
(3) ให้คําแนะนํา เสนอแนะ และร่วมแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคในการบริหารจัดการ
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษแต่ละแห่ง
(4) ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่
พิเศษแต่ละแห่ง
(5) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหาอุปสรรค
เกี่ยวกับการประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ
(6) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติหรือจัดสรรงบประมาณสําหรับการบริหาร
และการพัฒนาการท่องเที่ยว
(7) อนุมัติแผนการลงทุนและแผนการเงินขององค์การ
(8) ประกาศกําหนดพื้นที่พิเศษด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และเสนอ
รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาในพื้นที่พิเศษดังกล่าว
(9) ควบคุมดูแลการดําเนินงานและการบริหารงานทั่วไปขององค์การ ตลอดจนออก
ระเบียบข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ทรัพย์สิน
ขององค์การ และสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นของผู้ปฏิบัติงานในองค์การ
(10) กระทําการอื่นใดที่จําเป็นต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ!
ปรัชญาการดําเนินงานอพท.
รักษาสมดุลใน 3 มิติ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม
ค่านิยมองค์กร
ทุ่มเทมุ่งมั่น ประสานภาคี มีใจบริการ ทํางานเป็นทีม
D = Determination ทุ่มเทมุ่งมั่น การทํางานอย่างอุทิศตน อดทน กระตือรือร้น
และตั้งใจอย่างเต็มกําลังความสามารถ พัฒนาความรู้ความสามารถให้เท่าทันการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และต้องทํางานอย่างมืออาชีพ เป็นผู้ชํานาญด้านการท่องเที่ยว
อย่างแท้จริง
A = Alliance ประสานภาคี การทํางานแบบบูรณาการกับชุมชน และทุกภาคีที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยว
S = Service Mind มีใจบริการ จะทํางานด้วยจิตอาสาพร้อมบริการด้วยความ
เต็มใจ และจริงใจ
T = Teamwork ทํางานเป็นทีม การประสานทํางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ภายใต้ความมุ่งมั่น ความสําเร็จของงานและองค์กร โดยรับฟังความคิดเห็นด้วยความ
เข้าใจ ให้เกียรติ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
A = Audience ยิ้มฟังชุมชน การเข้าถึงชุมชน เปิดใจรับฟังความคิดเห็นทั้งด้าน
บวกและลบ เคารพความคิดที่แตกต่าง พร้อมปรับปรุงและพัฒนาร่วมกับชุมชน!
พื้นที่ท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมในการประกาศเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน จะต้องเข้าหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งใน ๓ ข้อ ด้านล่างนี้
๑. เป็นพื้นที่ที่มีความโดดเด่นและทรงคุณค่าทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒. เป็นพื้นที่ที่มีความล้ําค่าทางประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม
๓. เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่
ทั้งนี้ทั้งนั้น พื้นที่ท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมในการประกาศเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืนจะต้องผ่านเกณฑ์การพิจารณาการให้คะแนนในเบื้องต้นร้อยละ ๗๕ ตามหลักเกณฑ์ที่
DASTA ได้กําหนดขึ้นตามคู่มือการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการพิจารณาการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการ
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ขั้นตอนการประกาศเขตพื้นที่พิเศษ
๑. คัดเลือกพื้นที่พิเศษ โดยวิเคราะห์ความเหมาะสมเบื้องต้น แล้วเสนอระดับนโยบายพิจารณา
๒. สํารวจสภาพพื้นที่ ด้านภูมิประเทศ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
๓. ประชุมหารือร่วมกับจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่พิเศษ
๔. เสนอคณะกรรมการ กพท. พิจารณาเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการ
ประกาศเขตพื้นที่พิเศษ
๕. จัดทําแผนแม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เสนอคณะกรรมการ กพท. พิจารณาเพื่อนํา
เสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบ
หมายเหตุ: Download คู่มือการจัดเตรียมข้อมูลการประกาศพื้นที่พิเศษ ได้ที่ http://
www.dasta.or.th/upload/About_Plan_Rule_Spac/FileUpload/19_7031.pdf
วิสัยทัศน์
•  อพท. ประสานทุกภาคีเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
พันธกิจ
•  ประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ หน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้
บริหารจัดการการ ท่องเที่ยว ไม่ว่าในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับท้องถิ่น
•  ประสานงานการใช้อํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่นหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
ชุมชน ผังเมือง สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว หรือ การรักษาความสงบเรียบร้อย เพื่อ
บูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
•  ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา และรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืน
•  ส่งเสริมการใช้ศักยภาพของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนา
ตลาดการท่องเที่ยว
•  ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยว ในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นของตน
•  ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นจัดให้มี การ
บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น
•  ส่งเสริมการจัดทําข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
•  ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการจ้างงานและ
ยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่แห่งท้องถิ่นให้ดีขึ้น!
ยุทธศาสตร์
อพท. ได้กําหนดยุทธศาสตร์การดําเนินงานไว้ 6 ประการ ได้แก่
•  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การประสานการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
•  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสินค้า บริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
•  ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษและการท่องเที่ยว
ชุมชน
•  ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ
•  ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาทุกภาคส่วน
•  ยุทธศาสตร์ที่ 6 การให้บริการด้านองค์ความรู้เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 !
เป้าหมาย
การบริหารการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในช่วง 4 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2551 ‒
2554 ได้กําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ดังนี้
•  พัฒนาพื้นที่เป้าหมายที่เหมาะสมและมีความคุ้มค่าในการลงทุน ให้ได้รับการพิจารณา
คัดเลือกตามหลักเกณฑ์และดําเนินการตามกระบวนการประกาศเขต พื้นที่พิเศษเพื่อการ
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
•  บริหารและพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวชุมชนอย่าง ยั่งยืน
•  ภายใต้หลักอุปสงค์อุปทานด้านการท่องเที่ยว โดยได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายผู้
เชี่ยวชาญและเครือข่ายภาคสังคมในระดับ พื้นที่
•  พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสามารถสร้างรายได้และพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ!
•  พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่ได้ทําการพัฒนาไป
แล้ว และ อยู่ระหว่างการพัฒนา .. ได้แก่:-
- หมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง
- เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
- เมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง

เมืองพัทยา (ครอบคลุมพื้นที่เกาะล้าน เกาะไผ่)

เทศบาลตําบลหนองปรือ

เทศบาลตําบลบางละมุง

เทศบาลตําบลตะเคียนเตี้ย

เทศบาลตําบลโป่ง

เทศบาลตําบลห้วยใหญ่

เทศบาลตําบลนาจอมเทียน

องค์การบริหารส่วนตําบลหนองปลาไหล

องค์การบริหารส่วนตําบลเขาไม้แก้ว
- อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย- กําแพงเพชร
- จังหวัดเลย

Contenu connexe

En vedette

วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
chickyshare
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
Somyot Ongkhluap
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Somyot Ongkhluap
 

En vedette (9)

เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 

Similaire à Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015

ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
Faii Kp
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56
surdi_su
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
สถาบันราชบุรีศึกษา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
niinanz
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
Somyot Ongkhluap
 

Similaire à Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015 (20)

ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
Cultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanCultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japan
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศกรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56
 
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
Site plannig
Site plannigSite plannig
Site plannig
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
Skillmapping
SkillmappingSkillmapping
Skillmapping
 

Plus de Silpakorn University

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
Silpakorn University
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Silpakorn University
 

Plus de Silpakorn University (7)

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 

Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015

  • 1. การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน SUSTAINABLE TOURISM PLANNING TM306 เทอม 2 / 2557 ครั้งที่ 10 – 12 บรรยายโดย ดร.สมนึก จงมีวศิน (อ.เขียว)
  • 4. •  ชื่อพื้นที่มรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม (ชื่อทางการ และ ชื่อไม่เป็นทางการ) •  ตําแหน่ง (หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด) •  ขนาดของพื้นที่ •  ลักษณะพื้นที่ (ที่ราบลุ่ม ป่า ภูเขา แม่น้ํา คลอง อ่าว แหลม ฯลฯ) •  ประเภทของพื้นที่ (พื้นที่ต้นน้ํา พื้นที่กลางน้ํา พื้นที่ปลายน้ํา) !
  • 5. •  ความสําคัญ (คุณค่าและมูลค่า) ของพื้นที่ พื้นที่สําคัญ(พื้นที่ที่น่าสนใจ)ในชุมชน พื้นที่ที่จับต้องได้ (วัด วัง บ้าน โบสถ์ มัสยิด ป่าชายเลน ป่าดิบชื้น พื้นที่ปลูกข้าวโบราณ แหล่งเกษตรอินทรีย์ อ่าว ทองคํา แหล่งชีวมณฑล ฯลฯ) พื้นที่ที่จับต้องไม่ได้ (พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ที่เคยมีอยู่ใน อดีต ฯลฯ) ! คําสําคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่า (และหรือมูลค่า) โดยรวมของ ชุมชน (เช่น พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่สําคัญของประเทศ อ่าวทองคําแห่งภาคใต้ ธนาคารทางทะเลแห่งบูรพาทิศ ด้วยมูลค่ากว่าพันล้านบาทต่อปี ฯลฯ)
  • 6. •  แผนผังโดยรวมของพื้นที่ (ผังภูมิศาสตร์ ผังนิเวศวัฒนธรรม..คน ธรรมชาติ สิ่งปลูกสร้าง)! •  พัฒนาการของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน •  ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องเล่าท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น รูปภาพอดีต-ปัจจุบัน (ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม .. วัฒนธรรมข้าว วัฒนธรรมน้ํา ฯลฯ)! •  พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในอดีต! ! ที่ผ่านมา (ภูมิบ้าน ภูมิเมือง)! • ความรุ่งเรืองในอดีต ปัญหาหรือผลกระทบในอดีต ! จุดพลิกผัน (ภูมิสังคม)
  • 7. •  การประเมินคุณค่าของมรดกชุมชนแบบบูรณาการ! •  คุณค่าทางประวัติศาสตร์! •  คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณ์ ความรู้สึก)! •  คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ (รวมถึงภูมิปํญญา) ! •  คุณค่าทางสังคม! •  คุณค่าทางจิตวิญญาณ (รวมถึงศาสนา ความเชื่อ)! •  คุณค่าจากการตีความ (คุณค่าร่วมระดับท้องถิ่น ระดับ ประเทศ หรือระดับโลก)! •  คุณค่าจากความร่วมมือร่วมใจ (ความสัมพันธ์ ความ สามัคคี ความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน)! •  คุณค่าจากความจริงแท้ ความสมบูรณ์ และความต่อเนื่อง ของมรดกในชุมชน!
  • 8. •  สถานการณ์ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการ บริหารจัดการมรดกในชุมชน •  ปํญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออนาคตของมรดกใน ชุมชน (ที่มีผลกระทบต่อคุณค่าและมูลค่าของมรดกใน ชุมชน) •  การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน! •  คําสําคัญเพื่อบ่งบอกถึงนโยบายโดยรวมในการจัดการมรดก ในชุมชน ! •  ร่างนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวน รักษาหรืออนุรักษ์! •  ทางเลือกต่างๆที่มีของนโยบายการบริหารจัดการมรดกใน ชุมชน ในเชิงสงวนรักษาหรืออนุรักษ์! •  แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ และแผนการจัดการบริหาร มรดกในชุมชนเพื่อความยั่งยืน!
  • 9. แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ แผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชนเพื่อ ความยั่งยืน •  ต้องประกอบไปด้วย :-! •  วิสัยทัศน์ ! •  เป้าหมาย! •  ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์การจัดการ)! •  แผนการจัดการหลัก (ต้องมีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายเป็นตัวชี้วัด)! •  แผนการจัดการย่อย หรือ แผนปฎิบัติ การ (5W1H ต้องครบ ต้องมีรูปแบบ การวัดผลที่ชัดเจน)!
  • 10. อย่าลืม: ในทุกๆครั้งที่จะมีการจัดการบริหาร มรดกชุมชน ใน ภาคปฎิบัติ จะต้อง :- •  บันทึกสถานภาพของมรดกในชุมชนก่อนการเปลี่ยนแปลง และหลังการใช้งานแผนการจัดการ! •  การแปลความหมายของผลลัพธ์ต้องชัดเจนและอธิบายได้ใน มุมกว้าง (เข้าถึงภาคประชาชน) •  ตรวจสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง •  แผนการปรับปรุง หรือ แผนการแก้ไข ต้องมีต่อเนื่อง (แผนการจัดการ วิธีวัดผล การแปลผล และเป้าหมาย สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้) •  การสื่อสารการเปลี่ยนแปลงสู่สาธารณชนทั้งในและนอก ชุมชน! !
  • 12. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (1) •  บทสรุปสําหรับผู้บริหาร •  สรุปเรื่องทั้งหมดของแผนการตลาดที่สร้างขึ้น •  วิสัยทัศน์ •  บอกเป้าหมายของชุมชนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่จะไปถึงในระยะยาว •  ภารกิจ •  บอกกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าชุมชนจะทําอะไร •  สภาวะการตลาดท่องเที่ยวในปัจจุบัน •  สภาวะตลาด •  ตลาดเป้าหมาย ขนาดตลาด การเจริญเติบโต ส่วนแบ่งการตลาด พฤติกรรมนักท่องเที่ยว •  สภาวะผลิตภัณฑ์ / บริการ •  ยอดขาย ราคา กําไรขั้นต้น กําไรสุทธิ •  สภาพการแข่งขัน •  คู่แข่ง ขนาดคู่แข่ง ส่วนแบ่งตลาดของคู่แข่ง กลยุทธ์คู่แข่ง •  สภาวะการกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการ •  ใครเป็นคนกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการให้ •  สภาพแวดล้อมมหภาค •  ด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี การเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม
  • 13. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (2) •  การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้ •  การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน •  4P •  Product / Price / Place / Promotion •  7S •  Structure / Strategy / System / Style / Staff / Skill / Shared Value •  ทําเลที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยว •  ภาพลักษณ์ของชุมชน / สถานที่ท่องเที่ยว •  การวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ / บริการ •  การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค •  ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี ธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม สภาพการแข่งขัน ห่วงโซ่อุปทาน •  การวิเคราะห์ปัญหา •  หาปัญหาจาก จุดอ่อน อุปสรรค •  หาปัญหาจาก จุดเด่น โอกาส •  นําปัญหาออกมาวิเคราะห์ให้ชัดเจน เพื่อสร้างแผนการตลาดใหม่ (วัตถุประสงค์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ แผนปฎิบัติการใหม่)
  • 14. สภาพการแข่งขัน วิเคราะห์จาก 5 Forces •  อุปสรรคจากคู่แข่งขันปัจจุบันของเรา (Current Competitor) •  อุปสรรคจากคู่แข่งขันหน้าใหม่ของเรา (New Entries) •  อํานาจการต่อรองจากซัพพลายเออร์ของเรา (Suppliers) •  อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถเข้ามาทดแทนเรา (Substituted Products / Services) •  อํานาจการต่อรองจากผู้ซื้อของเรา (Buyers)
  • 15. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (3) •  วัตถุประสงค์ •  ระบุวัตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกําหนด กลยุทธ์ และ แผนปฎิบัติการด้านการตลาด •  Sales Revenue / % Share / Number of Tourist ฯลฯ •  อาจนําวัตถุประสงค์ทางด้านการเงิน เช่น เศรษฐกิจชุมชนเป็นตัว กําหนดร่วมกันไปด้วย .. ตั้งเป้า ROI / Net Profit / Cash Flow ฯลฯ •  กลยุทธ์ทางการตลาด •  S: Mass / Segment / Niche / Local / Individual •  T: Single Segment / Selective Specialization / Specialized Product/ Specialized Market / Mass •  P: Positioning on Price Quality •  กลยุทธ์ •  Product Differentiation / Cost Leadership / Focus (Market Differentiation) •  Time to React / Strategic Alliance / Merge r Acquisition •  Growth Strategy (Market Penetration , Market / Product / Service Development) •  โปรแกรมปฎิบัติงาน •  กําหนดแผนการปฎิบัติการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ •  อะไรที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่ที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่เสร็จ /ใครทํา /งบประมาณเท่าไหร่
  • 17. EIA = Environmental Impact Assessment -  การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ! -  เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการหาการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมใน ปัจจุบันหรือสถานภาพสิ่งแวดล้อมก่อนดําเนินโครงการพัฒนาการ ท่องเที่ยว เป็นสิ่งแวดล้อมที่คาดว่าจะเกิดผลกระทบหรือเป็นผล พวงจากการกระทําของกิจกรรมโครงการ ก่อน / ระหว่าง / ภาย หลัง การพัฒนาโครงการการท่องเที่ยวใดๆ!
  • 18. สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ ประเมิน EIA •  สิ่งแวดล้อมกายภาพ •  สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต เช่น หิน แร่ ดิน น้ํา แหล่งน้ํา น้ําเสีย อากาศ ขยะ •  สิ่งแวดล้อมชีวภาพ •  สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต เช่น พืช สัตว์ ป่าไม้ สัตว์ป่า พืชน้ํา สัตว์น้ํา •  สิ่งแวดล้อมคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ •  สิ่งแวดล้อมที่แปรสภาพสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติโดยผ่านเทคโนโลยี เช่น เกษตรกรรม (ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ปศุสัตว์) อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง การใช้ ที่ดิน ลุ่มน้ํา น้ําประปา การชลประทาน การประมง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การปลูก ป่า การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ •  สิ่งแวดล้อมคุณภาพชีวิต •  สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต เช่น ประชากร การศึกษา สาธารณสุข (สุขภาพอนามัย โภชนาการ) วัฒนธรรม (ความเชื่อ ศาสนา สถานที่ทาง ประวัติศาสตร์ ) เศรษฐกิจ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การนันทนาการ วิถี ชีวิต การดํารงชีวิต ไลว์สไตล์
  • 19. HIA = Health Impact Assessment - การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ - เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคาดคะเนความสมบูรณ์ ทางสุขภาพกายและจิตใจ เพื่อสร้างมาตรการและแผนแก้ไข ผลกระทบทางสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อนําผลการ ศึกษาไปสนับสนุนผลการศึกษาผลกระทบจากโครงการพัฒนาการ ท่องเที่ยว เพื่อช่วยให้ผู้ประเมินสามารถนําไปใช้ในการตัดสินใจ การดําเนินโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว ให้เป็นการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพ!
  • 20. สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ ประเมิน HIA •  เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม •  ของเสีย / มลพิษ •  รวมถึงมลพิษทางสายตา เรียกว่า มลทัศน์ (Visual Pollution) •  ภัยพิบัติธรรมชาติ (อุบัติภัยธรรมชาติ) •  ความขัดแย้งทางสังคม •  ทรัพยากรที่ไม่มีการผลิต (ทรัพยากรไม่มีกําลังการผลิต Unproductive Resource) •  การพักผ่อนของมนุษย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ •  สุขภาพกาย: การเจ็บป่วย การสูญเสียอวัยวะ การพิการ การสูญเสียชีวิต •  สุขภาพจิต: การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ โรคความจําเสื่อม โรคเครียด โรคประสาท
  • 21. SIA = Social Impact Assessment !- การประเมินผลกระทบทางสังคม !- เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจําแนกผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ของโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว ที่สร้างพลังการขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลงการดํารงชีวิตวันต่อวันของบุคคลและ/หรือกลุ่มบุคคล รวมไปถึงความสัมพันธ์ชายหญิง วัฒนธรรม มรดกและศิลปะทาง วัฒนธรรม ชุมชนดั้งเดิม เชื้อชาติและปัจจัยกําหนดคุณลักษณะ ประชากรและเศรษฐกิจระหว่างการดําเนินการและเวลาต่อๆมา จน ทําให้โครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของสังคมไม่เป็นปกติ ! !- โดยมีการมุ่งเน้นการศึกษาไปที่ผลกระทบทางสังคมที่เกี่ยวกับ การสืบพันธุ์ให้เกิดลูกหลานซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่การสูญพันธุ์ของ มนุษยชาติหรือชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็อาจเป็นได้ ! !- การศึกษาในประเด็นนี้จําเป็นที่จะต้องศึกษาให้นุ่มลึกเพื่อให้เกิด การเกี่ยวโยงไปสู่การสูญพันธุ์ของชุมชนดั้งเดิมและเชื้อชาติด้วย !
  • 22. สิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการ ประเมิน SIA •  การดํารงชีวิตวันต่อวันของบุคคลและ/หรือกลุ่มบุคคล •  ชุมชนดั้งเดิม •  เชื้อชาติ •  ปัจจัยกําหนดคุณลักษณะประชากร •  ความสัมพันธ์ชายหญิง •  การเกิด การตาย การย้ายถิ่น •  การเปลี่ยนแปลง พิธีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี •  เศรษฐกิจชุมชน ระหว่าง /หลังการพัฒนา จนทําให้ “โครงสร้าง กระบวนการ พฤติกรรมสังคม” ไม่ปกติ! •  การนันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ •  มรดกและศิลปะทางวัฒนธรรม
  • 24. องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ: Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) ! ชื่อย่อภาษาไทย: อพท. ชื่อย่อภาษาอังกฤษ: DASTA! ความหมายของโลโก้ อพท. รูปหยดน้ํา: หยดน้ํา บ่อเกิดแห่งชีวิต ให้ความสดชื่นและสดใส รูปต้นไม้ที่แผ่ขยายออกไป 4 กิ่งก้าน: ความสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย ทั้ง 4 ภาค สีเหลืองทอง: ความเจริญรุ่งเรือง สีเขียว: ความสดใส ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ สีน้ําเงิน: ความมั่นคง การพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง สีขาว: ทรัพยากรธรรมชาติที่บริสุทธิ์และสดใสยิ่งขึ้นหลัง การพัฒนาและจัดการอย่างถูกวิธี
  • 25. •  ประวัติการก่อตั้ง อพท. - รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มราย ได้และกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนท้องถิ่น - ให้มีการบริหารและพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการ - มีองค์กรกลางทําหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ และ ประสานงานกับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพ - สามารถระดมบุคลากร งบประมาณ และเครื่องมือเครื่องใช้มาใช้ใน การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีเอกภาพและแก้ไขปัญหาโดย รวดเร็ว - ส่งเสริมให้มีการนําความรู้ด้านการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนขึ้นเป็นองค์การมหาชน - ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชนเพื่อปฏิบัติหน้าที่และจัดทํา ภารกิจดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกา หมายเหตุ: Download พระราชกฏษฎีกาได้ที่http:// www.dasta.or.th/upload/About_Menu1/FileUpload/ 15_1214.pdf
  • 26. •  บทบาทหน้าที่ของ อพท. - เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นหน่วยงานในการกําหนดนโยบาย และแผนการ บริหารการพัฒนาในพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - ประสานหน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น และประชาชน เพื่อ ให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และเกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม - คงสภาพแหล่งท่องเที่ยวให้มีความงดงาม สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างความ ประทับใจ แก่นักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศให้ระลึกถึงและ กลับมาท่องเที่ยวใหม่ - ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อพท. พ.ศ.2546 ในราชกิจจานุเบกษา หน้าที่ 2 เล่มที่ 120 ตอนที่ 49 ก 2 มิถุนายน 2546 ได้กําหนด วัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของ อพท. ดังนี้
  • 27. วัตถุประสงค์ (1) ประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่ หรือได้รับมอบหมายให้บริหารจัดการการท่องเที่ยวไม่ว่าในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับท้องถิ่น (2) ประสานงานการใช้อํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ชุมชน ผังเมือง สิ่งแวดล้อมการท่องเที่ยว หรือการรักษาความสงบ เรียบร้อย เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา และรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืน (4) ส่งเสริมการใช้ศักยภาพของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนใน การพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว (5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นของตน (6) ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นจัดให้ มีการบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงาม ของท้องถิ่น (7) ส่งเสริมการจัดทําข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการท่องเที่ยว (8) ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการ จ้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่แห่งท้องถิ่นให้ดีขึ้น!
  • 28. อํานาจหน้าที่ (1) จัดทําและเสนอนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อคณะรัฐมนตรี (2) กําหนดแผนปฏิบัติการเพื่อให้นโยบายและแผนยุทธศาสตร์บรรลุผล (3) ให้คําแนะนํา เสนอแนะ และร่วมแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคในการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษแต่ละแห่ง (4) ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่ พิเศษแต่ละแห่ง (5) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหาอุปสรรค เกี่ยวกับการประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ (6) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติหรือจัดสรรงบประมาณสําหรับการบริหาร และการพัฒนาการท่องเที่ยว (7) อนุมัติแผนการลงทุนและแผนการเงินขององค์การ (8) ประกาศกําหนดพื้นที่พิเศษด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และเสนอ รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาในพื้นที่พิเศษดังกล่าว (9) ควบคุมดูแลการดําเนินงานและการบริหารงานทั่วไปขององค์การ ตลอดจนออก ระเบียบข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ทรัพย์สิน ขององค์การ และสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นของผู้ปฏิบัติงานในองค์การ (10) กระทําการอื่นใดที่จําเป็นต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ!
  • 29. ปรัชญาการดําเนินงานอพท. รักษาสมดุลใน 3 มิติ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ค่านิยมองค์กร ทุ่มเทมุ่งมั่น ประสานภาคี มีใจบริการ ทํางานเป็นทีม D = Determination ทุ่มเทมุ่งมั่น การทํางานอย่างอุทิศตน อดทน กระตือรือร้น และตั้งใจอย่างเต็มกําลังความสามารถ พัฒนาความรู้ความสามารถให้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และต้องทํางานอย่างมืออาชีพ เป็นผู้ชํานาญด้านการท่องเที่ยว อย่างแท้จริง A = Alliance ประสานภาคี การทํางานแบบบูรณาการกับชุมชน และทุกภาคีที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยว S = Service Mind มีใจบริการ จะทํางานด้วยจิตอาสาพร้อมบริการด้วยความ เต็มใจ และจริงใจ T = Teamwork ทํางานเป็นทีม การประสานทํางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ความมุ่งมั่น ความสําเร็จของงานและองค์กร โดยรับฟังความคิดเห็นด้วยความ เข้าใจ ให้เกียรติ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน A = Audience ยิ้มฟังชุมชน การเข้าถึงชุมชน เปิดใจรับฟังความคิดเห็นทั้งด้าน บวกและลบ เคารพความคิดที่แตกต่าง พร้อมปรับปรุงและพัฒนาร่วมกับชุมชน!
  • 30. พื้นที่ท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมในการประกาศเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน จะต้องเข้าหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งใน ๓ ข้อ ด้านล่างนี้ ๑. เป็นพื้นที่ที่มีความโดดเด่นและทรงคุณค่าทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒. เป็นพื้นที่ที่มีความล้ําค่าทางประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ๓. เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ทั้งนี้ทั้งนั้น พื้นที่ท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมในการประกาศเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนจะต้องผ่านเกณฑ์การพิจารณาการให้คะแนนในเบื้องต้นร้อยละ ๗๕ ตามหลักเกณฑ์ที่ DASTA ได้กําหนดขึ้นตามคู่มือการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการพิจารณาการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ขั้นตอนการประกาศเขตพื้นที่พิเศษ ๑. คัดเลือกพื้นที่พิเศษ โดยวิเคราะห์ความเหมาะสมเบื้องต้น แล้วเสนอระดับนโยบายพิจารณา ๒. สํารวจสภาพพื้นที่ ด้านภูมิประเทศ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ๓. ประชุมหารือร่วมกับจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่พิเศษ ๔. เสนอคณะกรรมการ กพท. พิจารณาเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการ ประกาศเขตพื้นที่พิเศษ ๕. จัดทําแผนแม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เสนอคณะกรรมการ กพท. พิจารณาเพื่อนํา เสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบ หมายเหตุ: Download คู่มือการจัดเตรียมข้อมูลการประกาศพื้นที่พิเศษ ได้ที่ http:// www.dasta.or.th/upload/About_Plan_Rule_Spac/FileUpload/19_7031.pdf
  • 31. วิสัยทัศน์ •  อพท. ประสานทุกภาคีเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน พันธกิจ •  ประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ หน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้ บริหารจัดการการ ท่องเที่ยว ไม่ว่าในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับท้องถิ่น •  ประสานงานการใช้อํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน ผังเมือง สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว หรือ การรักษาความสงบเรียบร้อย เพื่อ บูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน •  ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา และรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน •  ส่งเสริมการใช้ศักยภาพของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนา ตลาดการท่องเที่ยว •  ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และพัฒนา แหล่งท่องเที่ยว ในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นของตน •  ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นจัดให้มี การ บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น •  ส่งเสริมการจัดทําข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการท่องเที่ยว •  ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการจ้างงานและ ยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่แห่งท้องถิ่นให้ดีขึ้น!
  • 32. ยุทธศาสตร์ อพท. ได้กําหนดยุทธศาสตร์การดําเนินงานไว้ 6 ประการ ได้แก่ •  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การประสานการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน •  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสินค้า บริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว •  ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษและการท่องเที่ยว ชุมชน •  ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ •  ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างเครือข่ายการพัฒนาทุกภาคส่วน •  ยุทธศาสตร์ที่ 6 การให้บริการด้านองค์ความรู้เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน  ! เป้าหมาย การบริหารการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในช่วง 4 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2551 ‒ 2554 ได้กําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ดังนี้ •  พัฒนาพื้นที่เป้าหมายที่เหมาะสมและมีความคุ้มค่าในการลงทุน ให้ได้รับการพิจารณา คัดเลือกตามหลักเกณฑ์และดําเนินการตามกระบวนการประกาศเขต พื้นที่พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน •  บริหารและพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวชุมชนอย่าง ยั่งยืน •  ภายใต้หลักอุปสงค์อุปทานด้านการท่องเที่ยว โดยได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายผู้ เชี่ยวชาญและเครือข่ายภาคสังคมในระดับ พื้นที่ •  พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสามารถสร้างรายได้และพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ!
  • 33. •  พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่ได้ทําการพัฒนาไป แล้ว และ อยู่ระหว่างการพัฒนา .. ได้แก่:- - หมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง - เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี - เมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง เมืองพัทยา (ครอบคลุมพื้นที่เกาะล้าน เกาะไผ่) เทศบาลตําบลหนองปรือ เทศบาลตําบลบางละมุง เทศบาลตําบลตะเคียนเตี้ย เทศบาลตําบลโป่ง เทศบาลตําบลห้วยใหญ่ เทศบาลตําบลนาจอมเทียน องค์การบริหารส่วนตําบลหนองปลาไหล องค์การบริหารส่วนตําบลเขาไม้แก้ว - อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย- กําแพงเพชร - จังหวัดเลย