SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
รศ.สมพร อิศวิลานนท์
สถาบันคลังสมองของชาติ
1
งานเวทีข้าวไทย ปี 2565 “ก้วต่อไป นโยบายข้าวไทย”
วันพุธที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 8.00-12.30 น
ณ ห้องสุธรรม อารีกุล อาคาร 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ และผ่านระบบออนไลน์
สถาบันคลังสมองของชาติ
นโยบายข้าวไทย: จากอดีตสู่ปัจจุบัน
E-mail: somporn@knit.or.th
2
หัวข้อนาเสนอ
1. การเปิดตลาดค้าข้าวเสรีและนโยบายมุ่งเน้น
การส่งเสริมการผลิตข้าวหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง
2. ก้าวสู่นโบายการผูกขาดตลาดส่งออกข้าวของ
รัฐหลัง WW II
3. การปฎิรูปโครงสร้างพื้นฐาน และการปฎิวัติเขียว
เสริมสร้างศักยภาพการผลิตและการตลาดข้าวไทย
4. การก้าวสู่นโยบายด้านการอุดหนุนผู้ผลิตและ
การแทรกแซงตลาดข้าวเปลือก
3
1. การเปิดตลาดค้าข้าวเสรีและนโยบายมุ่งเน้นการ
ส่งเสริมการผลิตข้าวหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง
หลังจากที่ได ้มีการทาสนธิสัญญาเบาริงในปี 2398 ในสมัยรัชกาลที่ 4
การค ้าขายของไทยกับต่างชาติทาได ้โดยสะดวก และเป็นการเปิดตลาดการค ้า
เสรี ชาวนา พ่อค ้าคนกลาง และพ่อค ้าส่งออกสามารถซื้อขายทาการค ้าได ้
อย่างอิสระ (Ingram,1955) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให ้ข ้าวเป็นพืช
เศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลไทยไดมีนโยบายด ้านการผลิตและ
การค ้าข ้าวดังนี้:
1.1 การเปิดตลาดการค้าข้าวเสรีเป
็ นก้าวสาคัญที่ต่อมาทา
ให้เกิดการพัฒนาข้าวไทยตามมา
4
ก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริงและสนธิสัญญากับชาติตะวันตกอื่นๆตามมานั้น การ
ส่งออกข ้าวของไทยถูกผูกขาดโดยระบบพระคลัง ซึ่งมีอานาจทั้งในการ
จัดเก็บภาษีและการค ้าขายกับต่างประเทศ
1.2 นโยายในยุคนั้นมุ่งเน้นด้านการส่งเสริมการเพาะปลูก
ข้าวและพัฒนาการผลิตข้าว
 การขุดคลองเชื่อมระหว่างแม่น้าสายต่างๆในที่ราบภาคกลาง ใน
ทศวรรษ 2400-2450 และการให้กรรมสิทธิ์ถือครองที่ดิน
5
เเพื่อเปิดพื้นที่ว่างเปล่า (Land Reclamation) ให ้ประชากรอพยพไปตั้ง
ถิ่นฐานและขยายการปลูกข ้าว พร ้อมๆกับการใช ้เป็นเส ้นทางคมนาคมขนส่ง
ในสมัยรัชกาลที่ 5 นอกจากได ้ทรงโปรดลงทุนขุดคลองขึ้นจานวนมาก เช่น
คลองภาษีเจรญ คลองทวีวัฒนา คลองมหาสวัสดิ์ คลองประเวศฯ เป็นต ้น แล ้ว
ในช่วงปี 2433-48 ยังได ้ให ้สัมประทานในการขุดคลองรังสิตฯ เพื่อเปิดทุ่ง
หลวงให ้เป็นแหล่งทาการเกษตรสมัยใหม่ เป็นโครงการชลประทานเพื่อ
การเกษตรแห่งแรกในประเทศไทย อีกทั้งในปี 2445 ได ้ว่าจ ้างให ้Mr. Van der
Heide มาวางแผนชลประทานขนาดใหญ่ในทุ่งภาคกลาง แต่แผนงานดังกล่าว
ไม่ได ้ถูกนามาใช ้ปฎิบัติในขณะนั้น
เการเปิดพื้นที่ว่างเปล่าให ้ประชากรไปตั้งถิ่นฐานได ้ตามมาด ้วยการให ้กรรมสิทธิ์
ถือครองที่ดินตามมาเพื่อสร ้างแรงจูงใจในการอพยพไปตั้งถิ่นฐานใหม่
พื้นที่เพาะปลูกข ้าว ผลผลิต และการส่งออก ได ้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
6
การจัดตั้งสถาบันสหกรณ์การเกษตร
สหกรณ์การเกษตรแห่งแรกมีชื่อว่าสหกรณ์วัดจันทร์ จัดตั้งขึ้นที่ จ.พิษณุโลกใน
ปี 2559 และได ้ขยายตัวไปในภูมิภาคและจังหวัดต่างๆในเวลาต่อมา การจัดตั้ง
สหกรณ์การเกษตรเพื่อให ้เกษตรกรได ้รวมตัวกันขึ้นเป็นองค์กร ในการทาธุรกิจ
การซื้อหรือจัดหาปัจจัยการผลิตและธุรกิจการขายผลผลิต รวมถึงเป็นแหล่งใน
การจัดหาสินเชื่อดอกเบี้ยต่าและการให ้ความรู้ด ้านการเกษตรกับเกษตรกรชาวนา
ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 3 พันกว่าแห่งและมีทีทาธุรกิจเกี่ยวกับช ้าวอยู่จานวนหนึ่ง
 (ต่อ)
7
การวางรากฐานการวิจัยด้านข้าว:
การพัฒนาทรัพยากรกาลังคนและสร ้างนักวิชาการ โดย ร.5 ทรงสนับสนุนทุน
เล่าเรียนหลวงให ้แก่นักเรียนไทยได ้ไปศึกษาในต่างประเทศในด ้าน
เกษตรกรรมอย่างต่อเนื่อง ผู้สาเร็จการศึกษาและกลับมาเป็นผู้บุกเบิกรุ่นแรกๆที่
สาคัญในยุคนั้น เช่น นายตริ มิลินทจินดา หรือพระยาโภชากร
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได ้ทรงโปรดให ้มีการรวบรวมและเสาะแสวงข ้าวพันธุ์ดีจาก
แหล่งต่างๆ โดยการจัดประกวดพันธ์ข ้าว ซึ่งครั้งแรกจัดที่ทุ่งธัญญบุรี ในปี 2450
และทาต่อๆมาอีกหลายครั้ง รวมถึงการจัดแสดงงานกสิกรรมและพาณิชย์ไทย
ครั้งแรกที่วังสระประทุม ในปี 2453 และได ้จัดซื้อพันธุ์ที่ประกวดชนะรางวัลไว ้
แล ้วนาไปเผยแพร่ให ้ชาวนาใช ้เป็นพันธุ์ปลูก
การจัดตั้งนาทดลองคลองรังสิต ในปี 2449 และมีการจัดประกวดพันธุ์ข ้าว
ครั้งแรกที่ทุ่งรังสิตในปี 2450 เพื่อรวบรวมเมล็ดข ้าวพันธุ์ดีไว ้ขยายพันธุ์
 (ต่อ)
ได ้ยกระดับนาทดลองขึ้นเป็นสถานีทดลองข ้าวรังสิตในปี 2459 โดยมีพระยาโภ
ชากร (ตรี มิลินทสูตร) เป็นหัวหน้าสถานีท่านแรกและเป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยด ้านการ
ปรับปรุงพันธุ์ข ้าวที่สาคัญ ได ้จัดตั้ง “แผนกข ้าว” ขึ้นในกรมกสิกรรมและประมง ในปี
2478 และในปี 2496 ได ้จัดตั้งเป็น "กรมการข ้าว"
นับจากปี 2475 ได ้เริ่มงานการปรับปรุงพันธุ์ข ้าวและการพัฒนาบุคคลากรด ้าน
ข ้าวในเชิงงานวิจัยภาคสนาม โดยพระยาโภชากร ได ้ดาเนินการ ร่วมกับ มล. ยิ่ง
ศักดิ์ อิศระเสนา ซึ่งจบการศึกษาด ้านพืชจากอังกฤษได ้มาร่วมงานที่สถานีทดลอง
ข ้าวรังสิตในขณะนี้น ทั้งนี้ข ้าวที่ได ้คัดพันธุ์ไว ้เช่น ข ้าวพันธุ์ปิ่นแก ้ว ส่งประกวดใน
ปี 2476 และได ้รับรางวัลดีเยื่ยมเป็นที่ 1 ของโลก
8
 (ต่อ)
9
2. ก้าวสู่นโบายการผูกขาดตลาดส่งออกข้าวของ
รัฐหลัง WW II
 การผูกขาดตลาดส่งออกข้าวโดยภาครัฐหลัง WW II
 ในช่วงปลายปี 2493 ได ้ให ้เอกชนสามารถส่งออกข ้าวได ้แต่ได ้ปรับ
รูปแบบเป็นการให ้จ่ายค่า premium แทนค่าใบอนุญาต ทั้งนี้เพื่อป้องกัน
ราคาข ้าวภายในประเทศผันผวน
 การผูกขาดตลาดส่งออกข้าวโดยภาครัฐ:
เนื่องจากต ้องทาหน้าที่รวบรวมข ้าวจัดส่งให ้UN ในช่วงปี 2489-91 เพื่อเป็น
ค่าปรับสงครามในจานวน 1.5 ล ้านตัน รัฐได ้ออก พ.ร.บ.สารวจและห ้ามกักกัน
ข ้าวและ พ.ร.บ.การค ้าข ้าว รวมถึงการจัดตั้งสานักงานข ้าวเพื่อบริหารและ
ควบคุมและผูกขาดการส่งออกในช่วงปี 2488-97 (รังสรรค์ ธนพรพันธุ์ 2530)
การเก็บค่า premium ในยุคนั้นจึงเป็นเครื่องมือแทรกแซงกลไกตลาด
ส่งออกข ้าว ในขณะเดียวกันก็เป็นเครื่องมือควบคุมการส่งออกข ้าว และสร ้าง
รายได ้ทางการคลังให ้กับรัฐบาล นโยบายพรีเมี่ยมข ้าวถูกยกเลิกในปี 2528
10
11
การใช้มาตรการแทรกแซงอื่นๆในตลาดค้าข้าวช่วงหลัง
WW II
การแทรกแซงอื่นๆที่เป
็ นนโยบายเสริมในช่วงหลัง WW II
การเก็บอากรส่งออก
การกาหนดราคาส่งออกขั้นต่า โดยใช ้กลไกการออกใบอนุญาตส่งออก
การเรียกเก็บหรือบังคับซื้อข ้าวสารองจากผู้ส่งออกในราคาต่า เพื่อนาไป
ขายเป็นข ้าวสารราคาถูกตามร ้านค ้าของกรมการค ้าภายใน
การบังคับให ้ผู้ส่งออกสต็อกข ้าวตามสัดส่วนโควตาส่งออกที่ได ้รับ
การขายข ้าวในรูปของ G2G
การใช ้แพ็คกิ้งแครดิตแก่ผู้ส่งออกจากธนารแห่งประเทศไทย
12
3. การปฎิรูปโครงสร้างพื้นฐาน และการปฎิวัติเขียว
เสริมสร้างศักยภาพการผลิตและการตลาดข้าวไทย
3.1 การพัฒนาระบบชลประทานในช่วงแรกๆของ
แผนพัฒนาฯเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวไทย
เพื้นที่ชลประทานได ้เพิ่มจาก 10.77 ล ้านไร่ เฉลี่ยในช่วงปี 2509-13 มาเป็น
27.18 ล ้านไร่ ในช่วงปี 2529-33 และชะลอตัวลงหลังแผนพัฒนาฯฉบับที่ 6
13
การประกาศใช ้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ในช่วงปี 2504-09 และฉบับต่อๆมาในทุกๆ 5
ปี ในช่วงแรกๆของแผนฯ ได ้มุ่งเน้นที่โครงสร ้างพื้นฐานทางการเกษตรที่สาคัญ ได ้แก่
การพัฒนาระบบชลประทาน การโครงสร ้างตลาดสินค ้าเกษตรและการคมนาคมขนส่ง
รวมถึงระบบวิจัย
14
3.2 การพัฒางานวิจัยผ่านกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ข้าว
และการปรับรุงข้าวพันธุ์ไม่ไวแสงลูกผสมของไทยเกิดขึ้น
เกิดการเปลี่ยนระบบการทานาในพื้นที่ชลประทานจากปีละ 1 ครั้งมาเป็นปีละ
มากกว่าหนึ่งครั้ง พร ้อมๆกับผลผลิตต่อพื้นที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
เมื่อ IRRI ได ้ต ้นพบข ้าวพันธุ์ IR8 (Miracle rice) ซึ่งเป็นข ้าวพันธุ์ใหม่ที่
ให ้ผลผลิตสูง ปลูกได ้ทุกฤดูกาลในพื้นที่ชลประทาน และมีลาต ้นเตี้ย
นักวิชาการของกรมการข ้าวในยุคนั้นมีความพร ้อมด ้านการปรับปรุงพันธุ์พืชมาก และ
ได ้นาพันธุ์ IR8 มาผสมกับพันธุ์พื้นเมืองที่มีคุณภาพดีเช่นพันธ์เหลืองทอง ทาให ้
พัฒนาข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงพันธุ์แรกของไทยได ้แก่พันธุ์ กข 1 เกิดขึ้นในปี 2509
(Jackson et al 1969) และเป็นการเริ่มต ้นยุคปฎิวัติเขียวของข ้าวไทยตามมา
หลังจากได ้มีการจัดตั้งกรมการข ้าวในปี 2496 แล ้ว ได ้มีโครงการพัฒนาข ้าว
ไทยในช่วงปี 2493-98 โดยมี Prof. Love ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด ้าน plant
breeding จาก Cornel U. เข ้ามาทางานร่วมกับหลวงอิงคศรีกสิการ และ ม.จ.จักร
พันธุ์เพ็ญสิริ จักรพันธุ์ ทาให ้ได ้มีการจัดเก็บพันธุ์ข ้าวที่มีกระจายอยู่ทั่วประเทศมา
รวบรวมไว ้รวมถึงข ้าวหอมมะลิจากบางตล ้า พร ้อมกับการสร ้างนักวิจัยด ้านการ
ปรับปรุงพันธุ์ข ้าว เช่น ดร.สละ ทศานนท์ ดร.ครุย บุณยสิงห์ฯ
ในปี 2547 มีจานวนการจัดตั้งตลาดกลางข ้าวเปลือกของเอกชนารกระจายอยู่
ในทุกภูมิภาคไม่น้อยกว่า 70 แห่ง’(ไม่รวมที่ข ้าวของสหกรณ์การเกษตรฯ)
อีสาณ เหนือ กลาง ใต้ รวม
จานวน 15 35 20 - 70
อีสาณ เหนือ กลาง ใต้ รวม
จานวน 321 108 114 67 682
สาหรับจานวนท่าข ้าวของสหกรณ์ฯและการการ
กระจายในปี 2547 พบว่ามีจานวนถึง 682 แห่ง
ที่มา: ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2547)
ที่มา: ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2547)

ในช่วงแผนพัฒนาฉบบัที่ 4-5 การสนับสนุนการจัดตั้งตลาดกลางข ้าวเปลือก
ในแหล่งสาคัญๆ ได ้เป็นแหล่งซื้อขายข ้าวเปลือกระหว่างเกษตรกรและโรงสีที่
สาคัญ และเฟื่องฟูมากในช่วงปลายทศวรรษ 2520-2540 อีกทั้งตลาดกลางทา
หน้าที่ผู้ให ้บริการทางการตลาด ซึ่งส่งผลดีต่อเกษตรกรและโรงสี ตลาดกลางที่
สาคัญ เช่น ท่าข ้าวกานันทรง เป็นต ้น
3.3 การให้ความสาคัญกับการส่งเสริมตลาดกลางการค้า
ข้าวเปลือก
16
4. การก้าวสู่นโยบายอุดหนุนผู้ผลิตและการ
แทรกแซงตลาดข้าวเปลือก
17
เทคโนโลยีปฎิวัติเขียว ได ้ส่งผลให ้เกิดการขยายตัวของอุปทานผลผลิตข ้าว
รวมถึงระบบการผลิตข ้าวในไร่นาของเกษตรกรโดยเฉพาะในพื้นที่ชลประทานอ
ยางก ้าวกระโดด การทานามากกว่า 1 ครั้งในพื้นที่ชลประทาน ได ้เพิ่มปริมาณ
อุปทานผลผลิตข ้าวอ่างรวดเร็วและมผลต่อความผันผวนของระดับราคา
โดยเฉพาะในช่วงฤดูเก็บเกี่ยว
ราคาสินค ้าข ้าวในตลาดข ้าวโลกได ้แกว่งตัวไปในทิศทางลดลง และสงผลต่อ
ภาวะตกต่าของราคาข ้าวเปลือกภายในประเทศ หลายประเทศสามารถพึ่งพา
ตนเองในการผลิตข ้าวได ้มากขึ้น หลุดพ ้นจากภาวะขาดแคลน
การเกิดความไม่สงบทางการเมืองในปี 2516 ทาให ้รัฐบาลต่อๆมาได ้ให ้ความ
สนใจกับเสียงเรียกร ้องจากเกษตรกรมากขึ้น รวมถึงการอก พ.ร.บ.จัดตั้งกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกรในปี 2517 เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและใช ้จ่ายช่วยเหลือ
หรือส่งเสริมเกษตรกรโดยเฉพาะการรักษาเสถียรภาพของราคา
4.1 แรงกดดันที่นาไปสู่มาตรการแทรกแซงกลไกราคาใน
ตลาดข้าวเปลือก
เทคโนโลยีปฏิวัติเขียว มีผลให ้มีการขยายตัวด ้านปริมาณการผลิตและ
การส่งออก ส่งผลให ้อุปทานผลผลิตข ้าวโลกและอุปทานการส่งออกข ้าวมี
เพิ่มมากขึ้น อย่างรวดเร็ว ตลาดข ้าวโลกได ้เปลี่ยนจากตลาดของผู้ขายใน
อดีตมาเป็นตลาดของผู้ซื้อ
สถาบันคลังสมองของชาติ
18
4.2 วิวัฒนาการของโครงการรับจานาข้าวเปลือก
ที่มาของภาพ:Google.com
ปี2529 ปรับเปลี่ยน
เชิงนโยบายที่สาคัญ
ได้ยกระดับโครงการ
รับจานาข้าวเปลือกจาก
โครงการเสริมให้เป
็ น
โครงการหลักเพื่อ
ช่วยเหลือเกษตรกร
 การแทรกแซงตลาด
ข้าวได้เปลี่ยนจาก
นโยบายพยุงราคา โดย
ก่อนหน้าได้ให้ อ.ต.ก.
ไปรับซื้อข้าวเปลือกเพื่อ
พยุงราคาไม่ให้ตกต่า
ลง
เปลี่ยนจากที่เคย
แทรกแซงตลาดข้าว
สารไปสู่การแทรกแซง
ตลาดข้าวเปลือก
พัฒนากลไกตลาดกลาง
ช้าวเปลือกตามแผนพัฒนา
ฉบับที่ 5-8 (2525-44) มี
ตลาดกลางท่าข้าวเกิดขึ้น
จานวนมากในยุคนี้
ตลาดกลางเป
็ นแหล่ง
อ้างอิงราคาที่สาคัญและทา
ให้เกษตรกรมีอานาจ
ต่อรองในตลาดมากขึ้นกับ
ผู้มาซื้อในตลาดกลาง
โดยเฉพาะโรงสี
มีโครงการรับจานาใน
การทาหน้าที่อานวยเงิน
กู้ยืมให้กับเกษตรกรที่
ต้องการเงินทุนไปใช้ใน
ช่วงเก็บเกี่ยวและเป
็ น
โครงการที่มึจุดมุ่งหวังทาง
เศรษฐกิจเป
็ นสาคัญโดย
คิดมูลค่าจานา 80%ของ
มูลค่าข้าวและในวงเงินไม่
เกินรายละ 100,000 บาท
จาก 2544-2551
2544 มีการปรับ
ราคาจานาให้เท่ากับ
ราคาตลาดและปีต่อมา
ได้กาหนดราคาสูงกว่า
ราคาตลาด และเพิ่ม
วงเงินเป
็ นไม่เกินราย
ละ 300,000 บาท
ในปี 2546เป
็ นต้นมา
ได้ขยายขนาดของ
โครงการจากเดิมที่มี
เป
้ าหมายประมาณ 2
ล้านตัน ขึ้นเป
็ น 9 ล้าน
ตันและเพิ่มระดับราคา
รับจานาให้สูงกว่า
ราคาตลาด
มูลค่ารับจานาเพิ่ม
จาก 12,429ล้านบาท
ในปี 2546/47เป
็ น
71,773ล้านบาทในปี
2548/49 และไม่ต่า
กว่า 100,000 ล้าน
บาทในปี 2551
ในทศวรรษ 2530 -
กลางทศวรรษ 40
จาก 2552-2557
เข้าสู่โครงการ
ประกันรายได้ขั้นต่า
(2552-ก่อน 7
ตุลาคม 2554) โดยรัฐ
สร้างหลักประกัน
รายได้ขั้นต่าให้กับ
เกษตรกรปลูกข้าว
และไม่เข้าไป
แทรกแซงในกลไก
ตลาด
เริ่มโครงการับจานา
ใหม่นับตั้งแต่ 7 ต.ค.
2554 เป
็ นต้นมา รับ
จานาไม่จากัดปริมาณ
ในระดับราคา 15,000
บาท/ตัน สาหรับข้าว
เจ้า ความชื้น 15%
และ 20,000 บาท/ตัน
สาหรับข้าวหอมมะลิ
ก้าวไปสู่การเป
็ น
ตลาดข้าวเปลือก
ผูกขาดโดยรัฐ
ปี 2524 ปี
เริ่มต ้น
 ริเริ่ม
ดาเนินการ
โดย ธ.ก.ส.
เพื่อให้
เกษตรกรมี
เงินไปใช้
จ่ายหลังฤดู
เก็บเกี่ยว
4.2 (ต่อ)
ในช่วงปี 2547/48 -51/52 ประมาณ 5 ปี ได ้ขาดทุนโครงการรับจานาเป็นเงิน
158,272 ล ้านบาท หรือเฉลี่ยปีละ 31,654.4 ล่านบาทเป็นการอดหนนทีไม่มาก
19
4.3 เมื่อโครงการรับจานาข้าวเปลือกถูกแปลงยกระดับ
เป
็ นนโยบายประชานิยม
นับจาก 7 ต.ค. 2554 โครงการรับจานาฯได ้ยกระดับราคาจานาขึ้น 50% สูง
กว่าราคาตลาด โดยราคาข ้าวเปลือกเจ ้าเป็น 15,000 บาท/ตัน ความชื้น 15% และ
ข ้าวหอมมะลิราคา 20,000 บาทต่อตัน นอกจากนี้ยังไม่จากัดจานวนข ้าวเปลือกที่
นามาจานา โดยหวังว่าการดึงอุปทานมาเก็บจะทาให ้ราคามีเสถียรภาพ
4.4 ผลกระทบของโครงการรับจานาข้าวทุกเมล็ดในระดับ
ราคาสูง
ทาให ้รัฐเป็นผู้ครอบครองข ้าวเปลือกและข ้าวสารรายใหญ่ในตลาดข ้าวเปลือกและ
ตลาดข ้าวสาร เพราะเมื่อรับจานาไม่จากัดจานวนแล ้วรัฐให ้สีเป็นข ้าวสารเก็บไว ้แทน
การเก็บข ้าวเปลือก โครงการฯได ้ทอนอานาจการแข่งขันในตลาดข ้าวเปลือกของ
เอกชนและในขณะเดียวกันเป็นผู้ผูกขาดในตลาดข ้าวสารส่งออก
รัฐจะขาดทุนจากโครงการรับจานาตันละ 11,20 บาท
22
ตลาดกลางข ้าวเปลือกมีปริมาณการค ้าต่า อยู่ไม่ได ้ และเป็นการสิ้นยุค
ตลาดกลางสินค ้าข ้าวเปลือก
การรับจานาในระดับราคาสูงจูงใจให ้เกษตรกรเลือกการผลิตข ้าวที่มีอายุ
สั้น ซึ่งมีคุณภาพต่า หากปล่อยนานออกไปจะเป็นการทาลายคูณภาพข ้าว
ในตลาดของไทย
พฤติกรรมชาวนาจะเปลี่ยนไป โดยมีการเก็บเกียวข ้าวที่ยังไม่แก่เต็มที่
ซึ่งทาให ้คุณภาพข ้าวหลังการสีตกต่า
ตลาดซื้อขายสินค ้าข ้าวล่วงหน้าได ้รับผลกระทบจากการที่ไม่มีผู้เข ้าไปซื้อ
ขายในตลาด
สูญเสียตลาดสงออก โดยในปี 2554 ส่งออกข ้าวจานวน 8.3 ล ้านตัย และ
ได ้ลดลงเหลือ 5.0 และ 6.6 ล ้านตันในปี 2555 และ 56 ตามลาดับ และได ้
ปรับเพิมชึนเป้น 10.97 ล ้านตันในปี 2557 เอ่ได ้ยุติโครงการฯ โดย คสช.
4.4 ผลกระทบของโครงการรับจานาข้าวทุกเมล็ด(ต่อ)
 การเปลี่ยนจากโครงการรับจานามาเป
็ นโครงการประกันรายได้
เกษตรกรผู้ปลูกข้าว
โครงการประกันรายได ้ได ้นามาใช ้เริ่มแรกในสมัยนายกอภิสิธ์ในปีการผลิต
2552/53 และ2553/54 เพื่อแก ้ปัญหาข ้าวค ้างสต็อกและปัญหาการระบายออกจาก
โครงการรับจานข ้าวไว ้จานวนมากและเกษตรกรไม่มาไถถอนคืน
นโยบายข้าวไทยภายใต้รัฐบาลปัจจุบัน
23
ทั้งนี้รัฐจะเป็นผู้กาหนดราคาเป้าหมาย หากราคาข ้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได ้
ต่ากว่าราคาเป้าหมายรัฐจะป็นผู้จ่ายส่วนต่างให ้ได ้ใช ้งบประมาณในปีการผลิต
52/53 และ ปี 53/54 เป็นจานวน 47,843 ล ้านบาท และ 67,580 ล ้านบาท
ตามลาดับ
ในสมัยนายกประยุทธ์ โครงการประกันรายได ้ถุกนามาใช ้ในปี 2562/63 จนถึง
ปัจจุบัน
นโยบายข้าวไทยภายใต้รัฐบาลปัจจุบัน
24
ทั้งนี้รัฐจะเป็นผู้กาหนดราคาเป้าหมาย หากราคาข ้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได ้
ต่ากว่าราคาเป้าหมายรัฐจะป็นผู้จ่ายส่วนต่างให ้ได ้ใช ้งบประมาณในปีการผลิต
52/53 และ ปี 53/54 เป็นจานวน 47,843 ล ้านบาท และ 67,580 ล ้านบาท
ตามลาดับ
25
26
หน่วยงาน งบประมาณทุนวิจัย
(ล้านบาท)
เฉลี่ยงบต่อปี(ล้าน
บาท)
ร้อยละ
กรมการข ้าว 2,084.20 285.53 58.2
สถาบันการศึกษาต่างๆ 578.5 72.31 16.1
สานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ
89.2 11.19 2.5
สถาบันวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
75.4 9.43 2.1
กรมพัฒนาที่ดิน 68.7 8.59 1.9
หน่งยงานอื่นๆ(90 หน่วยงาน) 687.1 85.89 19.2
รวมงบประมาณ 2551-58 3,583.1 447.89 100.0
3.7 งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐ
จาแนกตามหน่วยงาน
ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
งบวิจัยมากกว่าครึ่งจัดสรรให ้กับกรมการข ้าวหรือเฉลี่ยปีละ 285.5 ล ้านบาท
สถาบันการศึกษาได ้รับงบวิจัยด ้านข ้าวร ้อยละ 16.1 หรือเฉลี่ยปีละ 72.3 ล ้าบาท
งบประมาณการลงทุนวิจัยด ้านข ้าวของภาครัฐรวม 3,583.1 ล ้านบาทช่วงปี 2551-58
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
3.3 การวิจัยด้านข้าวในยุคเทคโนโลยีปฏิวัติเขียวและผลกระทบ
27
 ปี 2509 ข ้าวพันธุ์ IR8 พันธุ์ไม่ไวแสงได ้ถูกนาออกเผยแพร่โดย IRRI เป็นการ
ก ้าวเข ้าสู่ยุคเทคโนโลยี Green revolution มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์และ IRRI ได ้เข ้า
มาสนับสนุนการวิจัยด ้านข ้าวและนักวิจัย
ปี 2512 ข ้าวลูกผสมพันธุ์ไม่ไวแสงพันธุ์แรกของไทย กข 1 (ผสมระหว่างข ้าว
พันธุ์พื้นเมืองเหลืองทองของไทยกับ IR8) ได ้ถูกนาออกเผยแพร่โดยกรมการข ้าว
การพัฒนาพันธุ์ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงต่างๆ มีผลต่อการขยายตัวของการทานา
มากกว่า 1 ฤดู และการเพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่ชลประทาน ทาให ้ผลผลิตทั้ง
ประเทศเพิ่มขึ้น นาไปสู่การปรับตัวของตลาดแรงงานและตลาดที่ดินและเครื่องจักรกล
การเกษตรและปัจจัยการผลิตตามมา
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
ที่มา: http://www.ricethailand.go.th/rkb3/Varieties.htm; องค์ความรู้ข ้าว กรมการข ้าว
ชนิดของพันธุ์ข้าวนาสวนแบ่งตามการตอบสนองต่อช่วงแสง
ชนิดของพันธุ์ข้าวขึ้นน้า ข้าวไร่ และข้าวอื่นๆ
28
3.4 ชนิดของพันธุ์ข้าวต่างๆที่ได้รับการพัฒนาและขึ้นทะเบียนกับ
กรมการข้าว
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
29
3.5 การลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐในช่วงทศวรรษที่ผ่านมากับ
เทคโนโลยีที่สาคัญ 5 ลาดับแรก
จานวนงบประมาณลงทุนวิจัยข้าวที่จัดสรรโดย วช. ในช่วงปี 2551-2558 และมี
สัดส่วนที่สูงในกลุ่มการวิจัยด้านเทคโนโลยีพันธุ์พืชเป
็ นระดับแรก
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
30
จ
านวนงบประมาณ(บาท)
ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวแยกตามเทคโนโลยี
3.6 การลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐในด้านเทคโนโลยี
ต่างๆ
การลงทุนวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีพันธุ์
พืชมีสัดส่วนสูงกว่าด ้านอื่นๆในทุกๆปี
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
31
หน่วยงาน งบประมาณทุนวิจัย
(ล้านบาท)
เฉลี่ยงบต่อปี(ล้าน
บาท)
ร้อยละ
กรมการข ้าว 2,084.20 285.53 58.2
สถาบันการศึกษาต่างๆ 578.5 72.31 16.1
สานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ
89.2 11.19 2.5
สถาบันวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
75.4 9.43 2.1
กรมพัฒนาที่ดิน 68.7 8.59 1.9
หน่งยงานอื่นๆ(90 หน่วยงาน) 687.1 85.89 19.2
รวมงบประมาณ 2551-58 3,583.1 447.89 100.0
3.7 งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐ
จาแนกตามหน่วยงาน
ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
งบวิจัยมากกว่าครึ่งจัดสรรให ้กับกรมการข ้าวหรือเฉลี่ยปีละ 285.5 ล ้านบาท
สถาบันการศึกษาได ้รับงบวิจัยด ้านข ้าวร ้อยละ 16.1 หรือเฉลี่ยปีละ 72.3 ล ้าบาท
งบประมาณการลงทุนวิจัยด ้านข ้าวของภาครัฐรวม 3,583.1 ล ้านบาทช่วงปี 2551-58
3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
32
1) มาตรการพรีเมี่ยมข๎าว (Rice Premium) รัฐบาลเรียกเก็บคา
ธรรมเนียมอนุญาตจาก
ผู๎สงออกประเภทของข๎าว กรมการค๎าตางประเทศเป็นผู๎ดาเนิน
การ
2) มาตรการคาธรรมเนียมสงออก (Export Duty) กาหนดคา
ธรรมเนียมที่อัตราร๎อยละ
2.5-10 ตามมูลคาของสินค๎าที่สงออก (Ad Valorem Duties)
มีกรมศุลกากรเป็นผู๎ดาเนินการ
3) มาตรการโควตาการสงออกข๎าว หรือการจากัดการสงออก
ข๎าว (Export Quota
Restriction) มีกรมการค๎าภายในเป็นผู๎กาหนดโควตาสงออก
ของผู๎สงออกข๎าวตามปริมาณการสงออก
ของผู๎สงออกแตละรายในปีกอน
4) มาตรการโครงการสารองข๎าว (Rice Reserve
Requirement) รัฐบาลกาหนดให๎
ผู๎สงออกข๎าวทุกรายต๎องขายข๎าวที่จะสงออกให๎รัฐบาลจานวน
หนึ่งในราคาที่ต่ากวาตลาด มีกรมการค๎า
ภายในเป็นผู๎ดาเนินการเพื่ออุดหนุนผู๎บริโภค
นับจากที่ได ้มีการทาสนธิสัญญาเบาริงในปี 2398 แล ้วการค ้าขายของไทย
กับต่างชาติได ้ก ้าวขยายตัวไปอย่างรวดเร็ว การเปิดเสรีการค ้าในยุคนั้น ชาวนา
พ่อค ้าคนกลาง และพ่อค ้าส่งออกสามารถซื้อขายได ้อย่างเสรี ส่งผลให ้ข ้าว
เติบโตขึ้นเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญของประเทศต่อเนื่องมา (Ingram,1955)
การพัฒาการขุดคลองต่างๆ(ในช่วงทศวรรษ 2400-2450:
1.1 การเปิดตลาดการค้าข้าวเสรีหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง
เป
็ นแรงขับเคลื่อนสาคัญในการพัฒนาระบบนิเวศข้าวไทย
เเป็นการเปิดพื้นที่ว่างเปล่าให ้ประชากรอพยพไปตั้งถิ่นฐานและขยายการ
ปลูกข ้าว พร ้อมๆกับการใช ้เป็นเส ้นทางคมนาคมขนส่ง รวมถึงการให ้
กรรมสิทธิ์ถือครองที่ดินตามา อีกทั้งในปี 2445 ได ้ว่าจ ้าง Mr. Van der
Heide มาวางแผนชลประทานขนาดใหญ่ในทุ่งภาคกลาง แต่แผนดังานดังก
ล่าวไม่ได ้ถูกนามาใช ้ปฎิบัติในขณะนั้น
33
ก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริงและสนธิสัญญากับชาติตะวันตกอื่นๆตามมา การ
ส่งออกข ้าวของไทยถูกผูกขาดโดยระบบพระคลัง ซึ่งมีอานาจทั้งในการ
จัดเก็บภาษีและการค ้าขายกับต่างประเทศ
34
ปี
เฉลี่ยงบวิจัยข้าว
(ล้านบาท)
เฉลี่ยงบวิจัยต่อพื้นที่ปลูกข้าวนาปี
(บาทต่อไร่)
สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก
(%)
2511-15 134. 3.04 0.51
2546-48 128 4.12 0.17
2553-55 315 4.85 0.29
2559-61 441 7.47 0.26
ที่มา: สมพร อิศวิลานนท์ (2564)
งบวิจัยด้านข้าวเฉลี่ยต่อปี ช่วงเวลาต่างๆ งบเฉลี่ยต่อพื้นที่ปลูกข้าวนาปี และสัดส่วนต่อมูลค่าข้าว
ส่งออก 2511-2561
การพัฒนาการของโครงการรับจานาข้าวเปลือก
• เดิมการจานายุ้งฉางให้สินเชื่อ 80-90% เพื่อให้ชาวนาชะลอการขายข้าว
• ปี 2536/37 เริ่มการจานาแบบใบประทวน
• ปี 2543/44 รัฐบาลทักษิณเริ่มเพิ่มราคาจานาเป
้ าหมายให้สูงกว่าตลาด และ
เพิ่มงบ
– กลายเป
็ นนโยบาย “ประกันราคาขั้นต่า” เพื่อเพิ่มรายได้ให้ชาวนา และ
ยกระดับราคาต้นฤดู
• ปี 2544/45 เริ่มการจานาข้าวนาปรังครั้งแรก
• รัฐบาลนายกสุรยุทธลดราคาจานาลงใกล้เคียงราคาตลาด
• รัฐบาลนายกสมัครขึ้นราคาจานาสูงเป
็ นประวัติการณ์ 14,000 บาท ในฤดูนา
ปรัง 2551
• แม้ราคาตลาดจะลดลงรวดเร็ว แต่รัฐบาลนายกสมชาย และนายกอภิสิทธิ์ก็
ยังคง ราคาจานาสูงกว่าตลาดมาก คือ นาปี 2551/52 ราคา 12,000 บาท
และนาปรัง 2552 ราคา 11,800 บาท
• นาปี 2553 รัฐบาลนายกอภิสิทธิ์ ได้ปรับนโยบายจากการรับจานาเป
็ นประกัน
รายได้เกษตรกรปลุกข้าวขั้นต่า
• นาปี 2554 เริ่ม 1 สิงหาคม รัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์ยกระดับราคาจานาเป
็ น
15,000 บาทสาหรับข้าวเลือกความชื้น 15%
35
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
โครงการรับจานาข้าวเปลือกปี 2542/43
ชนิดคุณภาพของข ้าวเปลือก ราคาเป้าหมาย (บาท/ตัน) ราคารับจานาบาท/ตัน)
-ข ้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ 6,840 6,495
-ข ้าวเปลือกคุณภาพดี 100% 5,560 5,280
-ข ้าวเปลือกเจ้าคุณภาพดี 5% 5,460 5,185
-ดาเนินงานพื้นที่ 67 จังหวัด รับจานาจากเกษตรกร 325,000 ครัวเรือน และสถาบันเกษตรกร
400 สถาบัน ปริมาณข ้าวเปลือกที่รับจานา 2.5 ล ้านตัน วงเงินสินเชื่อ 14,725 ล ้านบาท เริ่ม
โครงการเมื่อ 1 พ.ย. 2542 มีระยะเวลาจานา 7 เดือน
ชนิดข้าว ปี 2546/47 ปี 2547/48 จานวนเปลี่ยนแปลง %เปลี่ยนแปลง
บาทต่อตัน(ความชื้น 15%)
ข้าวเปลือกหอมมะลิ 7,000 10,000 +3,000 +42.86
ชนิดสีได้ต้นข้าว 42 กรัม 6,900 9,900 +3,000 +43.48
ข้าวเปลือกหอมจังหวัดสีได้ต้นข้าว 40 กรัม 5,700 7,700 +2,000 +35.09
ข้าวเปลือกเจ้านาปีชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 100% 5,330 6,600 +1,270 +23.83
ข้าวเปลือกเจ้านาปี ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 5% 5,235 6,500 +1,265 +24.16
ข้าวเปลือกปทุมธานี 6,000 6,600 +600 +10.00
 การปรับราคารับจานาข้าวเปลือกนาปี 2547/48 เทียบกับ 2546/47
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
ที่มา: สมพร อิศิลานนท์2556
37
จานวนและมูลค่าข้าวเปลือกที่รับจานาและการไถ่ถอนคืน
ปีการผลิต ปริมาณ(ตัน) มูลค่า(ล้านบาท)
รับจานา ไถ่ถอน %การไถ่
ถอน
รับจานา ไถ่ถอน %การไถ่
ถอน
2543/44 1,618,496 797,503 49.27 8,205 3,586.69 43.71
2544/45 4,298,144 1,128,985 26.27 23,493 6,170.92 26.27
2545/46 5,927,415 858,080 14.48 28,906 4,415 15.27
2546/47 2,668,336 696,508 26.10 12,429 3,282 26.41
2547/48 9,418,419 527,512 5.60 44,086 3,202 7.26
2548/49 9,479,869 1,193,801 12.59 71,773 10,902 15.19
2549/50 2,401,571 909,348 37.86 16,644 7,281 43.74
2550/51 4,297,127 160,396 3.73 53,143 1,593 3.00
หมายเหตุ: การรับจานานาปรังในแต่ละปีได ้รวมต่อเนื่องไปกับฤดูนาปีในแต่ละปีก่อนหน้าฤดูนาปรังนั้นๆ
ที่มา: ข ้อมูลปี 2543/44 และ 2544/45 จากอนันต์ ดาโลดม (2547) อ ้างในศูนย์เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2548)
สาหรับข ้อมูลปี 2546/47 ถึง 2550/51 จาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษต
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
การรับจานาในระดับราคาสูงจูงใจให้เกษตรกรเลือกการผลิตข้าวที่มีอายุ
สั้น ซึ่งมีคุณภาพต่า หากปล่อยนานออกไปจะเป
็ นการทาลายคูณภาพข้าว
ในตลาดของไทย
ผลกระทบที่ตามาจากการยกระดับราคาจานา
สูงกว่าระดับราคาตลาด
 ตลาดซื้อขายสินค้าข้าวล่วงหน้าได้รับผลกระทบ
คุณภาพข้าวหลังการสีตกต่าลง เพราะมีการเกี่ยวข้าวที่ยังไม่แก่
 ระบบการทุจริตในการใช้งบประมาณของรัฐขยายตัวและมีการพัฒนาการ
ในกลไกทุจริต นิพนธ์ (2552) รายงานว่างบประมาณที่ใช้จ่ายใน
โครงการรับจานานั้นถึง 100,000 ล้านบาท แต่ตกถึงมือเกษตรกร
จานวนน้อย
เกษตรกรนาข้าวมาขายให้กับรัฐ ทาให้ตลาดกลางที่เคยเป
็ นแหล่งซื้อ
ขายแลกเปลี่ยที่สาคัญสาหรับตลาดข้าวเปลือกหายไป ในขณะเดียวกัน
รัฐบาลเป
็ นผู้รับซื้อรายใหญ่ในระบบการค้าข้าวเปลือก
เกษตรกรที่นาข้ามาจานาไม่มาไถ่ถอนคืน และทาให้ข้าวตกค้างอยู่ใน
สต็อกมีปริมาณมากขึ้น ไปพร้อมกับภาระด้านงบประมาณของรัฐ
38
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
39
กระบวนการแสวงหา “ค่าเช่า” หรือ
“ส่วนเกิน”
กิจกรรมแสวงหา “ผลตอบแทนส่วนเกิน (economic rent) และการทุจริต
₋ จดทะเบียนปลูกเกินความจริง
₋ เพิ่มพื้นที่ปลูกตัว/ลดพื้นที่พืชอื่น
₋ สวมสิทธิ์ชาวนาอื่น
₋ เพิ่มรอบการเพาะปลูกเป
็ น 7-8 ครั้ง/ 2 ปี
₋ เดินขบวนเรียกร้องเพิ่มราคาจานา/ขยาย
เวลาและวงเงินจานา
ส่วนต่างราคา
Rent Seeking
ชาวนา
₋ ต้นทุนสูงขึ้น
₋มลพิษเพิ่ม
₋แย่งน้าที่ขาด
แคลน
₋ ลงทุนขยายกาลังการผลิต/Silo เป
็ น 90 ล้าน
ตันขาวเปลือก
เงินลงทุนเพิ่มจาก 0.8 ล้านบาทเป
็ น 1.6 ล้าน
บาท/โรงในปี 2530-48
₋ วิ่งเต้นเข้าโครงการจานา/จานาข้ามเขต
₋ ขโมยข้าวรัฐบาลไปหมุนก่อน
₋ สวมสิทธิ์ชาวนา/ใช้ข้าวเขมร-พม่า-ลาว
กาไรจากการสี
ได้ข้าวฟรีไปหมุน
โรงสี
• โรงสีใน
โครงการแข่งขัน
ไม่เป
็ น
ผลกระทบ
ที่มา: นิพนธ์ พัวพงศกร 2551
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
40
₋ วิ่งเต ้นนักการเมือง
₋ รวมตัวกันฮั้วประมูล
ประมูลราคาต่ากว่า
ราคาส่งออก
ผู้ส่งออก ₋ ผู้ประมูลรายได้
ใหญ่ได้เปรียบ
₋ ลงทุนสร ้างโกดังเพราะคืนทุน
ใน 2 ปี
₋ ขโมยข ้าวสารไปหมุนก่อน
₋ เปลี่ยนข ้าวดีเป็นข ้าวเลว
ได้ข้าวรัฐไปหมุน
ค่าเช่าโกดังสูง
โกดังข ้าว
₋ เกิดโกดังมาก
เกินไป
ผลกระทบ
กระบวนการแสวงหา “ค่าเช่า”
หรือ “ส่วนเกิน”
กิจกรรมแสวงหา “ผลตอบแทนส่วนเกิน (economic rent) และการทุจริต
(ต่อ)
ที่มา: นิพนธ์ พัวพงศกร 2551
5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
นโยบายประกันรายได้ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยเหลือชาวนาทุกครัวเรือน
3.7 ล้านครัวเรือน รวมทั้งชาวนายากจนที่ไม่มีผลผลิตเหลือขายในตลาด
การประกันรายได้เป
็ นการช่วยเกษตรกรขนาดเล็กให้มีรายได้ขั้นต่าหาก
ราคาข้าวตกต่าจนขาดทุน
รัฐบาลไม่ซื้อข้าว ไม่จ้างสีแปรสภาพ ไม่ขายข้าว
5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร?
5. นโยบายการเกษตรในปัจจุบัน
41
กาหนดราคา
ประกัน/ราคาอ้างอิง
“กรรมการ-ชาวนา”
ลงทะเบียน
ประกัน
“ธกส.”
รับการตรวจ
ฟาร์ม
“ธกส.เกษตร
อบต.”
การรับ
สินไหม
“ธกส.”
ขายข้าว
“ไม่ต้อง
ขายให้
รัฐ”
ขั้นตอนการประกัน
 รัฐไม่ต้องเก็บข้าวในสต็อก ลดการทุจริตในขั้นตอนการดาเนินงาน
ผลกระทบของโครงการ
 เป
็ นนโยบายที่สนับสนุนกลไกตลาดข้าวในระดับต่างๆ
 เกษตรกรที่ปลูกข้าวและมาลงทะเบียนจะได้รับผลประโยชน์ทุกราย
ข ้อดี
ผลเสีย
 หากราคาตลาดอยู่ในช่วงขาลงมากๆ รัฐจะต้องใช้งบประมาณ
จานวนมากเช่นกันที่จะมาจ่ายชดเชยในส่วนต่าง
 มีผลกระทบต่อโครงสร้างการปลูกพืชอื่นๆในอนาคต หาก
รัฐยกระดับราคาเป
้ าหมายให้สูงขึ้นตลอดเวลา
 เกษตรกรขาดความสนในในการจัดการไร่นาและสร้างผลกระทบต่อ
คุณภาพข้าวตามมา
5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร?
การใช ้จ่ายเงินภายใต ้โครงการประกันรายได ้ขั้นต่า
ปี 2552/53 =47,843 ล ้านบาท
ปี 2553/54 = 67,580 ล ้านบาท
42
1.พื้นที่และเกษตรกรผู้ผลิตข้าวมีจานวนมากมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 54 ล้านไร่
เกี่ยวข้องกับเกษตรกรไม่น้อยกว่า 4 ล้านครัวเรือน กระจายอยู่ทั่วประเทศ
การบริหารโครงการจะมีข้อจากัดในประสิทธิภาพและอาจนาไปสู่ความ
ล้มเหลวได้
2. การผลิตข้าวในพื้นที่ชลประทานไม่เป
็ นฤดูกาลและปลูกไม่ต่ากว่า 5 ครั้ง
ใน 2 ปี ทาให้การบริหารจัดการมีความยุ่งยากมากกว่าการผลิตข้าวในพื้นที่
นาน้าฝน
จุดอ่อนของโครงการประกันรายได้ขั้นต่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
3. เกษตรกรที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในการใช้หรือการเป็ นเจ้าของรวมทั้งผู้เช่าที่ไม่มีสัญญา
เช่าจะมีข้อจากัดในการเข้าร่วมโครงการ
4. การกาหนดราคาอ้างอิงและหน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดราคาอ้างอิงจะได้รับความ
เชื่อถืออย่างไร
5. เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานไม่มีพฤติกรรมในการเก็บข้าวเพื่อรอราคาและไม่มียุ้ง
ฉางในการจัดเก็บ เกษตรกรจะขายข้าวทันทีเมื่อเก็บเกี่ยว
6. ตลาดกลางข้าวเปลือกที่จะเป
็ นแหล่งแลกเปลี่ยนและกระจายสินค้าใน
ปัจจุบันถูกฆ่าตัดตอนไปเกือบหมดแล้ว เกษตรกรจะมีทางเลือกจากัดในแหล่ง
ที่จะขายสินค้า
5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร?
ปัญหาที่สาคัญทางการเกษตรอันนาไปสู่
การกาหนดนโยบายด้านราคา
● การผลิตในภาคเกษตรกรรมขึ้นอยู่กับความเสี่ยงต่างๆที่ไม่
สามารถควบคุมได้โดยเฉพาะภัยธรรมชาติ ทาให้เกิดความ
แปรปรวนในปริมาณสินค้าและราคา
● ผลผลิตส่วนมากเป
็ นฤดูกาล และเน่าเสียง่าย เกษตรกรส่วน
ใหญ่จะขายผลผลิตไปทันทีหลังการเก็บเกี่ยว เพราะมีภาระเรื่อง
ค่าใช้จ่ายและหนึ้สิน ทาให้ได้ราคาต่า
● สินค้าบางชนิดมีไม่เพียงพอใช้ภายในประเทศและเพื่อให้มี
การผลิตภายในประเทศเป
็ นการทดแทนการนาเข้า ทั้งนี้อาจเป
็ น
พืชใหม่ หรือเป
็ นพืชที่ต้องการให้การสนับสนุน หากไม่มีการ
คุ้มครองแล้วจะแข่งขันสู้การนาเข้าสินค้าดังกล่าวไม่ได้
●การมีรายได้ต่าของเกษตรกร ทาให้มีฐานะยากจน
การแทรกแซงราคาผลผลิตให้มีราคาที่สูงขึ้นจะช่วยยกระดับ
รายได้ ให้กับเกษตรกร 44
5.1 ลักษณะของนโยบายในภาคการเกษตรไทย
แนวคิดรูปแบบเชิงนโยบายที่ใช้ในการขับเคลื่อนภาค
เศรษฐกิจข้าวไทยในอดีต
การลงทุนพัฒนา
แหล่งน้าและการ
ชลประทาน
การลงทุนใน R&D
การจัดหาที่ดินและ
การคุ้มครองในการ
ถือครองที่ดิน
การจัดสินเชื่อเพื่อ
การเกษตรและ
ธุรกิจการเกษตร
 การพยุงราคาหรือ
ประกันราคา
 การสร้างเสถียรภาพ
ราคา
 การประกันรายได ้
 การรับจานา
 การอุดหนุนปัจจัยการ
ผลิต
 การอุดหนุนปรับ
คุณภาพผลผลิต(ข ้าว)
 การปรับปรุงระบบการขนส่งและการเก็บรักษา
 การปรับปรุงโครงสร้างตลาดภายในและตลาด
ส่งออก
45
การตอบสนองเชิง
นโยบายในภาค
การเกษตรและ
การพัฒนาชนบท
ด้านศักยภาพ
ทางการตลาด
ด้านการเพิ่ม
ประสิทธิภาพ
การผลิต
ด้านราคา
และรายได้
46
ในปี 2551 เป็นต ้นมาเมื่อเกิดวิกฤต
ข ้าวแพงในช่วงไตรมาสแรกของปี 2551
รัฐยังได ้คงนโยบายรับจานาไว ้พร ้อมกับ
กาหนดราคาจานาให ้สูงว่าราคาตลาด
เมื่อราคาข ้าวลดต่าลงในช่วงปลายปี
เกษตรกรจานวนมากไม่มาไถ่ถอนคืน
ในช่วงปี 2550-51 รัฐมีเงินคงค ้างจากการ
รับจานาถึงกว่า 100,000 ล ้านบาท
4.3 การปรับตัวสู่การรับจานาข้าวเปลือกทุกเมล็ดในระดับราคาสูง
ในช่วง ส.ค. 2554 – พ.ค. 2557 ได ้มีการยกระดับโครงการรับจานาข ้าว เป็น
โครงการรับจานาข ้าวทุกเมล็ดในระดับราคาสูงในสมัยนายกยิ่งลักษณ์ โดยมี
วัตถุประสงค์ของโครงการประกอบด ้วย
เพื่อสร ้างความแข็งแกร่ง และความมีเสถียรภาพ และการเติบโตทางเศรษฐกิฯ
เพื่อยกระดับรายได ้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของชาวนา
เพื่อดึงอุปทานข ้าวเข ้ามาอยู่ในความควบคุมและสร ้างเสถียรภาพของราคาฯ
เพื่อยกระดับราคาข ้าวไทยให ้สูงขึ้นทั้งระบบ เนื่องจากข ้าวไทยเป็นที่นิยมและ
เป็นที่ต ้องการของตลาดต่างประเทศ จึงควรจะขายได ้ราคาสูงกว่าข ้าวจาก
ประเทศผู้ส่งออกรายอื่น (ที่มา: กขช. “รู้ลึก รู้จริง จานาข ้าว” ตุลาคม 2555)
47
ก่อนจะมีโครงการรับจานาข ้าวเปลือก ภาครัฐได ้มีมาตรการพยุงราคาข ้าว เพื่อ
ลดความผันผวนของราคาโดยเฉพาะในช่วงที่ราคาข ้วเปลือกตกต่า โดยได ้จัดตั้ง
อตก ในปี 2517 เพื่อใช ้เป็นองค์กรในการปฏิบัติงานตามมาตรการพยุงราคาฟาร์ม
เมื่อราคาข ้าวเปลือกตกต่า เนื่องจากรัฐมีข ้อจากัดในการดาเนินงานโดยเฉพาะ
หน่วยงานปฎิบัติและงบประมาณที่มีจานวนน้อย ทาให ้ไม่สามารถยกระดับราคา
ข ้าวได ้นอกจากนี้สถานที่เก็บรักษาข ้าวที่จัดซื้อมาก็มีไม่เพียงพอ
โครงการพยุงราคาได ้ยุติไปในปี 2529 และได ้นานาโครงการับจานา
ข ้าวเปลือกของ ธ.ก.ส. มาเป็นโครงการหลักในการแทรกแซงราคาข ้าวเปลือก
4.2 โครงการรับจานาข้าวเปลือกและวิวัฒนาการ
โครงการรับจานาข ้าวเปลือกป็นโครงการเล็กๆ ริเริ่มโดย ธ.ก.ส. ในปี 2524
มีวัตถุประสงค์เพื่อให ้เกษตรกรที่ต ้องการใช ้เงิน ได ้ชะลอการขายหลังฤดูการ
เก็บเกี่ยว ซึ่งจะช่วยพยุงราคาไม่ให ้ตกต่าลง และได ้ถูกยกระดับให ้เป็น
โครงการของรัฐปี 2529
การดาเนินงานในช่วงเวลาต่อมาได ้มีการเปลี่ยนแปลงในเงื่อนไขวเงินที่ให ้กู้
การชดเชยอัตราดอกเบี้ย รวมถึงการปรับปริมาณข ้าวเปลือกเป้าหมายที่จะรับ
จานา เช่นในปี 2447/48 และ ในปี 2551/52 ได ้มีการปรับระดับราคาและ
ปริมาณข ้าวเปลือกเป้าหมายของโครงการ ส่งผลต่อการไม่มาไถ่ถอน และรัฐ
สะสมสต็อกจานวนมาก
15%)
ชนิดข ้าว
ปี 2549/50 ปี 2551/52
ร ้อยละของการ
เปลี่ยนแปลง
บาทต่อตัน
ข ้าวเปลือกหอมมะลิ
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 42 กรัม 9,000 15,000 +66.67
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 8,900 14,800 +66.29
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 8,800 14,600 65.91
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าวได ้36 กรัม 8,700 14,400 65.52
ข ้าวเปลือกหอมจังหวัด
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 7,500 13,000 73.33
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 7,400 12,800 72.97
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 36 กรัม 7,300 12,600 72.60
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 34 กรัม 7,200 12,400 72.22
ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547
หมายเหตุ: ราคารับจานาข ้าวเปลือกหอมมะลิที่ยุ ้งฉางของเกษตรกรบวกเพิ่มให ้อีกตันละ 1,000 บาท เช่นเดียวกับราคารับ
จานาข ้าวเปลือกเหนียวที่ยุ ้งฉางเกษตรกรให ้เพิ่มอีกตันละ 1,000 บาท เกษตรกรที่เข ้าร่วมโครงการจะจานาได ้ในวงเงิน
ไม่เกิน 500,000 บาท
ราคาจานาข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2547/48 เปรียบเทียบกับปี 2546/47 (ความชื้น 15%)
ชนิดข้าว
ปี 2546/47 ปี 2547/48 จานวนเปลี่ยนแปลง %เปลี่ยนแปลง
บาทต่อตัน
ข้าวเปลือกหอมมะลิ 7,000 10,000 +3,000 +42.86
ชนิดสีได้ต้นข้าว 42 กรัม 6,900 9,900 +3,000 +43.48
ชนิดสีได้ต้นข้าวได้ 36 กรัม 6,700 9,700 +3,000 +44.78
ข้าวเปลือกหอมจังหวัด
ชนิดสีได้ต้นข้าว 40 กรัม 5,700 7,700 +2,000 +35.09
ชนิดสีได้ต้นข้าว 36 กรัม 5,620 7,620 +2,000 +35.59
ชนิดสีได้ต้นข้าว 34 กรัม 5,460 7,460 +2,000 +36.63
ข้าวเปลือกเจ้านาปี
ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 100% 5,330 6,600 +1,270 +23.83
ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 5% 5,235 6,500 +1,265 +24.16
ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 10% 5,045 6,400 +1,355 +26.86
ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 15% 4,950 6,300 +1,350 +27.27
ชนิดสีเป
็ นข้าวสาร 25% 4,760 6,200 +1,440 +30.25
ข้าวเปลือกปทุมธานี 6,000 6,600 +600 +10.00
ข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี 5,400 6,500 +1,100 +18.52
ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547
หมายเหตุ: มีผลบังคับใช ้ตั้งแต่เริ่มโครงการรับจานาข ้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2547/48 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547
เป็นต ้นไป
15%)
ชนิดข ้าว
ปี 2549/50 ปี 2551/52
ร ้อยละของการ
เปลี่ยนแปลง
บาทต่อตัน
ข ้าวเปลือกหอมมะลิ
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 42 กรัม 9,000 15,000 +66.67
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 8,900 14,800 +66.29
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 8,800 14,600 65.91
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าวได ้36 กรัม 8,700 14,400 65.52
ข ้าวเปลือกหอมจังหวัด
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 7,500 13,000 73.33
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 7,400 12,800 72.97
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 36 กรัม 7,300 12,600 72.60
ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 34 กรัม 7,200 12,400 72.22
ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547
หมายเหตุ: ราคารับจานาข ้าวเปลือกหอมมะลิที่ยุ ้งฉางของเกษตรกรบวกเพิ่มให ้อีกตันละ 1,000 บาท เช่นเดียวกับราคารับ
จานาข ้าวเปลือกเหนียวที่ยุ ้งฉางเกษตรกรให ้เพิ่มอีกตันละ 1,000 บาท เกษตรกรที่เข ้าร่วมโครงการจะจานาได ้ในวงเงิน
ไม่เกิน 500,000 บาท

Contenu connexe

Similaire à (1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx

15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27guestec5984
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยguest84dc873
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยguest84dc873
 
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะguest84dc873
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖IMC Institute
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...Klangpanya
 

Similaire à (1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
 
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
 

(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx

  • 1. รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ 1 งานเวทีข้าวไทย ปี 2565 “ก้วต่อไป นโยบายข้าวไทย” วันพุธที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 8.00-12.30 น ณ ห้องสุธรรม อารีกุล อาคาร 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ และผ่านระบบออนไลน์ สถาบันคลังสมองของชาติ นโยบายข้าวไทย: จากอดีตสู่ปัจจุบัน E-mail: somporn@knit.or.th
  • 2. 2 หัวข้อนาเสนอ 1. การเปิดตลาดค้าข้าวเสรีและนโยบายมุ่งเน้น การส่งเสริมการผลิตข้าวหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง 2. ก้าวสู่นโบายการผูกขาดตลาดส่งออกข้าวของ รัฐหลัง WW II 3. การปฎิรูปโครงสร้างพื้นฐาน และการปฎิวัติเขียว เสริมสร้างศักยภาพการผลิตและการตลาดข้าวไทย 4. การก้าวสู่นโยบายด้านการอุดหนุนผู้ผลิตและ การแทรกแซงตลาดข้าวเปลือก
  • 4. หลังจากที่ได ้มีการทาสนธิสัญญาเบาริงในปี 2398 ในสมัยรัชกาลที่ 4 การค ้าขายของไทยกับต่างชาติทาได ้โดยสะดวก และเป็นการเปิดตลาดการค ้า เสรี ชาวนา พ่อค ้าคนกลาง และพ่อค ้าส่งออกสามารถซื้อขายทาการค ้าได ้ อย่างอิสระ (Ingram,1955) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให ้ข ้าวเป็นพืช เศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลไทยไดมีนโยบายด ้านการผลิตและ การค ้าข ้าวดังนี้: 1.1 การเปิดตลาดการค้าข้าวเสรีเป ็ นก้าวสาคัญที่ต่อมาทา ให้เกิดการพัฒนาข้าวไทยตามมา 4 ก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริงและสนธิสัญญากับชาติตะวันตกอื่นๆตามมานั้น การ ส่งออกข ้าวของไทยถูกผูกขาดโดยระบบพระคลัง ซึ่งมีอานาจทั้งในการ จัดเก็บภาษีและการค ้าขายกับต่างประเทศ
  • 5. 1.2 นโยายในยุคนั้นมุ่งเน้นด้านการส่งเสริมการเพาะปลูก ข้าวและพัฒนาการผลิตข้าว  การขุดคลองเชื่อมระหว่างแม่น้าสายต่างๆในที่ราบภาคกลาง ใน ทศวรรษ 2400-2450 และการให้กรรมสิทธิ์ถือครองที่ดิน 5 เเพื่อเปิดพื้นที่ว่างเปล่า (Land Reclamation) ให ้ประชากรอพยพไปตั้ง ถิ่นฐานและขยายการปลูกข ้าว พร ้อมๆกับการใช ้เป็นเส ้นทางคมนาคมขนส่ง ในสมัยรัชกาลที่ 5 นอกจากได ้ทรงโปรดลงทุนขุดคลองขึ้นจานวนมาก เช่น คลองภาษีเจรญ คลองทวีวัฒนา คลองมหาสวัสดิ์ คลองประเวศฯ เป็นต ้น แล ้ว ในช่วงปี 2433-48 ยังได ้ให ้สัมประทานในการขุดคลองรังสิตฯ เพื่อเปิดทุ่ง หลวงให ้เป็นแหล่งทาการเกษตรสมัยใหม่ เป็นโครงการชลประทานเพื่อ การเกษตรแห่งแรกในประเทศไทย อีกทั้งในปี 2445 ได ้ว่าจ ้างให ้Mr. Van der Heide มาวางแผนชลประทานขนาดใหญ่ในทุ่งภาคกลาง แต่แผนงานดังกล่าว ไม่ได ้ถูกนามาใช ้ปฎิบัติในขณะนั้น เการเปิดพื้นที่ว่างเปล่าให ้ประชากรไปตั้งถิ่นฐานได ้ตามมาด ้วยการให ้กรรมสิทธิ์ ถือครองที่ดินตามมาเพื่อสร ้างแรงจูงใจในการอพยพไปตั้งถิ่นฐานใหม่
  • 6. พื้นที่เพาะปลูกข ้าว ผลผลิต และการส่งออก ได ้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 6 การจัดตั้งสถาบันสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การเกษตรแห่งแรกมีชื่อว่าสหกรณ์วัดจันทร์ จัดตั้งขึ้นที่ จ.พิษณุโลกใน ปี 2559 และได ้ขยายตัวไปในภูมิภาคและจังหวัดต่างๆในเวลาต่อมา การจัดตั้ง สหกรณ์การเกษตรเพื่อให ้เกษตรกรได ้รวมตัวกันขึ้นเป็นองค์กร ในการทาธุรกิจ การซื้อหรือจัดหาปัจจัยการผลิตและธุรกิจการขายผลผลิต รวมถึงเป็นแหล่งใน การจัดหาสินเชื่อดอกเบี้ยต่าและการให ้ความรู้ด ้านการเกษตรกับเกษตรกรชาวนา ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 3 พันกว่าแห่งและมีทีทาธุรกิจเกี่ยวกับช ้าวอยู่จานวนหนึ่ง  (ต่อ)
  • 7. 7 การวางรากฐานการวิจัยด้านข้าว: การพัฒนาทรัพยากรกาลังคนและสร ้างนักวิชาการ โดย ร.5 ทรงสนับสนุนทุน เล่าเรียนหลวงให ้แก่นักเรียนไทยได ้ไปศึกษาในต่างประเทศในด ้าน เกษตรกรรมอย่างต่อเนื่อง ผู้สาเร็จการศึกษาและกลับมาเป็นผู้บุกเบิกรุ่นแรกๆที่ สาคัญในยุคนั้น เช่น นายตริ มิลินทจินดา หรือพระยาโภชากร ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได ้ทรงโปรดให ้มีการรวบรวมและเสาะแสวงข ้าวพันธุ์ดีจาก แหล่งต่างๆ โดยการจัดประกวดพันธ์ข ้าว ซึ่งครั้งแรกจัดที่ทุ่งธัญญบุรี ในปี 2450 และทาต่อๆมาอีกหลายครั้ง รวมถึงการจัดแสดงงานกสิกรรมและพาณิชย์ไทย ครั้งแรกที่วังสระประทุม ในปี 2453 และได ้จัดซื้อพันธุ์ที่ประกวดชนะรางวัลไว ้ แล ้วนาไปเผยแพร่ให ้ชาวนาใช ้เป็นพันธุ์ปลูก การจัดตั้งนาทดลองคลองรังสิต ในปี 2449 และมีการจัดประกวดพันธุ์ข ้าว ครั้งแรกที่ทุ่งรังสิตในปี 2450 เพื่อรวบรวมเมล็ดข ้าวพันธุ์ดีไว ้ขยายพันธุ์  (ต่อ)
  • 8. ได ้ยกระดับนาทดลองขึ้นเป็นสถานีทดลองข ้าวรังสิตในปี 2459 โดยมีพระยาโภ ชากร (ตรี มิลินทสูตร) เป็นหัวหน้าสถานีท่านแรกและเป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยด ้านการ ปรับปรุงพันธุ์ข ้าวที่สาคัญ ได ้จัดตั้ง “แผนกข ้าว” ขึ้นในกรมกสิกรรมและประมง ในปี 2478 และในปี 2496 ได ้จัดตั้งเป็น "กรมการข ้าว" นับจากปี 2475 ได ้เริ่มงานการปรับปรุงพันธุ์ข ้าวและการพัฒนาบุคคลากรด ้าน ข ้าวในเชิงงานวิจัยภาคสนาม โดยพระยาโภชากร ได ้ดาเนินการ ร่วมกับ มล. ยิ่ง ศักดิ์ อิศระเสนา ซึ่งจบการศึกษาด ้านพืชจากอังกฤษได ้มาร่วมงานที่สถานีทดลอง ข ้าวรังสิตในขณะนี้น ทั้งนี้ข ้าวที่ได ้คัดพันธุ์ไว ้เช่น ข ้าวพันธุ์ปิ่นแก ้ว ส่งประกวดใน ปี 2476 และได ้รับรางวัลดีเยื่ยมเป็นที่ 1 ของโลก 8  (ต่อ)
  • 10.  การผูกขาดตลาดส่งออกข้าวโดยภาครัฐหลัง WW II  ในช่วงปลายปี 2493 ได ้ให ้เอกชนสามารถส่งออกข ้าวได ้แต่ได ้ปรับ รูปแบบเป็นการให ้จ่ายค่า premium แทนค่าใบอนุญาต ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ราคาข ้าวภายในประเทศผันผวน  การผูกขาดตลาดส่งออกข้าวโดยภาครัฐ: เนื่องจากต ้องทาหน้าที่รวบรวมข ้าวจัดส่งให ้UN ในช่วงปี 2489-91 เพื่อเป็น ค่าปรับสงครามในจานวน 1.5 ล ้านตัน รัฐได ้ออก พ.ร.บ.สารวจและห ้ามกักกัน ข ้าวและ พ.ร.บ.การค ้าข ้าว รวมถึงการจัดตั้งสานักงานข ้าวเพื่อบริหารและ ควบคุมและผูกขาดการส่งออกในช่วงปี 2488-97 (รังสรรค์ ธนพรพันธุ์ 2530) การเก็บค่า premium ในยุคนั้นจึงเป็นเครื่องมือแทรกแซงกลไกตลาด ส่งออกข ้าว ในขณะเดียวกันก็เป็นเครื่องมือควบคุมการส่งออกข ้าว และสร ้าง รายได ้ทางการคลังให ้กับรัฐบาล นโยบายพรีเมี่ยมข ้าวถูกยกเลิกในปี 2528 10
  • 11. 11 การใช้มาตรการแทรกแซงอื่นๆในตลาดค้าข้าวช่วงหลัง WW II การแทรกแซงอื่นๆที่เป ็ นนโยบายเสริมในช่วงหลัง WW II การเก็บอากรส่งออก การกาหนดราคาส่งออกขั้นต่า โดยใช ้กลไกการออกใบอนุญาตส่งออก การเรียกเก็บหรือบังคับซื้อข ้าวสารองจากผู้ส่งออกในราคาต่า เพื่อนาไป ขายเป็นข ้าวสารราคาถูกตามร ้านค ้าของกรมการค ้าภายใน การบังคับให ้ผู้ส่งออกสต็อกข ้าวตามสัดส่วนโควตาส่งออกที่ได ้รับ การขายข ้าวในรูปของ G2G การใช ้แพ็คกิ้งแครดิตแก่ผู้ส่งออกจากธนารแห่งประเทศไทย
  • 13. 3.1 การพัฒนาระบบชลประทานในช่วงแรกๆของ แผนพัฒนาฯเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวไทย เพื้นที่ชลประทานได ้เพิ่มจาก 10.77 ล ้านไร่ เฉลี่ยในช่วงปี 2509-13 มาเป็น 27.18 ล ้านไร่ ในช่วงปี 2529-33 และชะลอตัวลงหลังแผนพัฒนาฯฉบับที่ 6 13 การประกาศใช ้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ในช่วงปี 2504-09 และฉบับต่อๆมาในทุกๆ 5 ปี ในช่วงแรกๆของแผนฯ ได ้มุ่งเน้นที่โครงสร ้างพื้นฐานทางการเกษตรที่สาคัญ ได ้แก่ การพัฒนาระบบชลประทาน การโครงสร ้างตลาดสินค ้าเกษตรและการคมนาคมขนส่ง รวมถึงระบบวิจัย
  • 14. 14 3.2 การพัฒางานวิจัยผ่านกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ข้าว และการปรับรุงข้าวพันธุ์ไม่ไวแสงลูกผสมของไทยเกิดขึ้น เกิดการเปลี่ยนระบบการทานาในพื้นที่ชลประทานจากปีละ 1 ครั้งมาเป็นปีละ มากกว่าหนึ่งครั้ง พร ้อมๆกับผลผลิตต่อพื้นที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อ IRRI ได ้ต ้นพบข ้าวพันธุ์ IR8 (Miracle rice) ซึ่งเป็นข ้าวพันธุ์ใหม่ที่ ให ้ผลผลิตสูง ปลูกได ้ทุกฤดูกาลในพื้นที่ชลประทาน และมีลาต ้นเตี้ย นักวิชาการของกรมการข ้าวในยุคนั้นมีความพร ้อมด ้านการปรับปรุงพันธุ์พืชมาก และ ได ้นาพันธุ์ IR8 มาผสมกับพันธุ์พื้นเมืองที่มีคุณภาพดีเช่นพันธ์เหลืองทอง ทาให ้ พัฒนาข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงพันธุ์แรกของไทยได ้แก่พันธุ์ กข 1 เกิดขึ้นในปี 2509 (Jackson et al 1969) และเป็นการเริ่มต ้นยุคปฎิวัติเขียวของข ้าวไทยตามมา หลังจากได ้มีการจัดตั้งกรมการข ้าวในปี 2496 แล ้ว ได ้มีโครงการพัฒนาข ้าว ไทยในช่วงปี 2493-98 โดยมี Prof. Love ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด ้าน plant breeding จาก Cornel U. เข ้ามาทางานร่วมกับหลวงอิงคศรีกสิการ และ ม.จ.จักร พันธุ์เพ็ญสิริ จักรพันธุ์ ทาให ้ได ้มีการจัดเก็บพันธุ์ข ้าวที่มีกระจายอยู่ทั่วประเทศมา รวบรวมไว ้รวมถึงข ้าวหอมมะลิจากบางตล ้า พร ้อมกับการสร ้างนักวิจัยด ้านการ ปรับปรุงพันธุ์ข ้าว เช่น ดร.สละ ทศานนท์ ดร.ครุย บุณยสิงห์ฯ
  • 15. ในปี 2547 มีจานวนการจัดตั้งตลาดกลางข ้าวเปลือกของเอกชนารกระจายอยู่ ในทุกภูมิภาคไม่น้อยกว่า 70 แห่ง’(ไม่รวมที่ข ้าวของสหกรณ์การเกษตรฯ) อีสาณ เหนือ กลาง ใต้ รวม จานวน 15 35 20 - 70 อีสาณ เหนือ กลาง ใต้ รวม จานวน 321 108 114 67 682 สาหรับจานวนท่าข ้าวของสหกรณ์ฯและการการ กระจายในปี 2547 พบว่ามีจานวนถึง 682 แห่ง ที่มา: ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2547) ที่มา: ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2547)  ในช่วงแผนพัฒนาฉบบัที่ 4-5 การสนับสนุนการจัดตั้งตลาดกลางข ้าวเปลือก ในแหล่งสาคัญๆ ได ้เป็นแหล่งซื้อขายข ้าวเปลือกระหว่างเกษตรกรและโรงสีที่ สาคัญ และเฟื่องฟูมากในช่วงปลายทศวรรษ 2520-2540 อีกทั้งตลาดกลางทา หน้าที่ผู้ให ้บริการทางการตลาด ซึ่งส่งผลดีต่อเกษตรกรและโรงสี ตลาดกลางที่ สาคัญ เช่น ท่าข ้าวกานันทรง เป็นต ้น 3.3 การให้ความสาคัญกับการส่งเสริมตลาดกลางการค้า ข้าวเปลือก
  • 17. 17 เทคโนโลยีปฎิวัติเขียว ได ้ส่งผลให ้เกิดการขยายตัวของอุปทานผลผลิตข ้าว รวมถึงระบบการผลิตข ้าวในไร่นาของเกษตรกรโดยเฉพาะในพื้นที่ชลประทานอ ยางก ้าวกระโดด การทานามากกว่า 1 ครั้งในพื้นที่ชลประทาน ได ้เพิ่มปริมาณ อุปทานผลผลิตข ้าวอ่างรวดเร็วและมผลต่อความผันผวนของระดับราคา โดยเฉพาะในช่วงฤดูเก็บเกี่ยว ราคาสินค ้าข ้าวในตลาดข ้าวโลกได ้แกว่งตัวไปในทิศทางลดลง และสงผลต่อ ภาวะตกต่าของราคาข ้าวเปลือกภายในประเทศ หลายประเทศสามารถพึ่งพา ตนเองในการผลิตข ้าวได ้มากขึ้น หลุดพ ้นจากภาวะขาดแคลน การเกิดความไม่สงบทางการเมืองในปี 2516 ทาให ้รัฐบาลต่อๆมาได ้ให ้ความ สนใจกับเสียงเรียกร ้องจากเกษตรกรมากขึ้น รวมถึงการอก พ.ร.บ.จัดตั้งกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรในปี 2517 เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและใช ้จ่ายช่วยเหลือ หรือส่งเสริมเกษตรกรโดยเฉพาะการรักษาเสถียรภาพของราคา 4.1 แรงกดดันที่นาไปสู่มาตรการแทรกแซงกลไกราคาใน ตลาดข้าวเปลือก เทคโนโลยีปฏิวัติเขียว มีผลให ้มีการขยายตัวด ้านปริมาณการผลิตและ การส่งออก ส่งผลให ้อุปทานผลผลิตข ้าวโลกและอุปทานการส่งออกข ้าวมี เพิ่มมากขึ้น อย่างรวดเร็ว ตลาดข ้าวโลกได ้เปลี่ยนจากตลาดของผู้ขายใน อดีตมาเป็นตลาดของผู้ซื้อ
  • 18. สถาบันคลังสมองของชาติ 18 4.2 วิวัฒนาการของโครงการรับจานาข้าวเปลือก ที่มาของภาพ:Google.com ปี2529 ปรับเปลี่ยน เชิงนโยบายที่สาคัญ ได้ยกระดับโครงการ รับจานาข้าวเปลือกจาก โครงการเสริมให้เป ็ น โครงการหลักเพื่อ ช่วยเหลือเกษตรกร  การแทรกแซงตลาด ข้าวได้เปลี่ยนจาก นโยบายพยุงราคา โดย ก่อนหน้าได้ให้ อ.ต.ก. ไปรับซื้อข้าวเปลือกเพื่อ พยุงราคาไม่ให้ตกต่า ลง เปลี่ยนจากที่เคย แทรกแซงตลาดข้าว สารไปสู่การแทรกแซง ตลาดข้าวเปลือก พัฒนากลไกตลาดกลาง ช้าวเปลือกตามแผนพัฒนา ฉบับที่ 5-8 (2525-44) มี ตลาดกลางท่าข้าวเกิดขึ้น จานวนมากในยุคนี้ ตลาดกลางเป ็ นแหล่ง อ้างอิงราคาที่สาคัญและทา ให้เกษตรกรมีอานาจ ต่อรองในตลาดมากขึ้นกับ ผู้มาซื้อในตลาดกลาง โดยเฉพาะโรงสี มีโครงการรับจานาใน การทาหน้าที่อานวยเงิน กู้ยืมให้กับเกษตรกรที่ ต้องการเงินทุนไปใช้ใน ช่วงเก็บเกี่ยวและเป ็ น โครงการที่มึจุดมุ่งหวังทาง เศรษฐกิจเป ็ นสาคัญโดย คิดมูลค่าจานา 80%ของ มูลค่าข้าวและในวงเงินไม่ เกินรายละ 100,000 บาท จาก 2544-2551 2544 มีการปรับ ราคาจานาให้เท่ากับ ราคาตลาดและปีต่อมา ได้กาหนดราคาสูงกว่า ราคาตลาด และเพิ่ม วงเงินเป ็ นไม่เกินราย ละ 300,000 บาท ในปี 2546เป ็ นต้นมา ได้ขยายขนาดของ โครงการจากเดิมที่มี เป ้ าหมายประมาณ 2 ล้านตัน ขึ้นเป ็ น 9 ล้าน ตันและเพิ่มระดับราคา รับจานาให้สูงกว่า ราคาตลาด มูลค่ารับจานาเพิ่ม จาก 12,429ล้านบาท ในปี 2546/47เป ็ น 71,773ล้านบาทในปี 2548/49 และไม่ต่า กว่า 100,000 ล้าน บาทในปี 2551 ในทศวรรษ 2530 - กลางทศวรรษ 40 จาก 2552-2557 เข้าสู่โครงการ ประกันรายได้ขั้นต่า (2552-ก่อน 7 ตุลาคม 2554) โดยรัฐ สร้างหลักประกัน รายได้ขั้นต่าให้กับ เกษตรกรปลูกข้าว และไม่เข้าไป แทรกแซงในกลไก ตลาด เริ่มโครงการับจานา ใหม่นับตั้งแต่ 7 ต.ค. 2554 เป ็ นต้นมา รับ จานาไม่จากัดปริมาณ ในระดับราคา 15,000 บาท/ตัน สาหรับข้าว เจ้า ความชื้น 15% และ 20,000 บาท/ตัน สาหรับข้าวหอมมะลิ ก้าวไปสู่การเป ็ น ตลาดข้าวเปลือก ผูกขาดโดยรัฐ ปี 2524 ปี เริ่มต ้น  ริเริ่ม ดาเนินการ โดย ธ.ก.ส. เพื่อให้ เกษตรกรมี เงินไปใช้ จ่ายหลังฤดู เก็บเกี่ยว
  • 19. 4.2 (ต่อ) ในช่วงปี 2547/48 -51/52 ประมาณ 5 ปี ได ้ขาดทุนโครงการรับจานาเป็นเงิน 158,272 ล ้านบาท หรือเฉลี่ยปีละ 31,654.4 ล่านบาทเป็นการอดหนนทีไม่มาก 19
  • 20. 4.3 เมื่อโครงการรับจานาข้าวเปลือกถูกแปลงยกระดับ เป ็ นนโยบายประชานิยม นับจาก 7 ต.ค. 2554 โครงการรับจานาฯได ้ยกระดับราคาจานาขึ้น 50% สูง กว่าราคาตลาด โดยราคาข ้าวเปลือกเจ ้าเป็น 15,000 บาท/ตัน ความชื้น 15% และ ข ้าวหอมมะลิราคา 20,000 บาทต่อตัน นอกจากนี้ยังไม่จากัดจานวนข ้าวเปลือกที่ นามาจานา โดยหวังว่าการดึงอุปทานมาเก็บจะทาให ้ราคามีเสถียรภาพ
  • 21. 4.4 ผลกระทบของโครงการรับจานาข้าวทุกเมล็ดในระดับ ราคาสูง ทาให ้รัฐเป็นผู้ครอบครองข ้าวเปลือกและข ้าวสารรายใหญ่ในตลาดข ้าวเปลือกและ ตลาดข ้าวสาร เพราะเมื่อรับจานาไม่จากัดจานวนแล ้วรัฐให ้สีเป็นข ้าวสารเก็บไว ้แทน การเก็บข ้าวเปลือก โครงการฯได ้ทอนอานาจการแข่งขันในตลาดข ้าวเปลือกของ เอกชนและในขณะเดียวกันเป็นผู้ผูกขาดในตลาดข ้าวสารส่งออก รัฐจะขาดทุนจากโครงการรับจานาตันละ 11,20 บาท
  • 22. 22 ตลาดกลางข ้าวเปลือกมีปริมาณการค ้าต่า อยู่ไม่ได ้ และเป็นการสิ้นยุค ตลาดกลางสินค ้าข ้าวเปลือก การรับจานาในระดับราคาสูงจูงใจให ้เกษตรกรเลือกการผลิตข ้าวที่มีอายุ สั้น ซึ่งมีคุณภาพต่า หากปล่อยนานออกไปจะเป็นการทาลายคูณภาพข ้าว ในตลาดของไทย พฤติกรรมชาวนาจะเปลี่ยนไป โดยมีการเก็บเกียวข ้าวที่ยังไม่แก่เต็มที่ ซึ่งทาให ้คุณภาพข ้าวหลังการสีตกต่า ตลาดซื้อขายสินค ้าข ้าวล่วงหน้าได ้รับผลกระทบจากการที่ไม่มีผู้เข ้าไปซื้อ ขายในตลาด สูญเสียตลาดสงออก โดยในปี 2554 ส่งออกข ้าวจานวน 8.3 ล ้านตัย และ ได ้ลดลงเหลือ 5.0 และ 6.6 ล ้านตันในปี 2555 และ 56 ตามลาดับ และได ้ ปรับเพิมชึนเป้น 10.97 ล ้านตันในปี 2557 เอ่ได ้ยุติโครงการฯ โดย คสช. 4.4 ผลกระทบของโครงการรับจานาข้าวทุกเมล็ด(ต่อ)
  • 23.  การเปลี่ยนจากโครงการรับจานามาเป ็ นโครงการประกันรายได้ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว โครงการประกันรายได ้ได ้นามาใช ้เริ่มแรกในสมัยนายกอภิสิธ์ในปีการผลิต 2552/53 และ2553/54 เพื่อแก ้ปัญหาข ้าวค ้างสต็อกและปัญหาการระบายออกจาก โครงการรับจานข ้าวไว ้จานวนมากและเกษตรกรไม่มาไถถอนคืน นโยบายข้าวไทยภายใต้รัฐบาลปัจจุบัน 23 ทั้งนี้รัฐจะเป็นผู้กาหนดราคาเป้าหมาย หากราคาข ้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได ้ ต่ากว่าราคาเป้าหมายรัฐจะป็นผู้จ่ายส่วนต่างให ้ได ้ใช ้งบประมาณในปีการผลิต 52/53 และ ปี 53/54 เป็นจานวน 47,843 ล ้านบาท และ 67,580 ล ้านบาท ตามลาดับ
  • 24. ในสมัยนายกประยุทธ์ โครงการประกันรายได ้ถุกนามาใช ้ในปี 2562/63 จนถึง ปัจจุบัน นโยบายข้าวไทยภายใต้รัฐบาลปัจจุบัน 24 ทั้งนี้รัฐจะเป็นผู้กาหนดราคาเป้าหมาย หากราคาข ้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได ้ ต่ากว่าราคาเป้าหมายรัฐจะป็นผู้จ่ายส่วนต่างให ้ได ้ใช ้งบประมาณในปีการผลิต 52/53 และ ปี 53/54 เป็นจานวน 47,843 ล ้านบาท และ 67,580 ล ้านบาท ตามลาดับ
  • 25. 25
  • 26. 26 หน่วยงาน งบประมาณทุนวิจัย (ล้านบาท) เฉลี่ยงบต่อปี(ล้าน บาท) ร้อยละ กรมการข ้าว 2,084.20 285.53 58.2 สถาบันการศึกษาต่างๆ 578.5 72.31 16.1 สานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ 89.2 11.19 2.5 สถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 75.4 9.43 2.1 กรมพัฒนาที่ดิน 68.7 8.59 1.9 หน่งยงานอื่นๆ(90 หน่วยงาน) 687.1 85.89 19.2 รวมงบประมาณ 2551-58 3,583.1 447.89 100.0 3.7 งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐ จาแนกตามหน่วยงาน ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบวิจัยมากกว่าครึ่งจัดสรรให ้กับกรมการข ้าวหรือเฉลี่ยปีละ 285.5 ล ้านบาท สถาบันการศึกษาได ้รับงบวิจัยด ้านข ้าวร ้อยละ 16.1 หรือเฉลี่ยปีละ 72.3 ล ้าบาท งบประมาณการลงทุนวิจัยด ้านข ้าวของภาครัฐรวม 3,583.1 ล ้านบาทช่วงปี 2551-58 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 27. 3.3 การวิจัยด้านข้าวในยุคเทคโนโลยีปฏิวัติเขียวและผลกระทบ 27  ปี 2509 ข ้าวพันธุ์ IR8 พันธุ์ไม่ไวแสงได ้ถูกนาออกเผยแพร่โดย IRRI เป็นการ ก ้าวเข ้าสู่ยุคเทคโนโลยี Green revolution มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์และ IRRI ได ้เข ้า มาสนับสนุนการวิจัยด ้านข ้าวและนักวิจัย ปี 2512 ข ้าวลูกผสมพันธุ์ไม่ไวแสงพันธุ์แรกของไทย กข 1 (ผสมระหว่างข ้าว พันธุ์พื้นเมืองเหลืองทองของไทยกับ IR8) ได ้ถูกนาออกเผยแพร่โดยกรมการข ้าว การพัฒนาพันธุ์ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงต่างๆ มีผลต่อการขยายตัวของการทานา มากกว่า 1 ฤดู และการเพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่ชลประทาน ทาให ้ผลผลิตทั้ง ประเทศเพิ่มขึ้น นาไปสู่การปรับตัวของตลาดแรงงานและตลาดที่ดินและเครื่องจักรกล การเกษตรและปัจจัยการผลิตตามมา 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 28. ที่มา: http://www.ricethailand.go.th/rkb3/Varieties.htm; องค์ความรู้ข ้าว กรมการข ้าว ชนิดของพันธุ์ข้าวนาสวนแบ่งตามการตอบสนองต่อช่วงแสง ชนิดของพันธุ์ข้าวขึ้นน้า ข้าวไร่ และข้าวอื่นๆ 28 3.4 ชนิดของพันธุ์ข้าวต่างๆที่ได้รับการพัฒนาและขึ้นทะเบียนกับ กรมการข้าว 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 29. 29 3.5 การลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐในช่วงทศวรรษที่ผ่านมากับ เทคโนโลยีที่สาคัญ 5 ลาดับแรก จานวนงบประมาณลงทุนวิจัยข้าวที่จัดสรรโดย วช. ในช่วงปี 2551-2558 และมี สัดส่วนที่สูงในกลุ่มการวิจัยด้านเทคโนโลยีพันธุ์พืชเป ็ นระดับแรก 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 30. 30 จ านวนงบประมาณ(บาท) ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวแยกตามเทคโนโลยี 3.6 การลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐในด้านเทคโนโลยี ต่างๆ การลงทุนวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีพันธุ์ พืชมีสัดส่วนสูงกว่าด ้านอื่นๆในทุกๆปี 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 31. 31 หน่วยงาน งบประมาณทุนวิจัย (ล้านบาท) เฉลี่ยงบต่อปี(ล้าน บาท) ร้อยละ กรมการข ้าว 2,084.20 285.53 58.2 สถาบันการศึกษาต่างๆ 578.5 72.31 16.1 สานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ 89.2 11.19 2.5 สถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 75.4 9.43 2.1 กรมพัฒนาที่ดิน 68.7 8.59 1.9 หน่งยงานอื่นๆ(90 หน่วยงาน) 687.1 85.89 19.2 รวมงบประมาณ 2551-58 3,583.1 447.89 100.0 3.7 งบประมาณการลงทุนวิจัยด้านข้าวของภาครัฐ จาแนกตามหน่วยงาน ที่มา: ธานี ศรีวงศ์ชัยและคณะ (2561) การประเมินผลการวิจัยด้านข้าว สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบวิจัยมากกว่าครึ่งจัดสรรให ้กับกรมการข ้าวหรือเฉลี่ยปีละ 285.5 ล ้านบาท สถาบันการศึกษาได ้รับงบวิจัยด ้านข ้าวร ้อยละ 16.1 หรือเฉลี่ยปีละ 72.3 ล ้าบาท งบประมาณการลงทุนวิจัยด ้านข ้าวของภาครัฐรวม 3,583.1 ล ้านบาทช่วงปี 2551-58 3. เส้นทาง การวิจัยด้านข้าวของไทย: พัฒนาการและผลกระทบ
  • 32. 32 1) มาตรการพรีเมี่ยมข๎าว (Rice Premium) รัฐบาลเรียกเก็บคา ธรรมเนียมอนุญาตจาก ผู๎สงออกประเภทของข๎าว กรมการค๎าตางประเทศเป็นผู๎ดาเนิน การ 2) มาตรการคาธรรมเนียมสงออก (Export Duty) กาหนดคา ธรรมเนียมที่อัตราร๎อยละ 2.5-10 ตามมูลคาของสินค๎าที่สงออก (Ad Valorem Duties) มีกรมศุลกากรเป็นผู๎ดาเนินการ 3) มาตรการโควตาการสงออกข๎าว หรือการจากัดการสงออก ข๎าว (Export Quota Restriction) มีกรมการค๎าภายในเป็นผู๎กาหนดโควตาสงออก ของผู๎สงออกข๎าวตามปริมาณการสงออก ของผู๎สงออกแตละรายในปีกอน 4) มาตรการโครงการสารองข๎าว (Rice Reserve Requirement) รัฐบาลกาหนดให๎ ผู๎สงออกข๎าวทุกรายต๎องขายข๎าวที่จะสงออกให๎รัฐบาลจานวน หนึ่งในราคาที่ต่ากวาตลาด มีกรมการค๎า ภายในเป็นผู๎ดาเนินการเพื่ออุดหนุนผู๎บริโภค
  • 33. นับจากที่ได ้มีการทาสนธิสัญญาเบาริงในปี 2398 แล ้วการค ้าขายของไทย กับต่างชาติได ้ก ้าวขยายตัวไปอย่างรวดเร็ว การเปิดเสรีการค ้าในยุคนั้น ชาวนา พ่อค ้าคนกลาง และพ่อค ้าส่งออกสามารถซื้อขายได ้อย่างเสรี ส่งผลให ้ข ้าว เติบโตขึ้นเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญของประเทศต่อเนื่องมา (Ingram,1955) การพัฒาการขุดคลองต่างๆ(ในช่วงทศวรรษ 2400-2450: 1.1 การเปิดตลาดการค้าข้าวเสรีหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง เป ็ นแรงขับเคลื่อนสาคัญในการพัฒนาระบบนิเวศข้าวไทย เเป็นการเปิดพื้นที่ว่างเปล่าให ้ประชากรอพยพไปตั้งถิ่นฐานและขยายการ ปลูกข ้าว พร ้อมๆกับการใช ้เป็นเส ้นทางคมนาคมขนส่ง รวมถึงการให ้ กรรมสิทธิ์ถือครองที่ดินตามา อีกทั้งในปี 2445 ได ้ว่าจ ้าง Mr. Van der Heide มาวางแผนชลประทานขนาดใหญ่ในทุ่งภาคกลาง แต่แผนดังานดังก ล่าวไม่ได ้ถูกนามาใช ้ปฎิบัติในขณะนั้น 33 ก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริงและสนธิสัญญากับชาติตะวันตกอื่นๆตามมา การ ส่งออกข ้าวของไทยถูกผูกขาดโดยระบบพระคลัง ซึ่งมีอานาจทั้งในการ จัดเก็บภาษีและการค ้าขายกับต่างประเทศ
  • 34. 34 ปี เฉลี่ยงบวิจัยข้าว (ล้านบาท) เฉลี่ยงบวิจัยต่อพื้นที่ปลูกข้าวนาปี (บาทต่อไร่) สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก (%) 2511-15 134. 3.04 0.51 2546-48 128 4.12 0.17 2553-55 315 4.85 0.29 2559-61 441 7.47 0.26 ที่มา: สมพร อิศวิลานนท์ (2564) งบวิจัยด้านข้าวเฉลี่ยต่อปี ช่วงเวลาต่างๆ งบเฉลี่ยต่อพื้นที่ปลูกข้าวนาปี และสัดส่วนต่อมูลค่าข้าว ส่งออก 2511-2561
  • 35. การพัฒนาการของโครงการรับจานาข้าวเปลือก • เดิมการจานายุ้งฉางให้สินเชื่อ 80-90% เพื่อให้ชาวนาชะลอการขายข้าว • ปี 2536/37 เริ่มการจานาแบบใบประทวน • ปี 2543/44 รัฐบาลทักษิณเริ่มเพิ่มราคาจานาเป ้ าหมายให้สูงกว่าตลาด และ เพิ่มงบ – กลายเป ็ นนโยบาย “ประกันราคาขั้นต่า” เพื่อเพิ่มรายได้ให้ชาวนา และ ยกระดับราคาต้นฤดู • ปี 2544/45 เริ่มการจานาข้าวนาปรังครั้งแรก • รัฐบาลนายกสุรยุทธลดราคาจานาลงใกล้เคียงราคาตลาด • รัฐบาลนายกสมัครขึ้นราคาจานาสูงเป ็ นประวัติการณ์ 14,000 บาท ในฤดูนา ปรัง 2551 • แม้ราคาตลาดจะลดลงรวดเร็ว แต่รัฐบาลนายกสมชาย และนายกอภิสิทธิ์ก็ ยังคง ราคาจานาสูงกว่าตลาดมาก คือ นาปี 2551/52 ราคา 12,000 บาท และนาปรัง 2552 ราคา 11,800 บาท • นาปี 2553 รัฐบาลนายกอภิสิทธิ์ ได้ปรับนโยบายจากการรับจานาเป ็ นประกัน รายได้เกษตรกรปลุกข้าวขั้นต่า • นาปี 2554 เริ่ม 1 สิงหาคม รัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์ยกระดับราคาจานาเป ็ น 15,000 บาทสาหรับข้าวเลือกความชื้น 15% 35 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
  • 36. โครงการรับจานาข้าวเปลือกปี 2542/43 ชนิดคุณภาพของข ้าวเปลือก ราคาเป้าหมาย (บาท/ตัน) ราคารับจานาบาท/ตัน) -ข ้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ 6,840 6,495 -ข ้าวเปลือกคุณภาพดี 100% 5,560 5,280 -ข ้าวเปลือกเจ้าคุณภาพดี 5% 5,460 5,185 -ดาเนินงานพื้นที่ 67 จังหวัด รับจานาจากเกษตรกร 325,000 ครัวเรือน และสถาบันเกษตรกร 400 สถาบัน ปริมาณข ้าวเปลือกที่รับจานา 2.5 ล ้านตัน วงเงินสินเชื่อ 14,725 ล ้านบาท เริ่ม โครงการเมื่อ 1 พ.ย. 2542 มีระยะเวลาจานา 7 เดือน ชนิดข้าว ปี 2546/47 ปี 2547/48 จานวนเปลี่ยนแปลง %เปลี่ยนแปลง บาทต่อตัน(ความชื้น 15%) ข้าวเปลือกหอมมะลิ 7,000 10,000 +3,000 +42.86 ชนิดสีได้ต้นข้าว 42 กรัม 6,900 9,900 +3,000 +43.48 ข้าวเปลือกหอมจังหวัดสีได้ต้นข้าว 40 กรัม 5,700 7,700 +2,000 +35.09 ข้าวเปลือกเจ้านาปีชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 100% 5,330 6,600 +1,270 +23.83 ข้าวเปลือกเจ้านาปี ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 5% 5,235 6,500 +1,265 +24.16 ข้าวเปลือกปทุมธานี 6,000 6,600 +600 +10.00  การปรับราคารับจานาข้าวเปลือกนาปี 2547/48 เทียบกับ 2546/47 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก ที่มา: สมพร อิศิลานนท์2556
  • 37. 37 จานวนและมูลค่าข้าวเปลือกที่รับจานาและการไถ่ถอนคืน ปีการผลิต ปริมาณ(ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) รับจานา ไถ่ถอน %การไถ่ ถอน รับจานา ไถ่ถอน %การไถ่ ถอน 2543/44 1,618,496 797,503 49.27 8,205 3,586.69 43.71 2544/45 4,298,144 1,128,985 26.27 23,493 6,170.92 26.27 2545/46 5,927,415 858,080 14.48 28,906 4,415 15.27 2546/47 2,668,336 696,508 26.10 12,429 3,282 26.41 2547/48 9,418,419 527,512 5.60 44,086 3,202 7.26 2548/49 9,479,869 1,193,801 12.59 71,773 10,902 15.19 2549/50 2,401,571 909,348 37.86 16,644 7,281 43.74 2550/51 4,297,127 160,396 3.73 53,143 1,593 3.00 หมายเหตุ: การรับจานานาปรังในแต่ละปีได ้รวมต่อเนื่องไปกับฤดูนาปีในแต่ละปีก่อนหน้าฤดูนาปรังนั้นๆ ที่มา: ข ้อมูลปี 2543/44 และ 2544/45 จากอนันต์ ดาโลดม (2547) อ ้างในศูนย์เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (2548) สาหรับข ้อมูลปี 2546/47 ถึง 2550/51 จาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษต 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
  • 38. การรับจานาในระดับราคาสูงจูงใจให้เกษตรกรเลือกการผลิตข้าวที่มีอายุ สั้น ซึ่งมีคุณภาพต่า หากปล่อยนานออกไปจะเป ็ นการทาลายคูณภาพข้าว ในตลาดของไทย ผลกระทบที่ตามาจากการยกระดับราคาจานา สูงกว่าระดับราคาตลาด  ตลาดซื้อขายสินค้าข้าวล่วงหน้าได้รับผลกระทบ คุณภาพข้าวหลังการสีตกต่าลง เพราะมีการเกี่ยวข้าวที่ยังไม่แก่  ระบบการทุจริตในการใช้งบประมาณของรัฐขยายตัวและมีการพัฒนาการ ในกลไกทุจริต นิพนธ์ (2552) รายงานว่างบประมาณที่ใช้จ่ายใน โครงการรับจานานั้นถึง 100,000 ล้านบาท แต่ตกถึงมือเกษตรกร จานวนน้อย เกษตรกรนาข้าวมาขายให้กับรัฐ ทาให้ตลาดกลางที่เคยเป ็ นแหล่งซื้อ ขายแลกเปลี่ยที่สาคัญสาหรับตลาดข้าวเปลือกหายไป ในขณะเดียวกัน รัฐบาลเป ็ นผู้รับซื้อรายใหญ่ในระบบการค้าข้าวเปลือก เกษตรกรที่นาข้ามาจานาไม่มาไถ่ถอนคืน และทาให้ข้าวตกค้างอยู่ใน สต็อกมีปริมาณมากขึ้น ไปพร้อมกับภาระด้านงบประมาณของรัฐ 38 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
  • 39. 39 กระบวนการแสวงหา “ค่าเช่า” หรือ “ส่วนเกิน” กิจกรรมแสวงหา “ผลตอบแทนส่วนเกิน (economic rent) และการทุจริต ₋ จดทะเบียนปลูกเกินความจริง ₋ เพิ่มพื้นที่ปลูกตัว/ลดพื้นที่พืชอื่น ₋ สวมสิทธิ์ชาวนาอื่น ₋ เพิ่มรอบการเพาะปลูกเป ็ น 7-8 ครั้ง/ 2 ปี ₋ เดินขบวนเรียกร้องเพิ่มราคาจานา/ขยาย เวลาและวงเงินจานา ส่วนต่างราคา Rent Seeking ชาวนา ₋ ต้นทุนสูงขึ้น ₋มลพิษเพิ่ม ₋แย่งน้าที่ขาด แคลน ₋ ลงทุนขยายกาลังการผลิต/Silo เป ็ น 90 ล้าน ตันขาวเปลือก เงินลงทุนเพิ่มจาก 0.8 ล้านบาทเป ็ น 1.6 ล้าน บาท/โรงในปี 2530-48 ₋ วิ่งเต้นเข้าโครงการจานา/จานาข้ามเขต ₋ ขโมยข้าวรัฐบาลไปหมุนก่อน ₋ สวมสิทธิ์ชาวนา/ใช้ข้าวเขมร-พม่า-ลาว กาไรจากการสี ได้ข้าวฟรีไปหมุน โรงสี • โรงสีใน โครงการแข่งขัน ไม่เป ็ น ผลกระทบ ที่มา: นิพนธ์ พัวพงศกร 2551 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
  • 40. 40 ₋ วิ่งเต ้นนักการเมือง ₋ รวมตัวกันฮั้วประมูล ประมูลราคาต่ากว่า ราคาส่งออก ผู้ส่งออก ₋ ผู้ประมูลรายได้ ใหญ่ได้เปรียบ ₋ ลงทุนสร ้างโกดังเพราะคืนทุน ใน 2 ปี ₋ ขโมยข ้าวสารไปหมุนก่อน ₋ เปลี่ยนข ้าวดีเป็นข ้าวเลว ได้ข้าวรัฐไปหมุน ค่าเช่าโกดังสูง โกดังข ้าว ₋ เกิดโกดังมาก เกินไป ผลกระทบ กระบวนการแสวงหา “ค่าเช่า” หรือ “ส่วนเกิน” กิจกรรมแสวงหา “ผลตอบแทนส่วนเกิน (economic rent) และการทุจริต (ต่อ) ที่มา: นิพนธ์ พัวพงศกร 2551 5.3 นโยบายการรับจานาข้าวเปลือก
  • 41. นโยบายประกันรายได้ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยเหลือชาวนาทุกครัวเรือน 3.7 ล้านครัวเรือน รวมทั้งชาวนายากจนที่ไม่มีผลผลิตเหลือขายในตลาด การประกันรายได้เป ็ นการช่วยเกษตรกรขนาดเล็กให้มีรายได้ขั้นต่าหาก ราคาข้าวตกต่าจนขาดทุน รัฐบาลไม่ซื้อข้าว ไม่จ้างสีแปรสภาพ ไม่ขายข้าว 5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร? 5. นโยบายการเกษตรในปัจจุบัน 41 กาหนดราคา ประกัน/ราคาอ้างอิง “กรรมการ-ชาวนา” ลงทะเบียน ประกัน “ธกส.” รับการตรวจ ฟาร์ม “ธกส.เกษตร อบต.” การรับ สินไหม “ธกส.” ขายข้าว “ไม่ต้อง ขายให้ รัฐ” ขั้นตอนการประกัน
  • 42.  รัฐไม่ต้องเก็บข้าวในสต็อก ลดการทุจริตในขั้นตอนการดาเนินงาน ผลกระทบของโครงการ  เป ็ นนโยบายที่สนับสนุนกลไกตลาดข้าวในระดับต่างๆ  เกษตรกรที่ปลูกข้าวและมาลงทะเบียนจะได้รับผลประโยชน์ทุกราย ข ้อดี ผลเสีย  หากราคาตลาดอยู่ในช่วงขาลงมากๆ รัฐจะต้องใช้งบประมาณ จานวนมากเช่นกันที่จะมาจ่ายชดเชยในส่วนต่าง  มีผลกระทบต่อโครงสร้างการปลูกพืชอื่นๆในอนาคต หาก รัฐยกระดับราคาเป ้ าหมายให้สูงขึ้นตลอดเวลา  เกษตรกรขาดความสนในในการจัดการไร่นาและสร้างผลกระทบต่อ คุณภาพข้าวตามมา 5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร? การใช ้จ่ายเงินภายใต ้โครงการประกันรายได ้ขั้นต่า ปี 2552/53 =47,843 ล ้านบาท ปี 2553/54 = 67,580 ล ้านบาท 42
  • 43. 1.พื้นที่และเกษตรกรผู้ผลิตข้าวมีจานวนมากมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 54 ล้านไร่ เกี่ยวข้องกับเกษตรกรไม่น้อยกว่า 4 ล้านครัวเรือน กระจายอยู่ทั่วประเทศ การบริหารโครงการจะมีข้อจากัดในประสิทธิภาพและอาจนาไปสู่ความ ล้มเหลวได้ 2. การผลิตข้าวในพื้นที่ชลประทานไม่เป ็ นฤดูกาลและปลูกไม่ต่ากว่า 5 ครั้ง ใน 2 ปี ทาให้การบริหารจัดการมีความยุ่งยากมากกว่าการผลิตข้าวในพื้นที่ นาน้าฝน จุดอ่อนของโครงการประกันรายได้ขั้นต่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 3. เกษตรกรที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในการใช้หรือการเป็ นเจ้าของรวมทั้งผู้เช่าที่ไม่มีสัญญา เช่าจะมีข้อจากัดในการเข้าร่วมโครงการ 4. การกาหนดราคาอ้างอิงและหน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดราคาอ้างอิงจะได้รับความ เชื่อถืออย่างไร 5. เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานไม่มีพฤติกรรมในการเก็บข้าวเพื่อรอราคาและไม่มียุ้ง ฉางในการจัดเก็บ เกษตรกรจะขายข้าวทันทีเมื่อเก็บเกี่ยว 6. ตลาดกลางข้าวเปลือกที่จะเป ็ นแหล่งแลกเปลี่ยนและกระจายสินค้าใน ปัจจุบันถูกฆ่าตัดตอนไปเกือบหมดแล้ว เกษตรกรจะมีทางเลือกจากัดในแหล่ง ที่จะขายสินค้า 5.4 นโยบายประกันรายได้ชาวนาได้อะไร?
  • 44. ปัญหาที่สาคัญทางการเกษตรอันนาไปสู่ การกาหนดนโยบายด้านราคา ● การผลิตในภาคเกษตรกรรมขึ้นอยู่กับความเสี่ยงต่างๆที่ไม่ สามารถควบคุมได้โดยเฉพาะภัยธรรมชาติ ทาให้เกิดความ แปรปรวนในปริมาณสินค้าและราคา ● ผลผลิตส่วนมากเป ็ นฤดูกาล และเน่าเสียง่าย เกษตรกรส่วน ใหญ่จะขายผลผลิตไปทันทีหลังการเก็บเกี่ยว เพราะมีภาระเรื่อง ค่าใช้จ่ายและหนึ้สิน ทาให้ได้ราคาต่า ● สินค้าบางชนิดมีไม่เพียงพอใช้ภายในประเทศและเพื่อให้มี การผลิตภายในประเทศเป ็ นการทดแทนการนาเข้า ทั้งนี้อาจเป ็ น พืชใหม่ หรือเป ็ นพืชที่ต้องการให้การสนับสนุน หากไม่มีการ คุ้มครองแล้วจะแข่งขันสู้การนาเข้าสินค้าดังกล่าวไม่ได้ ●การมีรายได้ต่าของเกษตรกร ทาให้มีฐานะยากจน การแทรกแซงราคาผลผลิตให้มีราคาที่สูงขึ้นจะช่วยยกระดับ รายได้ ให้กับเกษตรกร 44 5.1 ลักษณะของนโยบายในภาคการเกษตรไทย
  • 45. แนวคิดรูปแบบเชิงนโยบายที่ใช้ในการขับเคลื่อนภาค เศรษฐกิจข้าวไทยในอดีต การลงทุนพัฒนา แหล่งน้าและการ ชลประทาน การลงทุนใน R&D การจัดหาที่ดินและ การคุ้มครองในการ ถือครองที่ดิน การจัดสินเชื่อเพื่อ การเกษตรและ ธุรกิจการเกษตร  การพยุงราคาหรือ ประกันราคา  การสร้างเสถียรภาพ ราคา  การประกันรายได ้  การรับจานา  การอุดหนุนปัจจัยการ ผลิต  การอุดหนุนปรับ คุณภาพผลผลิต(ข ้าว)  การปรับปรุงระบบการขนส่งและการเก็บรักษา  การปรับปรุงโครงสร้างตลาดภายในและตลาด ส่งออก 45 การตอบสนองเชิง นโยบายในภาค การเกษตรและ การพัฒนาชนบท ด้านศักยภาพ ทางการตลาด ด้านการเพิ่ม ประสิทธิภาพ การผลิต ด้านราคา และรายได้
  • 46. 46 ในปี 2551 เป็นต ้นมาเมื่อเกิดวิกฤต ข ้าวแพงในช่วงไตรมาสแรกของปี 2551 รัฐยังได ้คงนโยบายรับจานาไว ้พร ้อมกับ กาหนดราคาจานาให ้สูงว่าราคาตลาด เมื่อราคาข ้าวลดต่าลงในช่วงปลายปี เกษตรกรจานวนมากไม่มาไถ่ถอนคืน ในช่วงปี 2550-51 รัฐมีเงินคงค ้างจากการ รับจานาถึงกว่า 100,000 ล ้านบาท 4.3 การปรับตัวสู่การรับจานาข้าวเปลือกทุกเมล็ดในระดับราคาสูง ในช่วง ส.ค. 2554 – พ.ค. 2557 ได ้มีการยกระดับโครงการรับจานาข ้าว เป็น โครงการรับจานาข ้าวทุกเมล็ดในระดับราคาสูงในสมัยนายกยิ่งลักษณ์ โดยมี วัตถุประสงค์ของโครงการประกอบด ้วย เพื่อสร ้างความแข็งแกร่ง และความมีเสถียรภาพ และการเติบโตทางเศรษฐกิฯ เพื่อยกระดับรายได ้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของชาวนา เพื่อดึงอุปทานข ้าวเข ้ามาอยู่ในความควบคุมและสร ้างเสถียรภาพของราคาฯ เพื่อยกระดับราคาข ้าวไทยให ้สูงขึ้นทั้งระบบ เนื่องจากข ้าวไทยเป็นที่นิยมและ เป็นที่ต ้องการของตลาดต่างประเทศ จึงควรจะขายได ้ราคาสูงกว่าข ้าวจาก ประเทศผู้ส่งออกรายอื่น (ที่มา: กขช. “รู้ลึก รู้จริง จานาข ้าว” ตุลาคม 2555)
  • 47. 47 ก่อนจะมีโครงการรับจานาข ้าวเปลือก ภาครัฐได ้มีมาตรการพยุงราคาข ้าว เพื่อ ลดความผันผวนของราคาโดยเฉพาะในช่วงที่ราคาข ้วเปลือกตกต่า โดยได ้จัดตั้ง อตก ในปี 2517 เพื่อใช ้เป็นองค์กรในการปฏิบัติงานตามมาตรการพยุงราคาฟาร์ม เมื่อราคาข ้าวเปลือกตกต่า เนื่องจากรัฐมีข ้อจากัดในการดาเนินงานโดยเฉพาะ หน่วยงานปฎิบัติและงบประมาณที่มีจานวนน้อย ทาให ้ไม่สามารถยกระดับราคา ข ้าวได ้นอกจากนี้สถานที่เก็บรักษาข ้าวที่จัดซื้อมาก็มีไม่เพียงพอ โครงการพยุงราคาได ้ยุติไปในปี 2529 และได ้นานาโครงการับจานา ข ้าวเปลือกของ ธ.ก.ส. มาเป็นโครงการหลักในการแทรกแซงราคาข ้าวเปลือก 4.2 โครงการรับจานาข้าวเปลือกและวิวัฒนาการ โครงการรับจานาข ้าวเปลือกป็นโครงการเล็กๆ ริเริ่มโดย ธ.ก.ส. ในปี 2524 มีวัตถุประสงค์เพื่อให ้เกษตรกรที่ต ้องการใช ้เงิน ได ้ชะลอการขายหลังฤดูการ เก็บเกี่ยว ซึ่งจะช่วยพยุงราคาไม่ให ้ตกต่าลง และได ้ถูกยกระดับให ้เป็น โครงการของรัฐปี 2529 การดาเนินงานในช่วงเวลาต่อมาได ้มีการเปลี่ยนแปลงในเงื่อนไขวเงินที่ให ้กู้ การชดเชยอัตราดอกเบี้ย รวมถึงการปรับปริมาณข ้าวเปลือกเป้าหมายที่จะรับ จานา เช่นในปี 2447/48 และ ในปี 2551/52 ได ้มีการปรับระดับราคาและ ปริมาณข ้าวเปลือกเป้าหมายของโครงการ ส่งผลต่อการไม่มาไถ่ถอน และรัฐ สะสมสต็อกจานวนมาก
  • 48. 15%) ชนิดข ้าว ปี 2549/50 ปี 2551/52 ร ้อยละของการ เปลี่ยนแปลง บาทต่อตัน ข ้าวเปลือกหอมมะลิ ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 42 กรัม 9,000 15,000 +66.67 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 8,900 14,800 +66.29 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 8,800 14,600 65.91 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าวได ้36 กรัม 8,700 14,400 65.52 ข ้าวเปลือกหอมจังหวัด ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 7,500 13,000 73.33 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 7,400 12,800 72.97 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 36 กรัม 7,300 12,600 72.60 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 34 กรัม 7,200 12,400 72.22 ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547 หมายเหตุ: ราคารับจานาข ้าวเปลือกหอมมะลิที่ยุ ้งฉางของเกษตรกรบวกเพิ่มให ้อีกตันละ 1,000 บาท เช่นเดียวกับราคารับ จานาข ้าวเปลือกเหนียวที่ยุ ้งฉางเกษตรกรให ้เพิ่มอีกตันละ 1,000 บาท เกษตรกรที่เข ้าร่วมโครงการจะจานาได ้ในวงเงิน ไม่เกิน 500,000 บาท
  • 49. ราคาจานาข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2547/48 เปรียบเทียบกับปี 2546/47 (ความชื้น 15%) ชนิดข้าว ปี 2546/47 ปี 2547/48 จานวนเปลี่ยนแปลง %เปลี่ยนแปลง บาทต่อตัน ข้าวเปลือกหอมมะลิ 7,000 10,000 +3,000 +42.86 ชนิดสีได้ต้นข้าว 42 กรัม 6,900 9,900 +3,000 +43.48 ชนิดสีได้ต้นข้าวได้ 36 กรัม 6,700 9,700 +3,000 +44.78 ข้าวเปลือกหอมจังหวัด ชนิดสีได้ต้นข้าว 40 กรัม 5,700 7,700 +2,000 +35.09 ชนิดสีได้ต้นข้าว 36 กรัม 5,620 7,620 +2,000 +35.59 ชนิดสีได้ต้นข้าว 34 กรัม 5,460 7,460 +2,000 +36.63 ข้าวเปลือกเจ้านาปี ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 100% 5,330 6,600 +1,270 +23.83 ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 5% 5,235 6,500 +1,265 +24.16 ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 10% 5,045 6,400 +1,355 +26.86 ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 15% 4,950 6,300 +1,350 +27.27 ชนิดสีเป ็ นข้าวสาร 25% 4,760 6,200 +1,440 +30.25 ข้าวเปลือกปทุมธานี 6,000 6,600 +600 +10.00 ข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี 5,400 6,500 +1,100 +18.52 ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547 หมายเหตุ: มีผลบังคับใช ้ตั้งแต่เริ่มโครงการรับจานาข ้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2547/48 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 เป็นต ้นไป
  • 50. 15%) ชนิดข ้าว ปี 2549/50 ปี 2551/52 ร ้อยละของการ เปลี่ยนแปลง บาทต่อตัน ข ้าวเปลือกหอมมะลิ ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 42 กรัม 9,000 15,000 +66.67 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 8,900 14,800 +66.29 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 8,800 14,600 65.91 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าวได ้36 กรัม 8,700 14,400 65.52 ข ้าวเปลือกหอมจังหวัด ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 40 กรัม 7,500 13,000 73.33 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 38 กรัม 7,400 12,800 72.97 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 36 กรัม 7,300 12,600 72.60 ชนิดสีได ้ต ้นข ้าว 34 กรัม 7,200 12,400 72.22 ที่มา: ฝ่ ายเลขานุการ กนข. กรมการค ้าภายใน พฤศจิกายน 2547 หมายเหตุ: ราคารับจานาข ้าวเปลือกหอมมะลิที่ยุ ้งฉางของเกษตรกรบวกเพิ่มให ้อีกตันละ 1,000 บาท เช่นเดียวกับราคารับ จานาข ้าวเปลือกเหนียวที่ยุ ้งฉางเกษตรกรให ้เพิ่มอีกตันละ 1,000 บาท เกษตรกรที่เข ้าร่วมโครงการจะจานาได ้ในวงเงิน ไม่เกิน 500,000 บาท