SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
จับความจาก
Five Emerging Education Trends - Are your schools ready
National Consortium of Education Foundation
(NCEFS)Washington, DC
Published on Aug 04, 2011
สมประสงค์ น่วมบุญลือ จับความ เพื่อประกอบความรู้ในวงการศึกษา (มิได้เพื่อแสวงหากาไร)
ถึงแม้จะเก่าไปหน่อย (๒๕๕๔) แต่ความคิดคงไม่เก่า เพราะเรายังไม่ได้เริ่ม
แนวโน้มการศึกษาที่ปรากฏห้าประการ
โรงเรียนท่านพร้อมหรือยัง
 The National Consortium of Education
Foundations ได้นาเสนอแนวโน้ม ๕ ประการ สาหรับการพิจารณาโปรแกรม
นวัตกรรมเพื่อสนับสนุน โรงเรียนประถม-มัธยม และโรงเรียนเขต (K12
schools and school districts. ?)
 ประเด็นสาระ คือ ภายใน ๕ ปีจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางลึกในด้านเทคโนโลยีและ
ขีดความสามารถด้านสาระเนื้อหาซึ่งจะมีผลกระทบทางลึกต่อการเรียนและการสอน
และจะมีแนวโน้มสาคัญ ๕ ประการ ที่ต้องพิจารณา คือ
แนวโน้ม ๕ ประการ ได้แก่
 แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลคโทรนิกส์
 แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย
 แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่
 แนวโน้มที่ ๔ : ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ
 แนวโน้มที่ ๕ : ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา
แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิกส์
 ตาราที่ใช้เรียนในอุดมศึกษามากกว่าร้อยละ ๙๐ พร้อมใช้ในรูปแบบของตาราอีเลค
โทรนิกส์
 ตาราที่ใช้ในโรงเรียนมัธยมปลายมากกว่าร้อยละ ๕๐ ตาราอีเลคโทรนิกส์สามารถ
ใช้ได้แล้ว
แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิกส์
 รูปลักษณ์ใหม่ New features
 ชุมชนการเผยแผ่ Community attributes
 สามชั่วอายุคน Three generations
แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย
 การเลือกใช้เทคโนโลยี อนุบาล- ม.ปลาย จะขาดช่วงกับอุดมศึกษา ๑๐ ปี
 จนกว่าอนุบาล- ม.ปลายจะใช้การปรับให้เข้ากับ LMS. (Learning
Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่
ทาหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ) ของอุดมศึกษา
แหล่งที่มา https://www.l3nr.org/posts/552370
แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย
 ๔ ระดับ
มัธยมปลาย มัธยมต้น ประถมศึกษา อนุบาล
 ๒ ตัวแบบ
ประสานเวลา (Synchronous) แยกเวลา (asynchronous)
 ๓ สิ่งแวดล้อม
ตามสาย (Online) ในชั้นเรียน ทาให้เข้ากัน (in
classroom,blended)
 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ Synchronous s learning
theories.
 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง Supports personalized learning.
แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่
 ครอบคลุมอุปกรณ์สาหรับการศึกษาทั้งหมด Embrace devices for
education.
 เรียนรู้เกือบทุกที่ Learn almost
anywhere.
 ร่วมมือกันไปสู่ชั้นเรียน Incorporate into
classroom.
ที่มา http://www.slideshare.net/edunile/qu-qtesol-
แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่
 สาระเนื้อหาปรับสู่ความสามารถของอุปกรณ์ Content adapts to
device capabilities.
 หลักสูตรและบทเรียนต่อเนื่องผ่านอุปกรณ์ Curriculum and lesson
continuity across devices.
 รูปแบบเล็กและใหญ่ Small and large formats.
 ที่มา
แนวโน้มที่ ๔ : ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ
 เป้ าหมาย : เปลี่ยนรูป วิชาการแบบสถาบันอนุบาล- ม.ปลาย และการบริหารแบบ
องค์กรข้อมูลไปสู่ “ปัญญาที่สามารถปฏิบัติได้” จากการนาเสนอในกระบวนการทา
ให้เห็นจริงและการบริหารแบบใช้แผงหน้าปัดซึ่งปรับปรุงการแสดงปฏิบัติการสอน
และการเรียนรู้
ที่มา https://www.flickr.com/photos/alumroot/5872421166
วิเคราะห์จากบทบาท
แผงหน้าปัด
และ
การรายงาน
ครู ผู้บริหาร
นักเรียน ครูใหญ่
วิวัฒนาการความสามารถการวิเคราะห์
 อดีต Past
 เกิดอะไรขึ้น What
happened?
 ทานายอนาคต Predicted
Future
 จะเกิดอะไรขึ้น What will
happen?
 อนาคตที่ปรารถนาDesired
Future
 เราต้องการให้สิ่งต่าง ๆ เป็นอย่างไร
How do we want things
 การเข้าถึงข้อมูล Data Access
 การรายงาน Reporting
 กระบวนการวิเคราะห์ตามสาย On
Line Analytical
Processing (OLAP)
 การเผยแพร่ Forecasting
 การสร้างตัวแบบการทานาย
Predictive Modeling
 จุดสูงสุด Optimization
 การแทรก ขัดจังหวะ Intervention
การวิเคราะห์ = การออกแบบวิถีที่สุดยอดสู่อนาคตที่ปรารถนา
Analytics = Designing an optimal path to a desired future.
วิวัฒนาการความสามารถการวิเคราะห์ (USA)
 กระแสปัจจุบัน Current
 อนาคตที่ปรารถนา Desired
Future
 วิถีที่ได้ผลสุดยอด Optimal
Path
 โรงเรียนมัธยมปลายอัตราลดลงร้อย
ละ ๒๕ High school drop
out rate is 25%
 อัตราลดลงไม่เกินร้อยละ ๑๐
Drop out rate of no
more than 10%
 กาหนดลักษณะความมั่นใจความ
เสี่ยงที่นักเรียนและการกาหนดวิธีการ
ที่เข้ามาแทรกเข้ามา
Proactively identify at-
risk students and
design intervention
อัตราจบการศึกษา
อัตราประสบความสาเร็จ
การเข้าเรียน
Course Attendance
การคงอยู่ของนักเรียน
STUDENT
Retention
การแทรกของนักเรียน
STUDENT
INTERVENT
IONS
บุคลิกทางวิชาการ
ACADEMIC
PERFORMA
NCEการบริการนักเรียน
STUDENT
SERVICES
การตรวจสอบเบื้องต้น
Early
DETECTION
แนวโน้มที่ ๕ : ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา
ชั้นเรียนทางกายภาพมีอุปกรณ์ในการอานวยความสะดวกและวัดการจัดการ
ร่วมนักเรียน ความคล่องในความคิดรวบยอดของบุคคล และการสอนที่มีประสิทธิผล
 เปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิคส์ Conversion to
eTextbooks
 ยกแผนการเรียนรู้ อนุบาล-มัธยมปลาย Rise of K-12
Learning Platforms
 การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่ Proliferation of
Mobile Devices
 ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ Advances in
Academic Analytics
 ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา Growth of Intelligent
Classrooms
 ลักษณะห้องเรียน Characteristics:
 ประสบการณ์สื่อผสม Multimedia experiences.
 การสอนได้รับการส่งเสริมจากแผนการเรียนรู้ Teaching is supported
by a learning platform.
 เสริมแรงนักเรียนด้านปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือ Encourage student
interaction and collaboration.
 เปิดหน้าต่างดูโลกภายนอก Windows out to the world.
 เปิดหน้าต่างเข้ามาดูชั้นเรียน Windows into the classroom.
ประเมินผลและการจัดการผลลัพธ์การเรียนรู้
Evaluations & Outcomes
Management
 การเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
 การเข้าถึงสาระเนื้อหาที่มีคุณภาพสูง
 ประสิทธิภาพของครู
 ประเมินได้ทุกเวลา/ทุกสถานที่
 การคงอยู่และการจัดการร่วม
 ปัญญาและการวิเคราะห์
 “ความสาเร็จของนักเรียน”
เหตุใดจึงกังวล Why Bother?
 การเก็บรายวิชาและโปรแกรมที่คงอยู่
Saving existing courses
and programs
 การให้เวลาการเก็บแหล่งทรัพยากรสาหรับ
ครู Offering time saving
resources for teachers
 ทางเลือกที่เพิ่มขึ้นสาหรับรายวิชาที่ส่งไป
ตามช่องต่าง ๆ Increasing
options for course delivery
channels
 การปรับปรุงคุณภาพการสอน
Improving the quality of
teaching
 การจัดเตรียมการประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะ
ยาว Providing long term
cost savings
 เพิ่มภาวการณ์ผลิตครูและนักเรียน
Increasing teacher and
 สร้างรายได้จากรายวิชาการสอนสาหรับ
โรงเรียนอื่น หรือโรงเรียนเขตอื่น
Generating revenues by
teaching courses for other
schools or school districts
 การสร้างพลังและการขยายทักษะการอ่าน
ตามสายสาหรับนักเรียนและครู
Leveraging and
expanding online literacy
skills for students and
teachers
 จัดเตรียมหลักฐานประจักษ์ที่จับต้องได้ของ
ความเจริญทางวิชาการของนักเรียน
Providing tangible
evidence of student
academic growth
 การวัดประสิทธิผลของรายวิชา โปรแกรม
และสถาบัน Measuring the
effectiveness of courses,
ขอบคุณ

Contenu connexe

En vedette

Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
prasu1995
 
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
KusumaTrustUK
 
Informe ventas
Informe ventasInforme ventas
Informe ventas
kode99
 
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Snความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
catch us if you can
catch us if you cancatch us if you can
catch us if you can
Abeitam
 
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
coUNDco AG
 

En vedette (10)

Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
Сергей Попович. PR-охота! Продвижение компаний и региона на международных выс...
 
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
Executive Summary Mid-Day Meals July 2012
 
Trp no 21 final jun 15
Trp no 21 final jun 15  Trp no 21 final jun 15
Trp no 21 final jun 15
 
Amor eterno amj
Amor eterno amjAmor eterno amj
Amor eterno amj
 
Informe ventas
Informe ventasInforme ventas
Informe ventas
 
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Snความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ Sn
 
Pdf online (5)
Pdf online (5)Pdf online (5)
Pdf online (5)
 
Daftarhadir&nilai statistik
Daftarhadir&nilai statistikDaftarhadir&nilai statistik
Daftarhadir&nilai statistik
 
catch us if you can
catch us if you cancatch us if you can
catch us if you can
 
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
Storytelling Konferenz 2012 - Henry Jenkins - König Inhalt in der Ära der ver...
 

Similaire à แนวโน้มการศึกษาห้าประการ Five emerging education trends

Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
vorravan
 
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
แผนงาน นสธ.
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
rungaroonnoumsawat
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
Krusupharat
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
nilobon66
 

Similaire à แนวโน้มการศึกษาห้าประการ Five emerging education trends (20)

Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs57 edu 3.0_080657_econs
57 edu 3.0_080657_econs
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 no...
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
การทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมการทำงานมัธยม
การทำงานมัธยม
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Plus de Somprasong friend Ka Nuamboonlue

การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ssการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 

Plus de Somprasong friend Ka Nuamboonlue (20)

Modeling concept from 08sal ch02 sn
Modeling concept from 08sal ch02 snModeling concept from 08sal ch02 sn
Modeling concept from 08sal ch02 sn
 
Civilization simple index tha
Civilization simple index thaCivilization simple index tha
Civilization simple index tha
 
Learning outcomes
Learning outcomesLearning outcomes
Learning outcomes
 
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Sn
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Snการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Sn
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Sn
 
ภูมิปัญญาวัฒนธรรมผู้นำและการปกครองของไทย ตอนที่ ๓
ภูมิปัญญาวัฒนธรรมผู้นำและการปกครองของไทย ตอนที่ ๓ภูมิปัญญาวัฒนธรรมผู้นำและการปกครองของไทย ตอนที่ ๓
ภูมิปัญญาวัฒนธรรมผู้นำและการปกครองของไทย ตอนที่ ๓
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๒
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๒ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๒
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๒
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
เสียงกับการสร้างสรรค์ (จังหวะ)
เสียงกับการสร้างสรรค์ (จังหวะ)เสียงกับการสร้างสรรค์ (จังหวะ)
เสียงกับการสร้างสรรค์ (จังหวะ)
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
 
Multiculture and communication
Multiculture and communicationMulticulture and communication
Multiculture and communication
 
Multiculture and communication
Multiculture and communicationMulticulture and communication
Multiculture and communication
 
Group discussion tha
Group discussion thaGroup discussion tha
Group discussion tha
 
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ssการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์จากพิพิธภัณฑ์ Ss
 
Theories andphil inedu
Theories andphil ineduTheories andphil inedu
Theories andphil inedu
 
Phil tha
Phil thaPhil tha
Phil tha
 
Buddhist wisdom way
Buddhist wisdom wayBuddhist wisdom way
Buddhist wisdom way
 
ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธนิยม
ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธนิยมปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธนิยม
ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธนิยม
 
Religious teaching thought
Religious teaching thoughtReligious teaching thought
Religious teaching thought
 

แนวโน้มการศึกษาห้าประการ Five emerging education trends

  • 1. จับความจาก Five Emerging Education Trends - Are your schools ready National Consortium of Education Foundation (NCEFS)Washington, DC Published on Aug 04, 2011 สมประสงค์ น่วมบุญลือ จับความ เพื่อประกอบความรู้ในวงการศึกษา (มิได้เพื่อแสวงหากาไร) ถึงแม้จะเก่าไปหน่อย (๒๕๕๔) แต่ความคิดคงไม่เก่า เพราะเรายังไม่ได้เริ่ม แนวโน้มการศึกษาที่ปรากฏห้าประการ โรงเรียนท่านพร้อมหรือยัง
  • 2.  The National Consortium of Education Foundations ได้นาเสนอแนวโน้ม ๕ ประการ สาหรับการพิจารณาโปรแกรม นวัตกรรมเพื่อสนับสนุน โรงเรียนประถม-มัธยม และโรงเรียนเขต (K12 schools and school districts. ?)  ประเด็นสาระ คือ ภายใน ๕ ปีจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางลึกในด้านเทคโนโลยีและ ขีดความสามารถด้านสาระเนื้อหาซึ่งจะมีผลกระทบทางลึกต่อการเรียนและการสอน และจะมีแนวโน้มสาคัญ ๕ ประการ ที่ต้องพิจารณา คือ
  • 3. แนวโน้ม ๕ ประการ ได้แก่  แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลคโทรนิกส์  แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย  แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่  แนวโน้มที่ ๔ : ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ  แนวโน้มที่ ๕ : ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา
  • 4. แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิกส์  ตาราที่ใช้เรียนในอุดมศึกษามากกว่าร้อยละ ๙๐ พร้อมใช้ในรูปแบบของตาราอีเลค โทรนิกส์  ตาราที่ใช้ในโรงเรียนมัธยมปลายมากกว่าร้อยละ ๕๐ ตาราอีเลคโทรนิกส์สามารถ ใช้ได้แล้ว
  • 5. แนวโน้มแรก : การเปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิกส์  รูปลักษณ์ใหม่ New features  ชุมชนการเผยแผ่ Community attributes  สามชั่วอายุคน Three generations
  • 6. แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย  การเลือกใช้เทคโนโลยี อนุบาล- ม.ปลาย จะขาดช่วงกับอุดมศึกษา ๑๐ ปี  จนกว่าอนุบาล- ม.ปลายจะใช้การปรับให้เข้ากับ LMS. (Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ ทาหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ) ของอุดมศึกษา แหล่งที่มา https://www.l3nr.org/posts/552370
  • 7. แนวโน้มที่ ๒ : ยกแผนการเรียนรู้ของ อนุบาล-มัธยมปลาย  ๔ ระดับ มัธยมปลาย มัธยมต้น ประถมศึกษา อนุบาล  ๒ ตัวแบบ ประสานเวลา (Synchronous) แยกเวลา (asynchronous)  ๓ สิ่งแวดล้อม ตามสาย (Online) ในชั้นเรียน ทาให้เข้ากัน (in classroom,blended)  ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ Synchronous s learning theories.  ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง Supports personalized learning.
  • 8. แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่  ครอบคลุมอุปกรณ์สาหรับการศึกษาทั้งหมด Embrace devices for education.  เรียนรู้เกือบทุกที่ Learn almost anywhere.  ร่วมมือกันไปสู่ชั้นเรียน Incorporate into classroom. ที่มา http://www.slideshare.net/edunile/qu-qtesol-
  • 9. แนวโน้มที่ ๓ : การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่  สาระเนื้อหาปรับสู่ความสามารถของอุปกรณ์ Content adapts to device capabilities.  หลักสูตรและบทเรียนต่อเนื่องผ่านอุปกรณ์ Curriculum and lesson continuity across devices.  รูปแบบเล็กและใหญ่ Small and large formats.  ที่มา
  • 10. แนวโน้มที่ ๔ : ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ  เป้ าหมาย : เปลี่ยนรูป วิชาการแบบสถาบันอนุบาล- ม.ปลาย และการบริหารแบบ องค์กรข้อมูลไปสู่ “ปัญญาที่สามารถปฏิบัติได้” จากการนาเสนอในกระบวนการทา ให้เห็นจริงและการบริหารแบบใช้แผงหน้าปัดซึ่งปรับปรุงการแสดงปฏิบัติการสอน และการเรียนรู้ ที่มา https://www.flickr.com/photos/alumroot/5872421166
  • 12. วิวัฒนาการความสามารถการวิเคราะห์  อดีต Past  เกิดอะไรขึ้น What happened?  ทานายอนาคต Predicted Future  จะเกิดอะไรขึ้น What will happen?  อนาคตที่ปรารถนาDesired Future  เราต้องการให้สิ่งต่าง ๆ เป็นอย่างไร How do we want things  การเข้าถึงข้อมูล Data Access  การรายงาน Reporting  กระบวนการวิเคราะห์ตามสาย On Line Analytical Processing (OLAP)  การเผยแพร่ Forecasting  การสร้างตัวแบบการทานาย Predictive Modeling  จุดสูงสุด Optimization  การแทรก ขัดจังหวะ Intervention การวิเคราะห์ = การออกแบบวิถีที่สุดยอดสู่อนาคตที่ปรารถนา Analytics = Designing an optimal path to a desired future.
  • 13. วิวัฒนาการความสามารถการวิเคราะห์ (USA)  กระแสปัจจุบัน Current  อนาคตที่ปรารถนา Desired Future  วิถีที่ได้ผลสุดยอด Optimal Path  โรงเรียนมัธยมปลายอัตราลดลงร้อย ละ ๒๕ High school drop out rate is 25%  อัตราลดลงไม่เกินร้อยละ ๑๐ Drop out rate of no more than 10%  กาหนดลักษณะความมั่นใจความ เสี่ยงที่นักเรียนและการกาหนดวิธีการ ที่เข้ามาแทรกเข้ามา Proactively identify at- risk students and design intervention
  • 15. แนวโน้มที่ ๕ : ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา ชั้นเรียนทางกายภาพมีอุปกรณ์ในการอานวยความสะดวกและวัดการจัดการ ร่วมนักเรียน ความคล่องในความคิดรวบยอดของบุคคล และการสอนที่มีประสิทธิผล  เปลี่ยนไปสู่ตาราอีเลกโทรนิคส์ Conversion to eTextbooks  ยกแผนการเรียนรู้ อนุบาล-มัธยมปลาย Rise of K-12 Learning Platforms  การเผยแพร่ของอุปกรณ์เคลื่อนที่ Proliferation of Mobile Devices  ความก้าวหน้าในการวิเคราะห์ทางวิชาการ Advances in Academic Analytics  ความเจริญของชั้นเรียนปัญญา Growth of Intelligent Classrooms
  • 16.  ลักษณะห้องเรียน Characteristics:  ประสบการณ์สื่อผสม Multimedia experiences.  การสอนได้รับการส่งเสริมจากแผนการเรียนรู้ Teaching is supported by a learning platform.  เสริมแรงนักเรียนด้านปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือ Encourage student interaction and collaboration.  เปิดหน้าต่างดูโลกภายนอก Windows out to the world.  เปิดหน้าต่างเข้ามาดูชั้นเรียน Windows into the classroom.
  • 17. ประเมินผลและการจัดการผลลัพธ์การเรียนรู้ Evaluations & Outcomes Management  การเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง  การเข้าถึงสาระเนื้อหาที่มีคุณภาพสูง  ประสิทธิภาพของครู  ประเมินได้ทุกเวลา/ทุกสถานที่  การคงอยู่และการจัดการร่วม  ปัญญาและการวิเคราะห์  “ความสาเร็จของนักเรียน”
  • 18. เหตุใดจึงกังวล Why Bother?  การเก็บรายวิชาและโปรแกรมที่คงอยู่ Saving existing courses and programs  การให้เวลาการเก็บแหล่งทรัพยากรสาหรับ ครู Offering time saving resources for teachers  ทางเลือกที่เพิ่มขึ้นสาหรับรายวิชาที่ส่งไป ตามช่องต่าง ๆ Increasing options for course delivery channels  การปรับปรุงคุณภาพการสอน Improving the quality of teaching  การจัดเตรียมการประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะ ยาว Providing long term cost savings  เพิ่มภาวการณ์ผลิตครูและนักเรียน Increasing teacher and  สร้างรายได้จากรายวิชาการสอนสาหรับ โรงเรียนอื่น หรือโรงเรียนเขตอื่น Generating revenues by teaching courses for other schools or school districts  การสร้างพลังและการขยายทักษะการอ่าน ตามสายสาหรับนักเรียนและครู Leveraging and expanding online literacy skills for students and teachers  จัดเตรียมหลักฐานประจักษ์ที่จับต้องได้ของ ความเจริญทางวิชาการของนักเรียน Providing tangible evidence of student academic growth  การวัดประสิทธิผลของรายวิชา โปรแกรม และสถาบัน Measuring the effectiveness of courses,