SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรมเสนอแนะ ความหนาแนนของไขตม
จุดประสงคกิจกรรม
ทดลองหาความหนาแนนของโครงสรางภายในของไข เพื่อเปรียบเทียบกับการหาความหนาแนนของ
โครงสรางภายในโลก
วัสดุ-อุปกรณ
1. ไขตม 1 ฟอง
2. น้ํา 1 ลิตร
3. ถวยยูรีกา 2 ใบ
4. บีกเกอรขนาด 100 มิลลิลิตร 4 ใบ
5. แกวพลาสติก 1 ใบ
6. กระบอกตวงขนาด 10 มิลลิลิตร 1 ใบ 25 มิลลิลิตร 1 ใบ 50 มิลลิลิตร 2 ใบ
7. เครื่องชั่ง 1 เครื่อง
8. ดาย 1 หลอด
9. กระดาษรองชั่ง 5 แผน
10. มีด 1 ดาม
11. ชอน 1 คัน
12. จานพลาสติก 1 ใบ
13. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีการทํากิจกรรม
1. ชั่งมวลของไขตมทั้งฟอง เปลือกไข ไขขาว และไขแดง และหาปริมาตรดวยการแทนที่น้ํา ตามลําดับ
2. คํานวนความหนาแนนของไขตมทั้งฟอง เปลือกไข ไขขาว และไขแดง โดยใชสมการ
ความหนาแนน = มวล/ปริมาตร
และบันทึกผล
3. นําขอมูลมวลและปริมาตรของไขแตละสวน หาความหนาแนนของไขตมทั้งฟอง และบันทึกผล
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรมเสนอแนะ ความหนาแนนของไขตม
1. ตั้งสมมติฐานโดยเรียงลําดับความหนาแนนของเปลือกไข ไขขาว และไขแดง จากมากไปหานอย
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2. บันทึกผลการหาความหนาแนนของสวนประกอบของไข
สวนประกอบของ
ไข
มวล
(กรัม)
ปริมาตร
(มิลลิลิตร)
ความหนาแนน
(มวล/ปริมาตร)
(กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร)
ไขตม
เปลือกไข
ไขขาว
ไขแดง
3. หาความหนาแนนของไขตมทั้งฟองจาก ขอมูลมวลและปริมาตรของสวนประกอบของไขตม
(เปลือกไข ไขขาว ไขแดง)
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. สวนใดของไขตมมีความหนาแนนมากที่สุด สวนใดมีความหนาแนนนอยที่สุด
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2. ความหนาแนนของไขตมแตละสวนไมเทากัน เพราะเหตุใด
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
3. ถาทราบเฉพาะขอมูลความหนาแนน มวลและปริมาตรของไขตมแตละสวน จะหาความหนาแนนของ
ไขตมทั้งฟองไดอยางไร
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 5.1 การศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่ผานโครงสรางโลก
จุดประสงคกิจกรรม
แปลความหมายและอธิบายขอมูลการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนตามระดับความลึกของโครงสรางโลก
จากกราฟที่กําหนดให
วัสดุ-อุปกรณ
1. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนกับระดับความลึก จํานวน 2 รูป
2. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีการทํากิจกรรม
1. สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิจากกราฟ ในแตละ
ชวงระดับความลึก โดยพิจารณาในประเด็นตอไปนี้
- การเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นปฐมภูมิในแตละชวงระดับความลึก
- การเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นทุติยภูมิในแตละชวงระดับความลึก
- การปรากฏของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิที่แตละชวงระดับความลึก
2. นําผลการสังเกตจากขอที่ 1 มาวิเคราะหและอภิปรายถึงสาเหตุที่คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ
เปลี่ยนแปลงความเร็ว โดยเชื่อมโยงกับสถานะของตัวกลาง และสรุปแนวคิดการแบงชั้นโครงสรางโลก
3. จากขอ 2 ใหระบุและอธิบายสถานะของตัวกลางที่คลื่นแตละชนิดเคลื่อนที่ผานตามระดับความลึก
ตาง ๆ พรอมเหตุผลสนับสนุน
4. ระบุจํานวนชั้นโครงสรางโลกและสถานะของโครงสรางแตละชั้นตามความคิดของนักเรียน พรอมให
เหตุผลสนับสนุน
5. นําเสนอผลการทํากิจกรรมจากการวิเคราะหขอมูลในขอ 1-4
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 5.1
ตารางบันทึกผล .......................................................................................................................
ระดับความลึก
(กิโลเมตร)
การเปลี่ยนแปลงความเร็วของ สถานะของตัวกลาง
คลื่นทุติยภูมิ (คลื่น S) คลื่นปฐมภูมิ (คลื่น P)
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. กราฟที่กําหนดใหแสดงขอมูลเรื่องใดบาง
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. คลื่นไหวสะเทือนมีการเปลี่ยนแปลอยางไรบาง เมื่อเคลื่อนที่ไปตามระดับความลึกตางๆ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดคลื่นจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ณ ตําแหนงตาง ๆ ที่แตกตางกัน
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
4. ณ ที่ระดับความลึกใดบางที่เปนรอยตอของโครงสรางโลกแตละชั้น เพราะเหตุใด
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
5. จากรอยตอของโครงสรางโลกนั้น สามารถแบงโครงสรางโลกไดเปนกี่ชั้น
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
6. โครงสรางโลกแตละชั้นมีสถานะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทราบไดอยางไร
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
เอกสารประกอบกิจกรรม 5.2
รูป 1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนกับระดับความลึก
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
เอกสารประกอบกิจกรรม 5.2
รูป 2 ภาพขยายกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
กับระดับความลึกชวง 0-1,000 กิโลเมตร จากผิวโลก
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 6.1 การสํารวจหลักฐานสนับสนุนวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน
จุดประสงคกิจกรรม
อธิบายและสรางแบบจําลองหลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน
วัสดุ-อุปกรณ
1. แผนภาพแสดงตําแหนงหลักฐานซากดึกดําบรรพ กลุมหินและแนวเทือกเขา
2. แผนภาพแสดงหลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล
3. โครงรางแผนทวีป
4. ปากกาสีแตกตางกัน จํานวน 7 แทง
5. เอกสารความรู หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน
วิธีการทํากิจกรรม
1. ศึกษาหลักฐานตาง ๆ จากแผนภาพที่กําหนดให และวิเคราะหตามประเด็นตอไปนี้
- หลักฐานซากดึกดําบรรพและแหลงที่พบ
- หลักฐานกลุมหินและแนวเทือกเขาและแหลงที่พบ
- หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล
2. นําขอมูลที่วิเคราะหไดมาอธิบายแนวการเชื่อมตอระหวางแผนทวีป และนําเสนอโดยใช
โครงรางแผนทวีป
3. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 6.1
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. มีทวีปใดบางที่เคยอยูติดกันมากอน ทราบไดจากหลักฐานใดบาง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. หลักฐานซากดึกดําบรรพนํามาใชสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปไดอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. หลักฐานกลุมหินและแนวเทือกเขานํามาใชในการสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปไดอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
4. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งนํามาใชในการสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปได
อยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารความรูเรื่อง หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน
หลักฐานจากซากดึกดําบรรพ พบซากดึกดําบรรพของพืชและสัตว เชน ไซโนเนทัส
(Cynognathus) ลีสโทรซอรัส (Lystrosaurus) เปนสัตวเลื้อยคลานที่อาศัยอยูบนบก และ มีโซซอรัส
(Mesosaurus) เปนสัตวเลื้อยคลานที่อาศัยในน้ําจืด สัตวชนิดดังกลาวไมสามารถที่จะวายน้ําขาม
มหาสมุทรได กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) เปนพืชตระกูลสนมีเมล็ด ขยายพันธุโดยใชสปอรและเมล็ด
ถึงแมวาจะอาศัยลมชวยในการขยายพันธุโดยสปอรและเมล็ดสามารถลอยไปตามกระแสน้ําได แตก็ไม
สามารถขยายพันธุจากทวีปหนึ่งไปอีกทวีปหนึ่งได
ความคลายกันของกลุมหินและแนวภูเขา กลุมหินที่พบในทวีปดังรูป มีความคลายกันและมีอายุ
ใกลเคียงกัน (359 – 146 ลานป) รวมทั้งเกิดในสภาพแวดลอมเดียวกัน และยังพบวาแนวเทือกเขาแอป
พาเลเชียน (Appalachian Mountains) ในทวีปอเมริกาเหนือ และแนวเทือกเขาคาเลโดเนียน
(Caledonian Mountains) ในประเทศนอรเวย กรีนแลนด ไอรแลนด และอังกฤษ ซึ่งอยูบนสองฝงของ
มหาสมุทรแอตแลนติก มีกลุมหินที่คลายคลึงกันและมีชวงอายุเดียวกัน
หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล จากการที่นักวิทยาศาสตรไดศึกษาสภาพ
ภูมิอากาศบรรพกาลในบางทวีป ซึ่งในปจจุบันอยูในเขตรอนชื้นหรือเขตอบอุน พบวาในบางบริเวณของ
ทวีปเหลานั้นมีหลักฐานรอยครูดถูแสดงการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาลมีอายุระหวาง 280 ลานป
เมื่อนําขอบทวีปมาตอกัน พรอมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถู
บนหินฐานที่ธารน้ําแข็งเคลื่อนที่ผาน พบวาธารน้ําแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสูบริเวณอื่น ๆ ซึ่งคลายคลึงกับลักษณะการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งในทวีปแอนตารกติกาในปจจุบัน
จึงเปนสมมุติฐานวาทวีปดังกลาวเคยอยูติดกันใกลบริเวณขั้วโลกใตและมีพืดน้ําแข็งปกคลุม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรมเสนอแนะ การแผขยายของพื้นมหาสมุทร
วัตถุประสงคของกิจกรรม
อธิบายการแยกตัวของพื้นสมุทรจากหลักฐานทางธรณีวิทยา
วัสดุ-อุปกรณ
1. กระดาษแข็ง กวาง 18 เซนติเมตร ยาว 18 เซนติเมตร จํานวน 1 แผน (เจาะชองกลางกระดาษ
ยาว 3 เซนติเมตร)
2. แถบกระดาษสี กวาง 3 เซนติเมตร ยาว 24 เซนติเมตร 1 แผน
3. ภาพแผนทวีปอเมริกาใตและแอฟริกา
4. เทปใส/เทปกาวสองหนา
วิธีการทํากิจกรรม
1. การเตรียมแบบจําลอง
1.1 สรางแบบจําลองการแผขยายของพื้นมหาสมุทรโดยปฏิบัติดังนี้
1.2 กําหนดให แถบกระดาษ 3X24 เซนติเมตร แทนพื้นมหาสมุทร
แถบสีบนกระดาษแทนหินบะซอลตที่มีอายุตาง ๆ และ ชองกลางกระดาษแข็งแทนรอยแยก
บนพื้นมหาสมุทร
1.3 นําแถบกระดาษสีมาพับครึ่งโดยใหสวนที่เปนแถบสีตาง ๆ อยูดานใน จากนั้นสอดปลายแถบ
กระดาษทั้ง 2 ดานเขาใตกระดาษแข็ง ตรงบริเวณที่เจาะไว
1.4 ดึงแถบกระดาษสี ออกมาขางละ 2 แถบสี และติดรูปทวีปไวที่ปลายทั้งสองดาน ทั้งนี้ไมให
เกินสองแถบสี
2. ปฏิบัติกิจกรรม
2.1 คอย ๆ ดึงแผนทวีปจากปลายทั้งสองดานพรอมกัน โดยเลื่อนแถบกระดาษครั้งละ 1 ชอง
2.2 สังเกตการเรียงลําดับของแถบสี
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรมเสนอแนะ การแผขยายของพื้นมหาสมุทร
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. เมื่อดึงกระดาษจนสุด แถบกระดาษสีที่ถูกดึงออกมากอนจะอยูใกลหรือไกลจากรอยแยก
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. จากการสังเกตแถบกระดาษสี บริเวณใดนาจะพบหินอายุแกที่สุด และบริเวณใดนาจะพบหินอายุออน
ที่สุด
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. แบบจําลองนี้สามารนํามาอธิบายการแยกตัวของแผนทวีปไดอยางไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 6.2 การเคลื่อนที่ของแผนธรณี
จุดประสงคกิจกรรม
อธิบายสาเหตุที่ทําใหแผนธรณีเคลื่อนที่โดยใชแบบจําลอง
วัสดุ-อุปกรณ
1. น้ํามันพืช 700 มิลลิลิตร
2. แผนวัสดุเบา ลอยบนน้ํามันได และทนความรอน เชน แผนโฟมบาง ไมบัลซา ขนาด กวาง 3
เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร จํานวน 2 แผน
3. บีกเกอรขนาด 1,000 มิลลิลิตร จํานวน 1 ใบ
4. ผงวัสดุที่แขวนลอยอยูไดในน้ํามัน เชน ผงพริกปน ขี้เลื่อย
5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล 1 ชุด
6. แทงแกวคนสาร 1 แทง
7. ชอน 1 คัน
วิธีการทํากิจกรรม
1. ศึกษาวีดิทัศนเรื่อง การเคลื่อนที่ของแผนธรณี โดยกําหนดให ตะเกียงแอลกอฮอลแทนแกนโลก
น้ํามันแทนเนื้อโลก แผนโฟมแทนแผนธรณี
2. สังเกตและเปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของผงวัสดุกอนและหลังใหความรอนแกน้ํามัน
3. สังเกตการเคลื่อนที่ของแผนโฟมที่ลอยอยูบนน้ํามันที่รอน
4. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 6.2
สมมติฐาน ผลการทดลอง
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. เมื่อใหความรอนกับน้ํามัน น้ํามันและแผนโฟมมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. กิจกรรมนํามาอธิบายการเคลื่อนที่ของแผนธรณีไดอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 6.3 ทองโลกกวางตามหาธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี
จุดประสงคกิจกรรม
1. ระบุลักษณะธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี
2. เชื่อมโยงความสัมพันธของธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี กับการเคลื่อนที่รูปแบบตาง ๆ
ของแผนธรณี
วัสดุ-อุปกรณ
1. แผนที่ภูมิประเทศแสดงตําแหนงธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี
2. แผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนของแผนธรณี
3. ปากกาสีตางกัน จํานวน 3 แทง
4. เอกสารความรู เรื่องลักษณะของธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี
สถานการณ
"นักธรณีวิทยาไดสํารวจพบธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณีแบบตาง ๆ ดังตอไปนี้ สันเขากลาง
สมุทรแอตแลนติก หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง ประเทศญี่ปุน หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง รองลึกกนสมุทรมาเรียนา
แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และแนวเทือกเขาแอนดีส”
วิธีการทํากิจกรรม
1. ศึกษาเอกสารความรู เรื่องลักษณะของธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี และแผนที่ภูมิประเทศ
แสดงตําแหนงธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี
2. วิเคราะหความสัมพันธของตําแหนงธรณีสัณฐาน โครงสรางทางธรณี กับประเภทแนวรอยตอของ
แผนธรณี
3. ออกแบบและนําเสนอความสัมพันธของแนวรอยตอของแผนธรณีกับการเกิดธรณีสัณฐานหรือ
โครงสรางทางธรณีที่พบ โดยใชแผนที่ภูมิประเทศแสดงตําแหนงธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี
4. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 6.3
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. แนวรอยตอของแผนธรณีมีกี่แบบ มีลักษณะอยางไรบาง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. ที่บริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีแตละแบบ พบธรณีสัณฐานหรือโครงสรางทางธรณีแบบใดบาง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารความรูเรื่อง ธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี
ธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณีตาง ๆ ที่พบบนโลก เชน หุบเขาทรุด สันเขากลางสมุทร หมูเกาะ
ภูเขาไฟรูปโคง รองลึกกนสมุทร แนวเทือกเขาสูง เกิดขึ้นสัมพันธกับแนวรอยตอของแผนธรณีและทิศทางการ
เคลื่อนที่ในรูปแบบตาง ๆ ของแผนธรณี ดังนี้
หุบเขาทรุด เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นบริเวณแนวรอยตอระหวางแผนธรณีที่เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ซึ่งเกิดจากการแทรกดันของแมกมาจากฐานธรณีภาค ทําใหแผนธรณีแตกและทรุดตัวลง เกิดเปนหุบเขาทรุด
พบไดทั้งบนพื้นทวีปและพื้นมหาสมุทร ตัวอยางเชน หุบเขาทรุดแอฟริกาตะวันออก ทะเลแดง ทั้งสองที่ตั้งอยู
ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกา ซึ่งเปนแนวรอยตอของแผนธรณีอะราเบียน และแผนธรณีแอฟริกาที่เคลื่อนที่
แยกออกจากกัน ทําใหมีลักษณะคลายแองที่ตรงกลางมีรอยแตกและทรุดตัวลง สวนดานขางทั้งสองขางยืดออก
โดยมีความยาวครอบคลุมพื้นที่หลายพันกิโลเมตร รวมถึงบริเวณทะเลแดงดวย ดังรูป 1
รูป 1 หุบเขาทรุดแอฟริกาตะวันออก
สันเขากลางสมุทร เกิดจากการแทรกดันตัวของแมกมาบริเวณแนวรอยตอระหวางแผนธรณี
มหาสมุทรที่เคลื่อนที่แยกออกจากกัน ทําใหพื้นมหาสมุทรยกตัวเปนสันเขา ในขณะเดียวกันสวนบนของสันเขา
ยืดออกและบางลง ทําใหเกิดรอยแตกและทรุดตัวลง จึงพบหุบเขาทรุดเกิดรวมดวย ตัวอยางเชน สันเขากลาง
มหาสมุทรแอตแลนติก อยูกลางมหาสมุทรแอตแลนติกซึ่งเปนแนวแผนธรณีแยกตัวระหวางแผนอเมริกาเหนือกับแผน
ยูเรเซีย และแผนอเมริกาใตกับแผนแอฟริกา ทําใหเกิดเปนสันเขามีแนวยาวขนานไปกับรอยแยกกลางมหาสมุทร
แอตแลนติก ดังรูป2
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
รูป 2 สันเขากลางสมุทรแอตแลนติก
หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีมหาสมุทรที่
เคลื่อนที่เขาหากัน โดยที่แผนธรณีมหาสมุทรที่มีความหนาแนนมากกวา จะมุดตัวลงใตแผนธรณีมหาสมุทรที่
มีความหนาแนนนอยกวา เกิดการหลอมเหลวเปนแมกมาและเคลื่อนตัวขึ้นสูผิวโลกเปนหมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง
ในประเทศตาง ๆ ตัวอยางเชน หมูเกาะญี่ปุน ที่ตั้งอยูบริเวณฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งเปนแนว
รอยตอแผนธรณีเคลื่อนหากัน โดยที่แผนอเมริกาเหนือ แผนฟลิปปนส และแผนแปซิฟก เคลื่อนที่ เขาหาแผน
ยูเรเซีย ทําใหเกิดเปนแนวหมูเกาะภูเขาไฟที่เรียงตัวกันเปนรูปโคงตามแนวรอยตอของแผนธรณี สวนบริเวณที่
แผนธรณีมุดตัวลงใตแผนธรณีอีกแผนหนึ่ง มีลักษณะเปนรองลึกแนวยาวเรียกวา รองลึกกนสมุทร ตัวอยางเชน
รองลึกกนสมุทรญี่ปุน และรองลึกกนสมุทรมาเรียนา ดังรูป 3
รูป 3 หมูเกาะญี่ปุน รองลึกกนสมุทรญี่ปุน และรองลึกกนสมุทรมาเรียนา
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แนวภูเขาไฟรูปโคง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นสัมพันธกับแนวรอยตอของแผนธรณีมหาสมุทรและ
แผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน โดยที่แผนธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแนนมากกวามุดตัวลงใตแผนธรณี
ทวีปลงไปในฐานธรณีภาคเกิดการหลอมเหลวเปนแมกมาและเคลื่อนตัวขึ้นสูผิวโลกเปนแนวภูเขาไฟรูปโคง
ตัวอยางเชน แนวเทือกเขาแอนดีส ที่ตั้งอยูทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต ซึ่งเปนแนวรอยตอแผนธรณีเคลื่อน
เขาหากัน โดยที่แผนนาสคาเคลื่อนเขาหาและมุดตัวลงใตแผนอเมริกาใต ทําใหเกิดเปนแนวเทือกเขาที่เปน
ภูเขาไฟตลอดความยาวของแนวรอยตอ สวนบริเวณที่แผนธรณีมุดตัวลงใตแผนธรณีอีกแผนหนึ่ง มีลักษณะเปน
รองลึกแนวยาวเรียกวา รองลึกกนสมุทร ตัวอยางเชน รองลึกกนสมุทรเปรู-ชิลี ดังรูป 4
รูป 4 เทือกเขาแอนดีส และรองลึกกนสมุทรเปรู-ชิลี
แนวเทือกเขาสูง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นตามแนวรอยตอของแผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน โดย
ที่แผนธรณีทวีปที่มีความหนาแนนมากกวาบางสวนจะมุดลงสวนที่เหลือจะเกยกันและดันใหแผนธรณีทวีปที่อยู
ดานบนโกงตัวขึ้นเปนแนวเทือกเขาสูง เชน เทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเปนแนวเทือกเขาขนาดใหญครอบคลุมพื้นที่ 5
ประเทศ ไดแก เนปาล อินเดีย ภูฏาน จีน และปากีสถาน ตั้งอยูบริเวณแนวรอยตอแผนธรณีเคลื่อนหากันของ
แผนอินเดีย และแผนยูเรเซีย มีลักษณะเปนแนวเทือกเขาสูงแนวยาว ดังรูป 5
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
รูป 5 ทวีปอินเดีย และแนวเทือกเขาหิมาลัย
แนวรอยเลื่อนขนาดใหญ เปนโครงสรางทางธรณีที่เกิดขึ้นตามแนวรอยตอของแผนธรณีเคลื่อนที่ผาน
กันในแนวราบ ตัวอยางเชน แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส อยูทางฝงตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง
เปนบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีแปซิฟก และแผนอเมริกาเหนือที่เคลื่อนที่ผานกันในแนวราบ ดังรูป 6
รูป 6 รอยเลื่อนซานแอนเดรียส
ทิศทางการเคลื่อนที่
ของแผนธรณี
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 7.1 ความสัมพันธของตําแหนงการเกิดภูเขาไฟบนแผนธรณี
จุดประสงคกิจกรรม
1. วิเคราะหและระบุตําแหนงภูเขาไฟบนแผนธรณี
2. ระบุและอธิบายประเภทแนวรอยตอของแผนธรณีที่สัมพันธกับตําแหนงการเกิดภูเขาไฟ
วัสดุ-อุปกรณ
1. แผนที่แสดงตําแหนงภูเขาไฟที่พบ ณ บริเวณตางๆ บนโลก
2. แผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนของแผนธรณี
3. ปากกาสีตางกัน จํานวน 4 แทง
วิธีการทํากิจกรรม
1. พิจารณาแผนที่แสดงตําแหนงของภูเขาไฟที่พบ ณ บริเวณ ตาง ๆ บนโลก จากรายชื่อภูเขาไฟที่
กําหนดให และนํามาระบุลงบนแผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนที่ของแผน
ธรณี
2. นําขอมูลที่วิเคราะหไดจากขอ 1 บันทึกลงในตารางและตอบคําถามทายกิจกรรม
3. สรุปและนําเสนอผลการทํากิจกรรม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 7.1
ตารางบันทึกผล..............................................................................................................................
ชื่อภูเขาไฟและประเทศ บริเวณที่พบ
บน
แผนธรณี
แนวรอยตอของแผนธรณี
เคลื่อนที่เขาหากัน
ระหวาง
เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ระหวาง
เคลื่อนที่ผานกัน
ระหวาง
1.ภูเขาไฟฟูจิ
ประเทศญี่ปุน
2.ภูเขาไฟคาริมสกี
ประเทศรัสเซีย
3.ภูเขาไฟพาฟลอฟ
สหรัฐอเมริกา
4.ภูเขาไฟเซนตเฮเลน
สหรัฐอเมริกา
5.ภูเขาไฟเยลโลวสโตน
สหรัฐอเมริกา
6.ภูเขาไฟคิลาเว
เกาะฮาวาย สหรัฐอเมริกา
7.ภูเขาไฟโกลิมา
ประเทศเม็กซิโก
8.ภูเขาไฟคัลบูโก
ประเทศชิลี
9.ภูเขาไฟเฮกลา
ประเทศไอซแลนด
10. ภูเขาไฟเอตนา
ประเทศอิตาลี
11. ภูเขาไฟแคเมอรูน
ประเทศแคเมอรูน
12. ภูเขาไฟเออรตาอัลเล
ประเทศเอธิโอเปย
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
ชื่อภูเขาไฟและประเทศ บริเวณที่พบ
บน
แผนธรณี
แนวรอยตอของแผนธรณี
เคลื่อนที่เขาหากัน
ระหวาง
เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ระหวาง
เคลื่อนที่ผานกัน
ระหวาง
13. ภูเขาไฟกรากะตัว
ประเทศอินโดนีเซีย
14. ภูเขาไฟพินาตูโบ
ประเทศฟลิปปนส
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. ตําแหนงใดบางของแผนธรณีที่พบภูเขาไฟ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. แนวรอยตอของแผนธรณีแบบใดที่พบภูเขาไฟ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. แนวรอยตอของแผนธรณีแบบใดที่พบภูเขาไฟหนาแนน เพราะเหตุใด
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 7.2 กลไกการเกิดแผนดินไหว
จุดประสงคกิจกรรม
สังเกต อธิบายผลที่เกิดกับแผนไมเมื่อมีแรงมากระทํา
วัสดุ-อุปกรณ
ไมบัลซาร ขนาดประมาณ กวาง 3 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร หนา 0.3 เซนติเมตร 1 แผน
วิธีการทํากิจกรรม
1. ประคองแผนไมโดยวางมือไวบนโตะและใหแผนไมขนานกับพื้น ดังรูป
2. ใชมือสองขางคอย ๆ ดันแผนไมเขาหากันอยางชา ๆ พรอมสังเกต การเปลี่ยนแปลงลักษณะของ
แผนไม เสียง และการสั่นสะเทือนของแผนไม ตั้งแตเริ่มดันแผนไมจนกระทั่งแผนไมหัก สังเกตและ
บันทึกลงในตารางที่กําหนดให
3. สรุปและนําเสนอผลการทํากิจกรรม
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 7.2
สมมติฐาน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
ตารางบันทึกผล.......................................................................................................................
สิ่งที่สังเกต
ชวงการสังเกต
ลักษณะของแผนไม การสั่นสะเทือน เสียง
กอนดันแผนไม
ขณะดันแผนไม
ขณะที่แผนไมหัก
หลังจากแผนไมหัก
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. ชวงกอนดันแผนไม แผนไมมีลักษณะอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. ขณะดันแผนไมจนกระทั่งกอนแผนไมหัก แผนไมมีลักษณะอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. แผนไมที่หักออกจากกันมีลักษณะอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
4. เพราะเหตุใดแผนไมจึงหัก
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
5. ขณะที่แผนไมหัก มีสิ่งใดเกิดขึ้นบาง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 7.3 แบบจําลองการเกิดสึนามิ
จุดประสงคกิจกรรม
สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายกระบวนการเกิดสึนามิ
วัสดุ-อุปกรณ
1. ตูกระจก หรือกลองพลาสติก 1 ใบ กวาง 5 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร
2. น้ํา (ปริมาตรตามขนาดของตูหรือกลองพลาสติก)
3. ดินน้ํามันหรือวัสดุอื่นใชรองใหพื้นเอียง
4. แผนพลาสติกลูกฟูก
5. เชือก 2 เมตร (ใชขึงตามแนวระดับน้ําเพื่อชวยในการสังเกต และสําหรับรอยกับแผนพลาสติกลูกฟูก)
6. เทปผา 1 มวน
7. เทปใส 1 มวน
วิธีการทํากิจกรรม
1. จัดวางอุปกรณ ดังรูป
2. เทน้ําลงในตูใหสูงประมาณครึ่งหนึ่ง ของดานที่เอียงลง หรือเมื่อเอียงตูลงแลวใหน้ําทวมลึกเขาไป 2
ใน 3 สวนของความยาวตูจากนั้นใชเชือกขึงที่ดานขางของตูตามระดับน้ํา เพื่อทําเสนอางอิงระดับ
ผิวน้ํา ดังรูป
2. ดังปลายเชือกขึ้น ดังรูป และสังเกตการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําภายในตู
3. เสนอผลการทํากิจกรรม
น้ํา
ติดเทปกาว
ก ข
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 7.3
จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้
1. กอนยกแผนพลาสติกขึ้น สภาพของน้ําในตูเปนอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. ขณะที่ยกแผนพลาสติกขึ้นอยางรวดเร็วสภาพของน้ําในตู ที่บริเวณ ก และ ข เปนอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
สมมติฐาน
ผลการทดลอง
1 นิ้ว
1 นิ้ว
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
3. หลังจากยกแผนพลาสติกขึ้นและน้ําหยุดนิ่ง ระดับน้ําที่บริเวณ ก และ ข เปนอยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
4. หากเปรียบตูที่ใชในกิจกรรมเปนมหาสมุทร กําหนดใหบริเวณ ข เปรียบเปนบริเวณกลางมหาสมุทร
บริเวณ ก เปรียบไดกับบริเวณใด
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
5. ถาเปรียบแผนพลาสติกลูกฟูกเปนแผนธรณี ดังนั้นการยกแผนพลาสติกลูกฟูกเปรียบไดกับ
เหตุการณใด
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
กิจกรรม 7.4 แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย
จุดประสงคกิจกรรม
นําเสนอแนวทางการเฝาระวังและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย
วัสดุ-อุปกรณ
เอกสารความรูเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย
สถานการณ
สถานการณที่ 1
“ถานักเรียนและครอบครัวเดินทางทองเที่ยวไปประเทศที่มีภูเขาไฟ และจําเปนตองไปในพื้นที่เสี่ยงภัย
ภูเขาไฟระเบิด จะมีวิธีการเตรียมตัวอยางไรเมื่อเจอเหตุการณดังกลาว”
สถานการณที่ 2
“ถาเกิดแผนดินไหวขณะที่นักเรียนกําลังอยูในอาคารสูง และรูสึกถึงความสั่นสะเทือนโคมไฟบนเพดาน
เริ่มแกวงไปมา จะปฏิบัติตนอยางไรใหปลอดภัย”
สถานการณที่ 3
“ถานักเรียนเปนผูนําชุมชนแหงหนึ่งที่อยูบริเวณชายฝงทะเลที่เปนพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ จะมีการวางแผน
รับมือ เตือนภัย และใหความรูเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติตนใหแกประชาชนในชุมชนอยางไรบาง”
วิธีการทํากิจกรรม
1. รวมกันวิเคราะหสถานการณที่กําหนด
2. ออกแบบและนําเสนอ ดวยสื่อรูปแบบตาง ๆ เชน แผนพับ โปสเตอร บทบาทสมมุติ
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
แบบบันทึกกิจกรรม 7.4
ออกแบบการนําเสนอแนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.4
เอกสารความรู แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย
การเตรียมความพรอมกอนเกิดภูเขาไฟระเบิด
1. ศึกษาระบบการเตือนภัยและเสนทางอพยพของทองถิ่นอยูเสมอ
2. รวมกันวางแผนการอพยพและจุดนัดพบของตนเองและครอบครัว
3. เตรียมอุปกรณยังชีพ เชน ยา อาหาร น้ํา หนากากปองกันควัน แวนตากันฝุน วิทยุ ไฟฉาย
และแบตเตอรี่สํารอง
4. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องตน
5. ติดตามขาวสารอยูเสมอ
การปฏิบัติตนขณะเกิดภูเขาไฟระเบิด
1. พยายามควบคุมสติ อยาตื่นตระหนก
2. หากไมตองอพยพ ใหหลบอยูภายในอาคารที่ปดมิดชิด และใสเสื้อผาใหรัดกุมมากที่สุด และใชผาหรือ
หนากากปดปากและจมูกเพื่อปองกันฝุน
3. หากอยูในที่โลง ใหหลบเขาในอาคารหรือที่กําบังที่มิดชิดใหเร็วที่สุด และใชผาหรือหนากากปดปากและ
จมูกเพื่อปองกันฝุน
4. หลีกเลี่ยงอันตรายจากลาวาหลากโดยไมอยูบริเวณที่ต่ําหรือบริเวณที่เปนแอง
5. หลีกเลี่ยงอันตรายจากแกสโดยใหอยูบริเวณเหนือลม
6. หลีกเลี่ยงอันตรายจากโคลนถลมโดยอยูหางจากปลายแมน้ํา หรือชองหุบเขา
การปฏิบัติตนหลังเหตุการณภูเขาไฟระเบิด
1. ควรตรวจสอบตัวเองและบุคคลขางเคียงวาไดรับบาดเจ็บหรือไม และใหทําการปฐมพยาบาลเบื้องตน
2. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพื่อปองกันเศษแกว หรือวัสดุแหลมคมอื่นๆ และสิ่งหักพังซึ่งอาจทําใหไดรับ
บาดเจ็บ
3. เปดวิทยุฟงคําแนะนําฉุกเฉิน หลีกเลี่ยงการใชโทรศัพท นอกจากมีความจําเปน
4. อยาแพรขาวลือ
5. หากมีการอพยพ จะกลับเขาไปในพื้นที่เสี่ยงภัยไดเมื่อมีประกาศจากศูนยเตือนภัยใหกลับเขาพื้นที่ได
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
วิธีเฝาระวังและเตรียมรับมือกอนการเกิดแผนดินไหว
1. ศึกษาระบบการเตือนภัยและเสนทางอพยพของทองถิ่นอยูเสมอ
2. เตรียมอุปกรณยังชีพ เชน ยา อาหาร น้ํา วิทยุ ไฟฉายและแบตเตอรี่สํารอง และควรมีเครื่องมือดับเพลิงไวใน
บาน
3. ควรทราบตําแหนงของวาลวปดทอน้ํา สะพานไฟฟา สําหรับตัดกระแสไฟฟา
4. อยาวางสิ่งของหนักบนชั้น หรือหิ้งสูง ๆ เมื่อแผนดินไหวอาจตกลงมาเปนอันตรายได
5. ผูกเครื่องใชหนักๆ ใหแนนกับพื้นและผนังบาน
6. สรางอาคารบานเรือนใหเปนไปตามกฎเกณฑที่กําหนด หรือตรวจสอบสภาพโครงสรางของอาคารอยาง
สม่ําเสมอ
7. รวมกันวางแผนการอพยพและจุดนัดพบของตนเองและครอบครัว
8. ซักซอมการปฏิบัติตนใหปลอดภัยวาเมื่อเกิดเหตุแผนดินไหวขณะอยูในสถานที่ตาง ๆ จะปฏิบัติตนอยางไร
9. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องตน
10. ติดตามขาวสารอยูเสมอ
วิธีปฏิบัติระหวางเกิดแผนดินไหว
1. อยาตื่นตกใจ พยายามควบคุมสติอยูอยางสงบ
2. ถาอยูในบานใหหมอบใตโตะหรืออยูในสวนของบานที่มีโครงสรางแข็งแรง และใหอยูหางจากประตู หนาตาง
กระจก และระเบียง
3. ถาอยูในอาคารสูง ใหหมอบใตโตะหรืออยูในสวนที่มีโครงสรางแข็งแรง และใหอยูหางจากประตู หนาตาง
กระจก และระเบียง หลังจากแผนดินไหวหยุดแลวใหรีบออกจากอาคารโดยเร็ว
4. การหนีออกจากอาคารสูง หามใชลิฟทโดยเด็ดขาด
5. ถาอยูในที่โลงแจง ใหอยูหางจากอาคารสูง เสาไฟฟา และสิ่งหอยแขวนตางๆ
6. อยาใช เทียน ไมขีดไฟ หรือสิ่งที่ทําใหเกิดประกายไฟ เพราะอาจมีแกสรั่วอยูบริเวณนั้น
7. ถากําลังขับรถใหหยุดรถและอยูภายในรถ จนกวาการสั่นสะเทือนจะหยุด
8. ถาอยูบริเวณชายทะเลใหอยูหางจากชายฝง เพราะอาจเกิดสึนามิ
หลังเกิดแผนดินไหว
1. ควรสํารวจตัวเองและบุคคลขางเคียงวาไดรับบาดเจ็บหรือไม ใหทําการปฐมพยาบาลขั้นตนกอน
2. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพราะอาจมีเศษแกว หรือวัสดุแหลมคมอื่นๆ และสิ่งหักพัง
3. ตรวจสอบสภาพความเสียหายของบานและอาคาร
4. ตรวจสอบวามีแกสรั่วหรือไม ดวยการดมกลิ่นเทานั้น ถาแกสรั่วใหปดวาลวถังแกส เปดประตูหนาตางทุก
บาน อยาจุดไมขีดไฟ หรือกอไฟจนกวาจะแนใจวาไมมีแกสรั่ว
ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น
5. ถาสภาพบานและอาคารไมมีความแข็งแรงและปลอดภัย หรือมีโครงสรางที่เสียหาย ควรรีบอพยพไปยังจุด
นัดพบของตนเองและครอบครัวตามแผนที่วางไวทันที
6. ไมควรเขาไปในเขตที่มีความเสียหายสูง หรือบริเวณที่สายไฟขาด และวัสดุสายไฟพาดถึง
7. เปดวิทยุฟงคําแนะนําฉุกเฉิน อยาใชโทรศัพท นอกจากจําเปนจริง ๆ
8. อยาแพรขาวลือ
การเตรียมความพรอมกอนเกิดสึนามิ
1. ทําความเขาใจเกี่ยวกับสึนามิ วิธีการเตรียมรับมือ รวมทั้งใหความรูกับครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให
ปลอดภัยจากสึนามิ
2. ศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับการอพยพหนีภัย ปายแสดงเขตเสี่ยงภัย ปายแสดงเสนทางอพยพ
3. เตรียมชุดอุปกรณฉุกเฉิน ซึ่งควรประกอบดวย อาหาร น้ําดื่ม ยารักษาโรค และของใชอื่น ๆ ที่จําเปน
เชน อุปกรณใหแสงสวาง ชุดปฐมพยาบาล กระดาษชําระ สบู แปรงสีฟน ยาสีฟน เสื้อผาสํารอง
การปฏิบัติตนขณะเกิดสึนามิ
1. วิ่งหนีไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยควรหนีขึ้นที่สูง และอยาวิ่งหนีตามเสนทางที่ขนานไปกับชายฝง หากวิ่งหนี
ไปยังพื้นที่ปลอดภัยไมทันควรวิ่งขึ้นอาคารสูง หรืออาจปนขึ้นตนไมสูง
2. อยูในที่ที่ปลอดภัยจนกระทั่งแนใจวาปลอดภัย หรือมีประกาศจากศูนยเตือนภัยวาไมมีสึนามิแลว
3. ไมควรหลบอยูในรถยนต เนื่องจากคลื่นสามารถพัดพารถยนตไปได
4. ติดตามขาวสาร คําสั่ง และขอแนะนําอยางตอเนื่อง
5. ถาอยูบนเรือใหแลนเรือออกไปบริเวณน้ําลึก และลอยเรืออยูกลางทะเลจนกวาเหตุการณจะสงบลง หรือ
ติดตอสอบถามขอมูลจากทาเรือถึงความปลอดภัยกอนเดินทางกลับทาเรือ
การปฏิบัติตนภายหลังเกิดสึนามิ
1. ไมเขาไปในพื้นที่ที่แจงวาเปนพื้นที่อันตราย
2. ตรวจสอบสภาพของบาน และเครื่องใชไฟฟาใหแนใจวาปลอดภัยกอนนํากลับมาใชอีกครั้ง
3. ระมัดระวังโรคระบาดหลังเกิดสึนามิ

Contenu connexe

En vedette

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก

  • 1. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรมเสนอแนะ ความหนาแนนของไขตม จุดประสงคกิจกรรม ทดลองหาความหนาแนนของโครงสรางภายในของไข เพื่อเปรียบเทียบกับการหาความหนาแนนของ โครงสรางภายในโลก วัสดุ-อุปกรณ 1. ไขตม 1 ฟอง 2. น้ํา 1 ลิตร 3. ถวยยูรีกา 2 ใบ 4. บีกเกอรขนาด 100 มิลลิลิตร 4 ใบ 5. แกวพลาสติก 1 ใบ 6. กระบอกตวงขนาด 10 มิลลิลิตร 1 ใบ 25 มิลลิลิตร 1 ใบ 50 มิลลิลิตร 2 ใบ 7. เครื่องชั่ง 1 เครื่อง 8. ดาย 1 หลอด 9. กระดาษรองชั่ง 5 แผน 10. มีด 1 ดาม 11. ชอน 1 คัน 12. จานพลาสติก 1 ใบ 13. แบบบันทึกกิจกรรม วิธีการทํากิจกรรม 1. ชั่งมวลของไขตมทั้งฟอง เปลือกไข ไขขาว และไขแดง และหาปริมาตรดวยการแทนที่น้ํา ตามลําดับ 2. คํานวนความหนาแนนของไขตมทั้งฟอง เปลือกไข ไขขาว และไขแดง โดยใชสมการ ความหนาแนน = มวล/ปริมาตร และบันทึกผล 3. นําขอมูลมวลและปริมาตรของไขแตละสวน หาความหนาแนนของไขตมทั้งฟอง และบันทึกผล
  • 2. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรมเสนอแนะ ความหนาแนนของไขตม 1. ตั้งสมมติฐานโดยเรียงลําดับความหนาแนนของเปลือกไข ไขขาว และไขแดง จากมากไปหานอย ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 2. บันทึกผลการหาความหนาแนนของสวนประกอบของไข สวนประกอบของ ไข มวล (กรัม) ปริมาตร (มิลลิลิตร) ความหนาแนน (มวล/ปริมาตร) (กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร) ไขตม เปลือกไข ไขขาว ไขแดง 3. หาความหนาแนนของไขตมทั้งฟองจาก ขอมูลมวลและปริมาตรของสวนประกอบของไขตม (เปลือกไข ไขขาว ไขแดง) ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. สวนใดของไขตมมีความหนาแนนมากที่สุด สวนใดมีความหนาแนนนอยที่สุด ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 2. ความหนาแนนของไขตมแตละสวนไมเทากัน เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 3. ถาทราบเฉพาะขอมูลความหนาแนน มวลและปริมาตรของไขตมแตละสวน จะหาความหนาแนนของ ไขตมทั้งฟองไดอยางไร ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................
  • 3. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 5.1 การศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่ผานโครงสรางโลก จุดประสงคกิจกรรม แปลความหมายและอธิบายขอมูลการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนตามระดับความลึกของโครงสรางโลก จากกราฟที่กําหนดให วัสดุ-อุปกรณ 1. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนกับระดับความลึก จํานวน 2 รูป 2. แบบบันทึกกิจกรรม วิธีการทํากิจกรรม 1. สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิจากกราฟ ในแตละ ชวงระดับความลึก โดยพิจารณาในประเด็นตอไปนี้ - การเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นปฐมภูมิในแตละชวงระดับความลึก - การเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นทุติยภูมิในแตละชวงระดับความลึก - การปรากฏของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิที่แตละชวงระดับความลึก 2. นําผลการสังเกตจากขอที่ 1 มาวิเคราะหและอภิปรายถึงสาเหตุที่คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ เปลี่ยนแปลงความเร็ว โดยเชื่อมโยงกับสถานะของตัวกลาง และสรุปแนวคิดการแบงชั้นโครงสรางโลก 3. จากขอ 2 ใหระบุและอธิบายสถานะของตัวกลางที่คลื่นแตละชนิดเคลื่อนที่ผานตามระดับความลึก ตาง ๆ พรอมเหตุผลสนับสนุน 4. ระบุจํานวนชั้นโครงสรางโลกและสถานะของโครงสรางแตละชั้นตามความคิดของนักเรียน พรอมให เหตุผลสนับสนุน 5. นําเสนอผลการทํากิจกรรมจากการวิเคราะหขอมูลในขอ 1-4
  • 4. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 5.1 ตารางบันทึกผล ....................................................................................................................... ระดับความลึก (กิโลเมตร) การเปลี่ยนแปลงความเร็วของ สถานะของตัวกลาง คลื่นทุติยภูมิ (คลื่น S) คลื่นปฐมภูมิ (คลื่น P) จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. กราฟที่กําหนดใหแสดงขอมูลเรื่องใดบาง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. คลื่นไหวสะเทือนมีการเปลี่ยนแปลอยางไรบาง เมื่อเคลื่อนที่ไปตามระดับความลึกตางๆ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 3. เพราะเหตุใดคลื่นจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ณ ตําแหนงตาง ๆ ที่แตกตางกัน ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 4. ณ ที่ระดับความลึกใดบางที่เปนรอยตอของโครงสรางโลกแตละชั้น เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................
  • 5. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น 5. จากรอยตอของโครงสรางโลกนั้น สามารถแบงโครงสรางโลกไดเปนกี่ชั้น ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 6. โครงสรางโลกแตละชั้นมีสถานะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทราบไดอยางไร ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................
  • 7. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น เอกสารประกอบกิจกรรม 5.2 รูป 2 ภาพขยายกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน กับระดับความลึกชวง 0-1,000 กิโลเมตร จากผิวโลก
  • 8. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 6.1 การสํารวจหลักฐานสนับสนุนวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน จุดประสงคกิจกรรม อธิบายและสรางแบบจําลองหลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน วัสดุ-อุปกรณ 1. แผนภาพแสดงตําแหนงหลักฐานซากดึกดําบรรพ กลุมหินและแนวเทือกเขา 2. แผนภาพแสดงหลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล 3. โครงรางแผนทวีป 4. ปากกาสีแตกตางกัน จํานวน 7 แทง 5. เอกสารความรู หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน วิธีการทํากิจกรรม 1. ศึกษาหลักฐานตาง ๆ จากแผนภาพที่กําหนดให และวิเคราะหตามประเด็นตอไปนี้ - หลักฐานซากดึกดําบรรพและแหลงที่พบ - หลักฐานกลุมหินและแนวเทือกเขาและแหลงที่พบ - หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล 2. นําขอมูลที่วิเคราะหไดมาอธิบายแนวการเชื่อมตอระหวางแผนทวีป และนําเสนอโดยใช โครงรางแผนทวีป 3. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
  • 9. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 6.1 จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. มีทวีปใดบางที่เคยอยูติดกันมากอน ทราบไดจากหลักฐานใดบาง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. หลักฐานซากดึกดําบรรพนํามาใชสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปไดอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. หลักฐานกลุมหินและแนวเทือกเขานํามาใชในการสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปไดอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งนํามาใชในการสนับสนุนการเชื่อมตอของแผนทวีปได อยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 10. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1 เอกสารความรูเรื่อง หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน หลักฐานจากซากดึกดําบรรพ พบซากดึกดําบรรพของพืชและสัตว เชน ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทรซอรัส (Lystrosaurus) เปนสัตวเลื้อยคลานที่อาศัยอยูบนบก และ มีโซซอรัส (Mesosaurus) เปนสัตวเลื้อยคลานที่อาศัยในน้ําจืด สัตวชนิดดังกลาวไมสามารถที่จะวายน้ําขาม มหาสมุทรได กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) เปนพืชตระกูลสนมีเมล็ด ขยายพันธุโดยใชสปอรและเมล็ด ถึงแมวาจะอาศัยลมชวยในการขยายพันธุโดยสปอรและเมล็ดสามารถลอยไปตามกระแสน้ําได แตก็ไม สามารถขยายพันธุจากทวีปหนึ่งไปอีกทวีปหนึ่งได ความคลายกันของกลุมหินและแนวภูเขา กลุมหินที่พบในทวีปดังรูป มีความคลายกันและมีอายุ ใกลเคียงกัน (359 – 146 ลานป) รวมทั้งเกิดในสภาพแวดลอมเดียวกัน และยังพบวาแนวเทือกเขาแอป พาเลเชียน (Appalachian Mountains) ในทวีปอเมริกาเหนือ และแนวเทือกเขาคาเลโดเนียน (Caledonian Mountains) ในประเทศนอรเวย กรีนแลนด ไอรแลนด และอังกฤษ ซึ่งอยูบนสองฝงของ มหาสมุทรแอตแลนติก มีกลุมหินที่คลายคลึงกันและมีชวงอายุเดียวกัน หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาล จากการที่นักวิทยาศาสตรไดศึกษาสภาพ ภูมิอากาศบรรพกาลในบางทวีป ซึ่งในปจจุบันอยูในเขตรอนชื้นหรือเขตอบอุน พบวาในบางบริเวณของ ทวีปเหลานั้นมีหลักฐานรอยครูดถูแสดงการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาลมีอายุระหวาง 280 ลานป เมื่อนําขอบทวีปมาตอกัน พรอมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถู บนหินฐานที่ธารน้ําแข็งเคลื่อนที่ผาน พบวาธารน้ําแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป แอฟริกาไปสูบริเวณอื่น ๆ ซึ่งคลายคลึงกับลักษณะการเคลื่อนที่ของธารน้ําแข็งในทวีปแอนตารกติกาในปจจุบัน จึงเปนสมมุติฐานวาทวีปดังกลาวเคยอยูติดกันใกลบริเวณขั้วโลกใตและมีพืดน้ําแข็งปกคลุม
  • 11. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรมเสนอแนะ การแผขยายของพื้นมหาสมุทร วัตถุประสงคของกิจกรรม อธิบายการแยกตัวของพื้นสมุทรจากหลักฐานทางธรณีวิทยา วัสดุ-อุปกรณ 1. กระดาษแข็ง กวาง 18 เซนติเมตร ยาว 18 เซนติเมตร จํานวน 1 แผน (เจาะชองกลางกระดาษ ยาว 3 เซนติเมตร) 2. แถบกระดาษสี กวาง 3 เซนติเมตร ยาว 24 เซนติเมตร 1 แผน 3. ภาพแผนทวีปอเมริกาใตและแอฟริกา 4. เทปใส/เทปกาวสองหนา วิธีการทํากิจกรรม 1. การเตรียมแบบจําลอง 1.1 สรางแบบจําลองการแผขยายของพื้นมหาสมุทรโดยปฏิบัติดังนี้ 1.2 กําหนดให แถบกระดาษ 3X24 เซนติเมตร แทนพื้นมหาสมุทร แถบสีบนกระดาษแทนหินบะซอลตที่มีอายุตาง ๆ และ ชองกลางกระดาษแข็งแทนรอยแยก บนพื้นมหาสมุทร 1.3 นําแถบกระดาษสีมาพับครึ่งโดยใหสวนที่เปนแถบสีตาง ๆ อยูดานใน จากนั้นสอดปลายแถบ กระดาษทั้ง 2 ดานเขาใตกระดาษแข็ง ตรงบริเวณที่เจาะไว 1.4 ดึงแถบกระดาษสี ออกมาขางละ 2 แถบสี และติดรูปทวีปไวที่ปลายทั้งสองดาน ทั้งนี้ไมให เกินสองแถบสี 2. ปฏิบัติกิจกรรม 2.1 คอย ๆ ดึงแผนทวีปจากปลายทั้งสองดานพรอมกัน โดยเลื่อนแถบกระดาษครั้งละ 1 ชอง 2.2 สังเกตการเรียงลําดับของแถบสี
  • 12. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรมเสนอแนะ การแผขยายของพื้นมหาสมุทร จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. เมื่อดึงกระดาษจนสุด แถบกระดาษสีที่ถูกดึงออกมากอนจะอยูใกลหรือไกลจากรอยแยก .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. จากการสังเกตแถบกระดาษสี บริเวณใดนาจะพบหินอายุแกที่สุด และบริเวณใดนาจะพบหินอายุออน ที่สุด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. แบบจําลองนี้สามารนํามาอธิบายการแยกตัวของแผนทวีปไดอยางไร ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................
  • 13. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 6.2 การเคลื่อนที่ของแผนธรณี จุดประสงคกิจกรรม อธิบายสาเหตุที่ทําใหแผนธรณีเคลื่อนที่โดยใชแบบจําลอง วัสดุ-อุปกรณ 1. น้ํามันพืช 700 มิลลิลิตร 2. แผนวัสดุเบา ลอยบนน้ํามันได และทนความรอน เชน แผนโฟมบาง ไมบัลซา ขนาด กวาง 3 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร จํานวน 2 แผน 3. บีกเกอรขนาด 1,000 มิลลิลิตร จํานวน 1 ใบ 4. ผงวัสดุที่แขวนลอยอยูไดในน้ํามัน เชน ผงพริกปน ขี้เลื่อย 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล 1 ชุด 6. แทงแกวคนสาร 1 แทง 7. ชอน 1 คัน วิธีการทํากิจกรรม 1. ศึกษาวีดิทัศนเรื่อง การเคลื่อนที่ของแผนธรณี โดยกําหนดให ตะเกียงแอลกอฮอลแทนแกนโลก น้ํามันแทนเนื้อโลก แผนโฟมแทนแผนธรณี 2. สังเกตและเปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของผงวัสดุกอนและหลังใหความรอนแกน้ํามัน 3. สังเกตการเคลื่อนที่ของแผนโฟมที่ลอยอยูบนน้ํามันที่รอน 4. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
  • 14. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 6.2 สมมติฐาน ผลการทดลอง จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. เมื่อใหความรอนกับน้ํามัน น้ํามันและแผนโฟมมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. กิจกรรมนํามาอธิบายการเคลื่อนที่ของแผนธรณีไดอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 15. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 6.3 ทองโลกกวางตามหาธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี จุดประสงคกิจกรรม 1. ระบุลักษณะธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี 2. เชื่อมโยงความสัมพันธของธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี กับการเคลื่อนที่รูปแบบตาง ๆ ของแผนธรณี วัสดุ-อุปกรณ 1. แผนที่ภูมิประเทศแสดงตําแหนงธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี 2. แผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนของแผนธรณี 3. ปากกาสีตางกัน จํานวน 3 แทง 4. เอกสารความรู เรื่องลักษณะของธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี สถานการณ "นักธรณีวิทยาไดสํารวจพบธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณีแบบตาง ๆ ดังตอไปนี้ สันเขากลาง สมุทรแอตแลนติก หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง ประเทศญี่ปุน หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง รองลึกกนสมุทรมาเรียนา แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และแนวเทือกเขาแอนดีส” วิธีการทํากิจกรรม 1. ศึกษาเอกสารความรู เรื่องลักษณะของธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี และแผนที่ภูมิประเทศ แสดงตําแหนงธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณี 2. วิเคราะหความสัมพันธของตําแหนงธรณีสัณฐาน โครงสรางทางธรณี กับประเภทแนวรอยตอของ แผนธรณี 3. ออกแบบและนําเสนอความสัมพันธของแนวรอยตอของแผนธรณีกับการเกิดธรณีสัณฐานหรือ โครงสรางทางธรณีที่พบ โดยใชแผนที่ภูมิประเทศแสดงตําแหนงธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี 4. อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
  • 16. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 6.3 จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. แนวรอยตอของแผนธรณีมีกี่แบบ มีลักษณะอยางไรบาง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. ที่บริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีแตละแบบ พบธรณีสัณฐานหรือโครงสรางทางธรณีแบบใดบาง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 17. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3 เอกสารความรูเรื่อง ธรณีสัณฐาน และโครงสรางทางธรณี ธรณีสัณฐานและโครงสรางทางธรณีตาง ๆ ที่พบบนโลก เชน หุบเขาทรุด สันเขากลางสมุทร หมูเกาะ ภูเขาไฟรูปโคง รองลึกกนสมุทร แนวเทือกเขาสูง เกิดขึ้นสัมพันธกับแนวรอยตอของแผนธรณีและทิศทางการ เคลื่อนที่ในรูปแบบตาง ๆ ของแผนธรณี ดังนี้ หุบเขาทรุด เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นบริเวณแนวรอยตอระหวางแผนธรณีที่เคลื่อนที่แยกออกจากกัน ซึ่งเกิดจากการแทรกดันของแมกมาจากฐานธรณีภาค ทําใหแผนธรณีแตกและทรุดตัวลง เกิดเปนหุบเขาทรุด พบไดทั้งบนพื้นทวีปและพื้นมหาสมุทร ตัวอยางเชน หุบเขาทรุดแอฟริกาตะวันออก ทะเลแดง ทั้งสองที่ตั้งอยู ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกา ซึ่งเปนแนวรอยตอของแผนธรณีอะราเบียน และแผนธรณีแอฟริกาที่เคลื่อนที่ แยกออกจากกัน ทําใหมีลักษณะคลายแองที่ตรงกลางมีรอยแตกและทรุดตัวลง สวนดานขางทั้งสองขางยืดออก โดยมีความยาวครอบคลุมพื้นที่หลายพันกิโลเมตร รวมถึงบริเวณทะเลแดงดวย ดังรูป 1 รูป 1 หุบเขาทรุดแอฟริกาตะวันออก สันเขากลางสมุทร เกิดจากการแทรกดันตัวของแมกมาบริเวณแนวรอยตอระหวางแผนธรณี มหาสมุทรที่เคลื่อนที่แยกออกจากกัน ทําใหพื้นมหาสมุทรยกตัวเปนสันเขา ในขณะเดียวกันสวนบนของสันเขา ยืดออกและบางลง ทําใหเกิดรอยแตกและทรุดตัวลง จึงพบหุบเขาทรุดเกิดรวมดวย ตัวอยางเชน สันเขากลาง มหาสมุทรแอตแลนติก อยูกลางมหาสมุทรแอตแลนติกซึ่งเปนแนวแผนธรณีแยกตัวระหวางแผนอเมริกาเหนือกับแผน ยูเรเซีย และแผนอเมริกาใตกับแผนแอฟริกา ทําใหเกิดเปนสันเขามีแนวยาวขนานไปกับรอยแยกกลางมหาสมุทร แอตแลนติก ดังรูป2
  • 18. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น รูป 2 สันเขากลางสมุทรแอตแลนติก หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีมหาสมุทรที่ เคลื่อนที่เขาหากัน โดยที่แผนธรณีมหาสมุทรที่มีความหนาแนนมากกวา จะมุดตัวลงใตแผนธรณีมหาสมุทรที่ มีความหนาแนนนอยกวา เกิดการหลอมเหลวเปนแมกมาและเคลื่อนตัวขึ้นสูผิวโลกเปนหมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง ในประเทศตาง ๆ ตัวอยางเชน หมูเกาะญี่ปุน ที่ตั้งอยูบริเวณฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งเปนแนว รอยตอแผนธรณีเคลื่อนหากัน โดยที่แผนอเมริกาเหนือ แผนฟลิปปนส และแผนแปซิฟก เคลื่อนที่ เขาหาแผน ยูเรเซีย ทําใหเกิดเปนแนวหมูเกาะภูเขาไฟที่เรียงตัวกันเปนรูปโคงตามแนวรอยตอของแผนธรณี สวนบริเวณที่ แผนธรณีมุดตัวลงใตแผนธรณีอีกแผนหนึ่ง มีลักษณะเปนรองลึกแนวยาวเรียกวา รองลึกกนสมุทร ตัวอยางเชน รองลึกกนสมุทรญี่ปุน และรองลึกกนสมุทรมาเรียนา ดังรูป 3 รูป 3 หมูเกาะญี่ปุน รองลึกกนสมุทรญี่ปุน และรองลึกกนสมุทรมาเรียนา
  • 19. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แนวภูเขาไฟรูปโคง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นสัมพันธกับแนวรอยตอของแผนธรณีมหาสมุทรและ แผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน โดยที่แผนธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแนนมากกวามุดตัวลงใตแผนธรณี ทวีปลงไปในฐานธรณีภาคเกิดการหลอมเหลวเปนแมกมาและเคลื่อนตัวขึ้นสูผิวโลกเปนแนวภูเขาไฟรูปโคง ตัวอยางเชน แนวเทือกเขาแอนดีส ที่ตั้งอยูทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต ซึ่งเปนแนวรอยตอแผนธรณีเคลื่อน เขาหากัน โดยที่แผนนาสคาเคลื่อนเขาหาและมุดตัวลงใตแผนอเมริกาใต ทําใหเกิดเปนแนวเทือกเขาที่เปน ภูเขาไฟตลอดความยาวของแนวรอยตอ สวนบริเวณที่แผนธรณีมุดตัวลงใตแผนธรณีอีกแผนหนึ่ง มีลักษณะเปน รองลึกแนวยาวเรียกวา รองลึกกนสมุทร ตัวอยางเชน รองลึกกนสมุทรเปรู-ชิลี ดังรูป 4 รูป 4 เทือกเขาแอนดีส และรองลึกกนสมุทรเปรู-ชิลี แนวเทือกเขาสูง เปนธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นตามแนวรอยตอของแผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน โดย ที่แผนธรณีทวีปที่มีความหนาแนนมากกวาบางสวนจะมุดลงสวนที่เหลือจะเกยกันและดันใหแผนธรณีทวีปที่อยู ดานบนโกงตัวขึ้นเปนแนวเทือกเขาสูง เชน เทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเปนแนวเทือกเขาขนาดใหญครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศ ไดแก เนปาล อินเดีย ภูฏาน จีน และปากีสถาน ตั้งอยูบริเวณแนวรอยตอแผนธรณีเคลื่อนหากันของ แผนอินเดีย และแผนยูเรเซีย มีลักษณะเปนแนวเทือกเขาสูงแนวยาว ดังรูป 5
  • 20. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น รูป 5 ทวีปอินเดีย และแนวเทือกเขาหิมาลัย แนวรอยเลื่อนขนาดใหญ เปนโครงสรางทางธรณีที่เกิดขึ้นตามแนวรอยตอของแผนธรณีเคลื่อนที่ผาน กันในแนวราบ ตัวอยางเชน แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส อยูทางฝงตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง เปนบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณีแปซิฟก และแผนอเมริกาเหนือที่เคลื่อนที่ผานกันในแนวราบ ดังรูป 6 รูป 6 รอยเลื่อนซานแอนเดรียส ทิศทางการเคลื่อนที่ ของแผนธรณี
  • 21. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 7.1 ความสัมพันธของตําแหนงการเกิดภูเขาไฟบนแผนธรณี จุดประสงคกิจกรรม 1. วิเคราะหและระบุตําแหนงภูเขาไฟบนแผนธรณี 2. ระบุและอธิบายประเภทแนวรอยตอของแผนธรณีที่สัมพันธกับตําแหนงการเกิดภูเขาไฟ วัสดุ-อุปกรณ 1. แผนที่แสดงตําแหนงภูเขาไฟที่พบ ณ บริเวณตางๆ บนโลก 2. แผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนของแผนธรณี 3. ปากกาสีตางกัน จํานวน 4 แทง วิธีการทํากิจกรรม 1. พิจารณาแผนที่แสดงตําแหนงของภูเขาไฟที่พบ ณ บริเวณ ตาง ๆ บนโลก จากรายชื่อภูเขาไฟที่ กําหนดให และนํามาระบุลงบนแผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลื่อนที่ของแผน ธรณี 2. นําขอมูลที่วิเคราะหไดจากขอ 1 บันทึกลงในตารางและตอบคําถามทายกิจกรรม 3. สรุปและนําเสนอผลการทํากิจกรรม
  • 22. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 7.1 ตารางบันทึกผล.............................................................................................................................. ชื่อภูเขาไฟและประเทศ บริเวณที่พบ บน แผนธรณี แนวรอยตอของแผนธรณี เคลื่อนที่เขาหากัน ระหวาง เคลื่อนที่แยกออกจากกัน ระหวาง เคลื่อนที่ผานกัน ระหวาง 1.ภูเขาไฟฟูจิ ประเทศญี่ปุน 2.ภูเขาไฟคาริมสกี ประเทศรัสเซีย 3.ภูเขาไฟพาฟลอฟ สหรัฐอเมริกา 4.ภูเขาไฟเซนตเฮเลน สหรัฐอเมริกา 5.ภูเขาไฟเยลโลวสโตน สหรัฐอเมริกา 6.ภูเขาไฟคิลาเว เกาะฮาวาย สหรัฐอเมริกา 7.ภูเขาไฟโกลิมา ประเทศเม็กซิโก 8.ภูเขาไฟคัลบูโก ประเทศชิลี 9.ภูเขาไฟเฮกลา ประเทศไอซแลนด 10. ภูเขาไฟเอตนา ประเทศอิตาลี 11. ภูเขาไฟแคเมอรูน ประเทศแคเมอรูน 12. ภูเขาไฟเออรตาอัลเล ประเทศเอธิโอเปย
  • 23. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น ชื่อภูเขาไฟและประเทศ บริเวณที่พบ บน แผนธรณี แนวรอยตอของแผนธรณี เคลื่อนที่เขาหากัน ระหวาง เคลื่อนที่แยกออกจากกัน ระหวาง เคลื่อนที่ผานกัน ระหวาง 13. ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย 14. ภูเขาไฟพินาตูโบ ประเทศฟลิปปนส จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. ตําแหนงใดบางของแผนธรณีที่พบภูเขาไฟ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. แนวรอยตอของแผนธรณีแบบใดที่พบภูเขาไฟ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. แนวรอยตอของแผนธรณีแบบใดที่พบภูเขาไฟหนาแนน เพราะเหตุใด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 24. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 7.2 กลไกการเกิดแผนดินไหว จุดประสงคกิจกรรม สังเกต อธิบายผลที่เกิดกับแผนไมเมื่อมีแรงมากระทํา วัสดุ-อุปกรณ ไมบัลซาร ขนาดประมาณ กวาง 3 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร หนา 0.3 เซนติเมตร 1 แผน วิธีการทํากิจกรรม 1. ประคองแผนไมโดยวางมือไวบนโตะและใหแผนไมขนานกับพื้น ดังรูป 2. ใชมือสองขางคอย ๆ ดันแผนไมเขาหากันอยางชา ๆ พรอมสังเกต การเปลี่ยนแปลงลักษณะของ แผนไม เสียง และการสั่นสะเทือนของแผนไม ตั้งแตเริ่มดันแผนไมจนกระทั่งแผนไมหัก สังเกตและ บันทึกลงในตารางที่กําหนดให 3. สรุปและนําเสนอผลการทํากิจกรรม
  • 25. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 7.2 สมมติฐาน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ตารางบันทึกผล....................................................................................................................... สิ่งที่สังเกต ชวงการสังเกต ลักษณะของแผนไม การสั่นสะเทือน เสียง กอนดันแผนไม ขณะดันแผนไม ขณะที่แผนไมหัก หลังจากแผนไมหัก จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. ชวงกอนดันแผนไม แผนไมมีลักษณะอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. ขณะดันแผนไมจนกระทั่งกอนแผนไมหัก แผนไมมีลักษณะอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. แผนไมที่หักออกจากกันมีลักษณะอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. เพราะเหตุใดแผนไมจึงหัก .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 5. ขณะที่แผนไมหัก มีสิ่งใดเกิดขึ้นบาง .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 26. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 7.3 แบบจําลองการเกิดสึนามิ จุดประสงคกิจกรรม สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายกระบวนการเกิดสึนามิ วัสดุ-อุปกรณ 1. ตูกระจก หรือกลองพลาสติก 1 ใบ กวาง 5 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร 2. น้ํา (ปริมาตรตามขนาดของตูหรือกลองพลาสติก) 3. ดินน้ํามันหรือวัสดุอื่นใชรองใหพื้นเอียง 4. แผนพลาสติกลูกฟูก 5. เชือก 2 เมตร (ใชขึงตามแนวระดับน้ําเพื่อชวยในการสังเกต และสําหรับรอยกับแผนพลาสติกลูกฟูก) 6. เทปผา 1 มวน 7. เทปใส 1 มวน วิธีการทํากิจกรรม 1. จัดวางอุปกรณ ดังรูป 2. เทน้ําลงในตูใหสูงประมาณครึ่งหนึ่ง ของดานที่เอียงลง หรือเมื่อเอียงตูลงแลวใหน้ําทวมลึกเขาไป 2 ใน 3 สวนของความยาวตูจากนั้นใชเชือกขึงที่ดานขางของตูตามระดับน้ํา เพื่อทําเสนอางอิงระดับ ผิวน้ํา ดังรูป 2. ดังปลายเชือกขึ้น ดังรูป และสังเกตการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําภายในตู 3. เสนอผลการทํากิจกรรม น้ํา ติดเทปกาว ก ข
  • 27. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น แบบบันทึกกิจกรรม 7.3 จากกิจกรรม ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. กอนยกแผนพลาสติกขึ้น สภาพของน้ําในตูเปนอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. ขณะที่ยกแผนพลาสติกขึ้นอยางรวดเร็วสภาพของน้ําในตู ที่บริเวณ ก และ ข เปนอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... สมมติฐาน ผลการทดลอง 1 นิ้ว 1 นิ้ว
  • 28. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น 3. หลังจากยกแผนพลาสติกขึ้นและน้ําหยุดนิ่ง ระดับน้ําที่บริเวณ ก และ ข เปนอยางไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. หากเปรียบตูที่ใชในกิจกรรมเปนมหาสมุทร กําหนดใหบริเวณ ข เปรียบเปนบริเวณกลางมหาสมุทร บริเวณ ก เปรียบไดกับบริเวณใด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 5. ถาเปรียบแผนพลาสติกลูกฟูกเปนแผนธรณี ดังนั้นการยกแผนพลาสติกลูกฟูกเปรียบไดกับ เหตุการณใด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 29. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น กิจกรรม 7.4 แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย จุดประสงคกิจกรรม นําเสนอแนวทางการเฝาระวังและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย วัสดุ-อุปกรณ เอกสารความรูเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย สถานการณ สถานการณที่ 1 “ถานักเรียนและครอบครัวเดินทางทองเที่ยวไปประเทศที่มีภูเขาไฟ และจําเปนตองไปในพื้นที่เสี่ยงภัย ภูเขาไฟระเบิด จะมีวิธีการเตรียมตัวอยางไรเมื่อเจอเหตุการณดังกลาว” สถานการณที่ 2 “ถาเกิดแผนดินไหวขณะที่นักเรียนกําลังอยูในอาคารสูง และรูสึกถึงความสั่นสะเทือนโคมไฟบนเพดาน เริ่มแกวงไปมา จะปฏิบัติตนอยางไรใหปลอดภัย” สถานการณที่ 3 “ถานักเรียนเปนผูนําชุมชนแหงหนึ่งที่อยูบริเวณชายฝงทะเลที่เปนพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ จะมีการวางแผน รับมือ เตือนภัย และใหความรูเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติตนใหแกประชาชนในชุมชนอยางไรบาง” วิธีการทํากิจกรรม 1. รวมกันวิเคราะหสถานการณที่กําหนด 2. ออกแบบและนําเสนอ ดวยสื่อรูปแบบตาง ๆ เชน แผนพับ โปสเตอร บทบาทสมมุติ
  • 31. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น เอกสารประกอบกิจกรรม 7.4 เอกสารความรู แนวทางการปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย การเตรียมความพรอมกอนเกิดภูเขาไฟระเบิด 1. ศึกษาระบบการเตือนภัยและเสนทางอพยพของทองถิ่นอยูเสมอ 2. รวมกันวางแผนการอพยพและจุดนัดพบของตนเองและครอบครัว 3. เตรียมอุปกรณยังชีพ เชน ยา อาหาร น้ํา หนากากปองกันควัน แวนตากันฝุน วิทยุ ไฟฉาย และแบตเตอรี่สํารอง 4. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องตน 5. ติดตามขาวสารอยูเสมอ การปฏิบัติตนขณะเกิดภูเขาไฟระเบิด 1. พยายามควบคุมสติ อยาตื่นตระหนก 2. หากไมตองอพยพ ใหหลบอยูภายในอาคารที่ปดมิดชิด และใสเสื้อผาใหรัดกุมมากที่สุด และใชผาหรือ หนากากปดปากและจมูกเพื่อปองกันฝุน 3. หากอยูในที่โลง ใหหลบเขาในอาคารหรือที่กําบังที่มิดชิดใหเร็วที่สุด และใชผาหรือหนากากปดปากและ จมูกเพื่อปองกันฝุน 4. หลีกเลี่ยงอันตรายจากลาวาหลากโดยไมอยูบริเวณที่ต่ําหรือบริเวณที่เปนแอง 5. หลีกเลี่ยงอันตรายจากแกสโดยใหอยูบริเวณเหนือลม 6. หลีกเลี่ยงอันตรายจากโคลนถลมโดยอยูหางจากปลายแมน้ํา หรือชองหุบเขา การปฏิบัติตนหลังเหตุการณภูเขาไฟระเบิด 1. ควรตรวจสอบตัวเองและบุคคลขางเคียงวาไดรับบาดเจ็บหรือไม และใหทําการปฐมพยาบาลเบื้องตน 2. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพื่อปองกันเศษแกว หรือวัสดุแหลมคมอื่นๆ และสิ่งหักพังซึ่งอาจทําใหไดรับ บาดเจ็บ 3. เปดวิทยุฟงคําแนะนําฉุกเฉิน หลีกเลี่ยงการใชโทรศัพท นอกจากมีความจําเปน 4. อยาแพรขาวลือ 5. หากมีการอพยพ จะกลับเขาไปในพื้นที่เสี่ยงภัยไดเมื่อมีประกาศจากศูนยเตือนภัยใหกลับเขาพื้นที่ได
  • 32. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น วิธีเฝาระวังและเตรียมรับมือกอนการเกิดแผนดินไหว 1. ศึกษาระบบการเตือนภัยและเสนทางอพยพของทองถิ่นอยูเสมอ 2. เตรียมอุปกรณยังชีพ เชน ยา อาหาร น้ํา วิทยุ ไฟฉายและแบตเตอรี่สํารอง และควรมีเครื่องมือดับเพลิงไวใน บาน 3. ควรทราบตําแหนงของวาลวปดทอน้ํา สะพานไฟฟา สําหรับตัดกระแสไฟฟา 4. อยาวางสิ่งของหนักบนชั้น หรือหิ้งสูง ๆ เมื่อแผนดินไหวอาจตกลงมาเปนอันตรายได 5. ผูกเครื่องใชหนักๆ ใหแนนกับพื้นและผนังบาน 6. สรางอาคารบานเรือนใหเปนไปตามกฎเกณฑที่กําหนด หรือตรวจสอบสภาพโครงสรางของอาคารอยาง สม่ําเสมอ 7. รวมกันวางแผนการอพยพและจุดนัดพบของตนเองและครอบครัว 8. ซักซอมการปฏิบัติตนใหปลอดภัยวาเมื่อเกิดเหตุแผนดินไหวขณะอยูในสถานที่ตาง ๆ จะปฏิบัติตนอยางไร 9. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องตน 10. ติดตามขาวสารอยูเสมอ วิธีปฏิบัติระหวางเกิดแผนดินไหว 1. อยาตื่นตกใจ พยายามควบคุมสติอยูอยางสงบ 2. ถาอยูในบานใหหมอบใตโตะหรืออยูในสวนของบานที่มีโครงสรางแข็งแรง และใหอยูหางจากประตู หนาตาง กระจก และระเบียง 3. ถาอยูในอาคารสูง ใหหมอบใตโตะหรืออยูในสวนที่มีโครงสรางแข็งแรง และใหอยูหางจากประตู หนาตาง กระจก และระเบียง หลังจากแผนดินไหวหยุดแลวใหรีบออกจากอาคารโดยเร็ว 4. การหนีออกจากอาคารสูง หามใชลิฟทโดยเด็ดขาด 5. ถาอยูในที่โลงแจง ใหอยูหางจากอาคารสูง เสาไฟฟา และสิ่งหอยแขวนตางๆ 6. อยาใช เทียน ไมขีดไฟ หรือสิ่งที่ทําใหเกิดประกายไฟ เพราะอาจมีแกสรั่วอยูบริเวณนั้น 7. ถากําลังขับรถใหหยุดรถและอยูภายในรถ จนกวาการสั่นสะเทือนจะหยุด 8. ถาอยูบริเวณชายทะเลใหอยูหางจากชายฝง เพราะอาจเกิดสึนามิ หลังเกิดแผนดินไหว 1. ควรสํารวจตัวเองและบุคคลขางเคียงวาไดรับบาดเจ็บหรือไม ใหทําการปฐมพยาบาลขั้นตนกอน 2. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพราะอาจมีเศษแกว หรือวัสดุแหลมคมอื่นๆ และสิ่งหักพัง 3. ตรวจสอบสภาพความเสียหายของบานและอาคาร 4. ตรวจสอบวามีแกสรั่วหรือไม ดวยการดมกลิ่นเทานั้น ถาแกสรั่วใหปดวาลวถังแกส เปดประตูหนาตางทุก บาน อยาจุดไมขีดไฟ หรือกอไฟจนกวาจะแนใจวาไมมีแกสรั่ว
  • 33. ลิขสิทธิ์สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) อนุญาตใหใชเพื่อการจัดการเรียนรูเทานั้น 5. ถาสภาพบานและอาคารไมมีความแข็งแรงและปลอดภัย หรือมีโครงสรางที่เสียหาย ควรรีบอพยพไปยังจุด นัดพบของตนเองและครอบครัวตามแผนที่วางไวทันที 6. ไมควรเขาไปในเขตที่มีความเสียหายสูง หรือบริเวณที่สายไฟขาด และวัสดุสายไฟพาดถึง 7. เปดวิทยุฟงคําแนะนําฉุกเฉิน อยาใชโทรศัพท นอกจากจําเปนจริง ๆ 8. อยาแพรขาวลือ การเตรียมความพรอมกอนเกิดสึนามิ 1. ทําความเขาใจเกี่ยวกับสึนามิ วิธีการเตรียมรับมือ รวมทั้งใหความรูกับครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให ปลอดภัยจากสึนามิ 2. ศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับการอพยพหนีภัย ปายแสดงเขตเสี่ยงภัย ปายแสดงเสนทางอพยพ 3. เตรียมชุดอุปกรณฉุกเฉิน ซึ่งควรประกอบดวย อาหาร น้ําดื่ม ยารักษาโรค และของใชอื่น ๆ ที่จําเปน เชน อุปกรณใหแสงสวาง ชุดปฐมพยาบาล กระดาษชําระ สบู แปรงสีฟน ยาสีฟน เสื้อผาสํารอง การปฏิบัติตนขณะเกิดสึนามิ 1. วิ่งหนีไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยควรหนีขึ้นที่สูง และอยาวิ่งหนีตามเสนทางที่ขนานไปกับชายฝง หากวิ่งหนี ไปยังพื้นที่ปลอดภัยไมทันควรวิ่งขึ้นอาคารสูง หรืออาจปนขึ้นตนไมสูง 2. อยูในที่ที่ปลอดภัยจนกระทั่งแนใจวาปลอดภัย หรือมีประกาศจากศูนยเตือนภัยวาไมมีสึนามิแลว 3. ไมควรหลบอยูในรถยนต เนื่องจากคลื่นสามารถพัดพารถยนตไปได 4. ติดตามขาวสาร คําสั่ง และขอแนะนําอยางตอเนื่อง 5. ถาอยูบนเรือใหแลนเรือออกไปบริเวณน้ําลึก และลอยเรืออยูกลางทะเลจนกวาเหตุการณจะสงบลง หรือ ติดตอสอบถามขอมูลจากทาเรือถึงความปลอดภัยกอนเดินทางกลับทาเรือ การปฏิบัติตนภายหลังเกิดสึนามิ 1. ไมเขาไปในพื้นที่ที่แจงวาเปนพื้นที่อันตราย 2. ตรวจสอบสภาพของบาน และเครื่องใชไฟฟาใหแนใจวาปลอดภัยกอนนํากลับมาใชอีกครั้ง 3. ระมัดระวังโรคระบาดหลังเกิดสึนามิ