SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
(Plate Tectonics)
1. แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ในต้นศตวรรษที่ 19 มีนักวิทยาศาสตร์ได้ เสนอ
แนวคิดว่าในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ ของ
โลกไม่ได้มีตาแหน่งเหมือนเช่นในปัจจุบัน แต่เคย
เชื่ อมต่ อเป็ นแผ่ นดินผืนเดียวกัน มาก่ อน
นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งที่เสนอแนวความคิด
ข้างต้น คือ อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener)
ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ ของโลกไม่ได้มีตาแหน่งเหมือนเช่นในปัจจุบัน แต่เคยเชื่อมต่อ
เป็นแผ่นดินผืนเดียวกันมาก่อน
หลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดเรื่อง “ในอดีตทวีปทั้งหมดเคยเป็นแผ่นดินเดียวกัน”
1. หลักฐานจากรูปร่างขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกมีขอบที่ต่อกันได้
2. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
3. หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
4. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
1. หลักฐานจากรูปร่างขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกมีขอบที่ต่อกันได้
สาหรับเวเกเนอร์ หลักฐานแรกที่นามาใช้ คือรูปร่างของ
ขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบที่ต่อกัน แนว
ชายฝั่งในปัจจุบันอาจต่อกันได้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากการ
กร่อนและการสะสมตัวของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อย
ล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบ ของลาด
ทวีปจะพบว่าทวีปต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อกันได้
สมบูรณ์มากขึ้น
2. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์
เช่น กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) มีโซซอรัส
(Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทร
ซอรัส (Lystrosauria) บนทวีปอเมริกาใต้ ทวีป
แอฟริกา ทวีปแอนตาร์กติกา ทวีปออสเตรเลียและ
ประเทศอินเดีย ซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ต่าง ๆ ดังกล่าวอยู่
ห่างกันมาก และมีมหาสมุทรคั่นอยู่ ดังนั้นโอกาสที่
พืชและสัตว์ ดังกล่าวข้ามถิ่นฐานระหว่างทวีปนั้น
เป็ นไปได้ยาก นักวิทยาศาสตร์จึงนามาใช้เป็ น
หลักฐานประกอบ ว่าในอดีตทวีปดังกล่าวเคยอยู่
ติดกันมาก่อน
กลอสโซพเทรีส
มีโซซอรัส
ไซโนเนทัส
ลีสโทรซอรัส
3. หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
เมื่อพิจารณาหลักฐานทางด้านธรณีวิทยาและธรณีกาล
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาชนิดหินและกลุ่มหินตามแนวเทือกเขา
แอปพาเลเซียน (Appalachian mountains) ในทวีปอเมริกา
เหนือ และแนวเทือกเขาคาเลโดเนียน (Caledonian mountain )
ในประเทศนอร์เวย์ กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ ซึ่งอยู่บน
สองฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก พบว่าแนวเทือกเขาทั้งสองมี
กลุ่มหินเดียวกันและมีช่วงอายุเดียวกันประมาณ 200 ล้านปี และ
เมื่อนาขอบของลาดทวีปมาเชื่อมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขาทั้ง
สองวางตัวอยู่เป็น แนวเทือกเขาเดียวกัน
4. หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
จากการที่นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวีป
ออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ และประเทศอินเดีย ซึ่งใน
ปัจจุบันอยู่ในเขตร้อนขึ้นหรือเขตอบอุ่นพบว่าในบางบริเวณของทวีป
เหล่านั้นมีหลักฐานรอยครูด แสดงการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพ
กาลในช่วงอายุ 280 ล้านปี และเมื่อนาขอบ ทวีปมาต่อกัน พร้อมกับ
พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถู
บนหินฐานที่ธารน้าแข็งเคลื่อนที่ผ่าน พบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการ
เคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป แอฟริกาไปสู่บริเวณอื่น ซึ่งคล้ายคลึงกับ
ลักษณะการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา ในปัจจุบัน
จึงเป็นสมมุติฐานว่าทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันใกล้บริเวณขั้วโลกใต้และ
มีพืดน้าแข็งปกคลุม
หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของ
ธารน้าแข็งบรรพกาล
จากหลักฐานต่ าง ๆ
ข้างต้น อัลเฟรด เวเกเนอร์ จึง
สรุปเป็ น ทฤษฎีทวีปเลื่อน
(continental drift) ที่กล่าวว่า ใน
อดีตโลกมีแผ่นทวีปเพียงแผ่น
เดียวที่เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)
จากนั้นจึงมีการแยกตัวและ
เคลื่อนที่ออกจากกันเป็นทวีปต่าง
ๆ ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
พันเจีย เป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
กล่าวคือ เป็นมหาทวีปคลุมพื้นที่จากซีกโลกเหนือถึงซีก
โลกใต้และล้อมรอบด้วย มหาสมุทรพันทาลัสซา
(Panthalassa) ประกอบด้วยแผ่นดินส่วนใหญ่ที่อยู่
เหนือเส้นศูนย์สูตร เรียกว่า ลอเรเซีย (Laurasia)
ประกอบด้วยอเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ ยุโรป และเอเชีย
(ยกเว้นดินเดีย) และแผ่นดินส่วนใหญ่ที่อยู่ใต้เส้นศูนย์
สูตร เรียกว่า กอนด์วานา (Gondwana) ประกอบด้วย
อเมริกาใต้ แอฟริกา แอนตาร์ติกา ออสเตรเลีย และ
มาดากัสการ์
2. แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
พื้นมหาสมุทรมีการขยายตัวโดยมีหลักฐานต่าง
ๆ สนับสนุน ซึ่งเริ่มจากแฮรี่ แฮมมอนด์ เฮส
(Harry Hammond Hess) ได้สารวจพบการ
เหลื่อมกันของสันเขาที่เป็ นแนวยาวบริเวณ
ตอนกลางของพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้
เกิดแนวคิดว่าพื้นมหาสมุทรมีการเคลื่อนที่ทา
ให้สันเขาที่ควรเชื่อมต่อกันเหลื่อมออกจากกัน
จากการศึกษาในระยะต่อมาได้พบหลักฐานต่าง
ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดดังกล่าว
หลักฐานต่าง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดการแผ่ขยายพื้นสมุทร
(1) สันเขากลางสมุทร (mid-oceanic ridge) เกิดจากการแทรกตัวขึ้นมาของลาวาตามรอยแยก
กลางมหาสมุทร ทาให้มีลักษณะเป็นสันเขาที่มีฐานกว้างมากเมื่อเทียบกับความสูง โดยที่บริเวณส่วนยอด
ของสันเขามีรอยแตกและรอยเลื่อน การแทรกดันของลาวาในบริเวณดังกล่าวจะดันให้บริเวณส่วนกลาง
เทือกเขากลางสมุทรของแผ่นธรณีมหาสมุทร เคลื่อนที่ออกจากกัน
หลักฐานต่าง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดการแผ่ขยายพื้นสมุทร
(2) อายุของหินบะซอลต์บนพื้นมหาสมุทร ที่พื้นมหาสมุทรพบว่า หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอย
แยกบริเวณสันเขากลางสมุทรมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยู่ใกล้รอยแยกบริเวณสันเขากลางสมุทร เกิด
จากลาวาจากส่วนล่างแทรกดันขึ้นมาทาให้ธรณีภาคในบริเวณนั้นเกิดรอยแยกและเกิดการเคลื่อนตัวออก
จากกัน เมื่อลาวาเย็นตัวลงเป็ นหินบะซอลต์ทาให้เกิดเป็ นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่ และทาให้พื้น
มหาสมุทร ขยายตัว
หลักฐานต่าง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดการแผ่ขยายพื้นสมุทร
(3) ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล (paleomagnetism) เป็นร่องรอยของสนามแม่เหล็กโลกในอดีตที่อยู่
ในหินที่เกิดจากการแข็งตัวของลาวา ซึ่งในขณะที่ลาวากาลังเย็นตัวกลายเป็นหิน แร่ประกอบหินในลาวา
ที่ตอบสนองกับสนามแม่เหล็กได้จะถูกเหนี่ยวนาให้วางตัวตามทิศทางของสนามแม่เหล็กโลก ในช่วง
เวลานั้น ๆ ซึ่งภายหลังจากการแข็งตัวของลาวาแล้ว การวางตัวนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงตามสนามแม่เหล็ก
โลกในเวลาต่อมา
จากการศึกษาหินบะซอลต์บริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทรแอตแลนติกที่มีอายุเท่ากันเป็นรูปแบบ
สมมาตรทั้งสองฝั่งตามแนวรอยแยกกลางสันเขากลางสมุทร พบว่าแร่ประกอบหินใน หินบะซอลต์ที่
มีอายุเดียวกันทั้งสองข้างของรอยแยกนั้น แสดงทิศของสนามแม่เหล็กโลกเหมือนกัน แสดงว่าหินบะ
ซอลต์ที่ทั้งสองข้างของรอยแยกที่มีอายุเดียวกัน และมีทิศของสนามแม่เหล็กโลก เหมือนกันนั้น
เกิดขึ้นพร้อมกันแล้วถูกแยกออกจากกัน
บริเวณที่เกิดหินบะซอลต์ที่ถูก
เหนี่ยวนาโดยขั้วแม่เหล็กปกติ
บริเวณที่เกิดหินบะซอลต์ที่ถูก
เหนี่ยวนาโดยขั้วแม่เหล็กสลับ
ขั้วกับปัจุบัน
บริเวณที่เกิดหินบะซอลต์ที่ถูก
เหนี่ยวนาโดยขั้วแม่เหล็กปกติ
จากหลักฐานที่กล่าวมาข้างต้นทาให้สามารถสรุปได้เป็ นทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
(Sea-floor spreading) ที่กล่าวว่า พื้นมหาสมุทรมีการเคลื่อนที่และขยายตัวออกเนื่องจาก
การแทรกดันของลาวาขึ้นมาตามรอยแยกของพื้นมหาสมุทรและแข็งตัวกลายเป็ นหิน
บะซอลต์ ทาให้เกิดเป็นพื้นมหาสมุทรใหม่
3. การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics)
การเคลื่อนที่ของทวีปและพื้นมหาสมุทรจึงมีความเกี่ยวข้องกับธรณีภาค โดยรอยแยกที่เกิดขึ้นบน
พื้นมหาสมุทร เป็นรอยแตกใน ธรณีภาคซึ่งทาให้ธรณีภาคแตกออกเป็นแผ่นย่อย ๆ เรียกว่า แผ่นธรณี
(plate หรือ lithospheric plate) แผ่นธรณีแต่ละแผ่นอาจรองรับทั้งพื้นมหาสมุทรและพื้นทวีป แผ่น
ธรณีที่สาคัญในปัจจุบัน เช่น แผ่นยูเรเซีย แผ่นแปซิฟิก แผ่นอินเดีย-ออสเตรเลีย แผ่นอเมริกาเหนือ
แผ่นอเมริกาใต้ แผ่นแอฟริกา แผ่นแอนตาร์กติกา
แผ่นธรณี
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
แผ่นธรณีเคลื่อนที่ได้เนื่องจากกระบวนการ
พาความร้อนภายในโลก โดยกระบวนการนี้
เกิดจากความร้อนจากแก่นโลกที่ส่งผ่านเนื้อ
โลกตอนล่างมาถึงเนื้อโลกตอนบน เมื่อเนื้อ
โลกตอนบนสูญ เสียความร้อนบางส่วนให้กับ
ธรณีภาค อุณหภูมิของเนื้อโลกตอนบนจึงลด
ต่าลง และไหลวนลงสู่ด้านล่าง กลับมารับ
พลังงานความร้อนเพิ่มจากแก่นโลกอีกครั้ง
เกิดการเคลื่อนที่หมุนวนจนเป็นวงจรเรียกว่า
วงจรการพาความร้อน (convection cell)
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics)
การเคลื่อนที่และการเปลี่ยนแปลงลักษณะ เช่น ขนาด ตาแหน่งของแผ่นธรณี เกิดขึ้นโดยมีวงจรการพา
ความร้อนภายในโลกเป็ นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนให้แผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่ของ แผ่นธรณีนอกจากจะส่งผลต่อการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของทวีปและมหาสมุทร
แล้ว ยังส่งผลต่อธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
รูปแบบของแนวรอยต่อของแผ่นธรณี
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ คือ
1. แนวแผ่นธรณีแยกตัว (divergent plate boundary)
2. แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน (convergent plate boundary)
3. แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ (transform plate boundary)
โดยแต่ละรูปแบบส่งผลทาให้เกิดธรณีสัณฐาน และ โครงสร้างทางธรณีที่แตกต่างกัน
แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน
แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แนวแผ่นธรณีแยกตัว (divergent plate boundary)
หุบเขาทรุด
สันเขากลางสมุทร
การแทรกดันตัวของแมกมาจากฐานธรณีภาคทาให้แผ่นธรณีโก่ง
ตัวขึ้นเป็ นสันเขากลางสมุทร ส่วนบนจะยืดออกและบางลง
พร้อมกับเกิดรอยแตกและทรุดตัวลงเกิดได้ทั้งบนทวีป และกลาง
มหาสมุทร เช่น สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน (convergent plate boundary)
1. แผ่นธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่ามุดลงใต้แผ่นดินธรณีทวีป ลง
ไปในฐานธรณีภาคเกิดการหลอมเหลวเป็นแมกมาและเคลื่อนตัวขึ้นสู่ผิวโลก
บริเวณที่แผ่นธรณีมุดตัวลง เรียก เขตมุดตัว แล้วเกิดเป็นร่องลึกก้นสมุทร แนว
ภูเขาชายฝั่ง หรือแนวภูเขาไฟรูปโค้ง (volcanic arc) เช่น เทือกเขาแอนดีส
2. แผ่นธรณีมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่า จะมุดลงใต้แผ่นธรณีอีกแผ่น
เกิดหลอมเหลวเป็นแมกมาเคลื่อนที่ขึ้นสู่ผิวโลก เกิดเป็นหมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง
(island arc) ส่วนบริเวณเขตมุดตัวเกิดเป็นร่องลึกก้นมหาสมุทร (trench) เช่น หมู่
เกาะภูเขาไฟรูปโค้งที่ญี่ปุ่น หรือร่องลึกก้นสมุทรญี่ปุ่น
3. เมื่อแผ่นธรณีทวีปชนกัน แผ่นธรณีทวีปที่มีความหนาแน่นมากกว่าบางส่วน
จะมุดลงส่วนที่เหลือจะเกยกันและดันให้ธรณีทวีปที่อยู่ด้านบนโก่งตัวขึ้น เช่น
เทือกเขาหิมาลัย
หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้งที่ญี่ปุ่น / ร่องลึกก้นสมุทรญี่ปุ่น
แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ (transform plate boundary)
แผ่นธรณีสองแผ่นเคลื่อนที่ผ่านกันในแนวราบ เกิดได้ทั้งมหาสมุทรและบนทวีป ทาให้เกิดแนวรอยเลื่อน
ขนาดใหญ่ เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรียส รอยเลือดอัลไพน์ รอยเลื่อนบริเวณสันเขากลางสมุทร
รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัส (San Andreas Fault) เป็นรอยเลื่อนที่
พาดผ่านรัฐแคลิฟอร์เนีย ทางภาคตะวันตกของสหรัฐอเมริกา
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีทั้ง 3 รูปแบบ นอกจากจะทาให้เกิดธรณีสัณฐานและโครงสร้างทาง ธรณี
แบบต่าง ๆ ตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีแล้ว ยังทาให้เกิดการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน
เกิดเป็ นโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ อีก เช่น รอยคดโค้งหรือชั้นหินคดโค้ง (fold) รอยเลื่อน
(fault) ซึ่งเกิดขึ้นได้ทั้งที่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และบริเวณภายในแผ่นธรณีที่
ผลกระทบของแรงส่งไปถึง
รอยคดโค้งหรือชั้นหินคดโค้ง (fold)
กระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ทาให้เกิดแรงต่าง ๆ กระทาต่อหินในชั้นเปลือกโลก ส่งผลให้เกิด
ความเค้นในชั้นหิน ซึ่งความเค้นนี้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง และ/หรือปริมาตรของหิน และ
ทาให้หินอยู่ในภาวะความเครียด (strain condition) โดยปกติแล้วความเค้นที่กระทาต่อหินจะไม่
เท่ากันทุกทิศทาง และสามารถแยกความเค้นได้เป็น 3 ชนิด
• ความเค้นดึง (tensional stress)
• ความเค้นบีบอัด (compressional stress)
• ความเค้นเฉือน (shear stress)
ความเค้นดึง (tensional stress)
ความเค้นบีบอัด (compressional stress)
ความเค้นเฉือน
(shear stress)
ความเค้นที่กระทาต่อชั้นหินทาให้หินเปลี่ยน
ลักษณะได้แตกต่างกัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะของหินขึ้นอยู่กับชนิดของความเค้น
ที่มากระทา อุณหภูมิ ระยะเวลา และอัตราของ
ความเค้น ที่มากระทารวมถึงสมบัติของหิน ชั้น
หินจะเกิดรอยแตกและรอยเลื่อน
รอยเลื่อน
รอยเลื่อน
รอยเลื่อน (fault) เป็นโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากชั้นหินที่สมบัติแข็งเกร็งและเปราะถูก แรงเค้นมากระทา
จนแตกและเคลื่อนที่ตามระนาบรอยแตก ซึ่งสามารถจาแนกรอยเลื่อนออกได้เป็ น 3 ประเภทหลักตาม
ลักษณะความเค้นที่มากระทา คือ
1. รอยเลื่อนปกติ (normal fault) เป็ นรอยเลื่อนที่มี
การเคลื่อนที่ตามแนวมุมเทของระนาบรอยเลื่อน
โดยที่หินเพดาน (hanging-wall block) มีการ
เคลื่อนที่ลง เมื่อเทียบกับหินพื้น (footwall block) ที่
มีการเคลื่อนที่ขึ้นเป็นผลมาจากความเค้นดึง
2. รอยเลื่อนย้อน (reverse fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตาม
แนวมุมเทของระนาบ รอยเลื่อนเช่นเดียวกับรอยเลื่อนปกติ แต่
ทิศทางการเคลื่อนจะกลับกัน กล่าวคือหินเพดานจะเคลื่อนที่ ขึ้นเมื่อ
เทียบกับหินพื้น ถ้ารอยเลื่อนย้อนมีมุมเอียงเทต่ากว่าหรือเท่ากับ 45
องศา จะมีชื่อเรียกเฉพาะว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่า (thrust fault) ซึ่ง
รอยเลื่อนทั้งสองแบบเป็นผลมาจากความเค้นบีบอัด
3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault) เป็นรอยเลื่อนที่
มีการเคลื่อนที่ในแนวระดับ เป็นผลมาจากความเค้นเฉือน
นอกจากนี้ยังมีรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ผสมกันทั้งตามแนวเอียงเทของระนาบรอยเลื่อนและ ใน
แนวระดับของระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า รอยเลื่อนเฉียง (oblique fault) ซึ่งเป็นผลมาจากความ
เค้นที่มากระทาในหลายทิศทาง
ชั้นหินคด ในกรณีที่มีความเค้นบีบอัดมากระทากับชั้นหินที่มีสภาพพลาสติก จะทาให้เกิด
โครงสร้างทางธรณีที่เรียกว่าชั้นหินคดโค้ง ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน (anticline) เป็ นการโค้งงอของระนาบชั้นหิน คล้ายรูป
ประทุน หรือ สะพานโค้งเมื่อมองจากด้านหน้าตัดที่ตั้งฉากกับแกนชั้นหินคตโค้ง (fold
axis) หินที่มีอายุมากกว่า จะอยู่บริเวณส่วนกลางของแกนขั้นหินคดโค้งและชั้นหินที่อยู่
บริเวณโดยรอบแนวแกนชั้นหินคดโค้งจะมีมุมเทเอียงออกจากกันทั้งสองด้าน
ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline) เป็นการโค้งงอของชั้นหินคล้ายรูปตัวยู
หินที่มีอายุน้อยสุดจะอยู่บริเวณส่วนกลางของแนวคดโค้ง และชั้นหินที่อยู่บริเวณ
โดยรอบแนวแกนคดโค้งจะมีมุมเทเอียงเข้าหาแกนชั้นหินคดโค้งทั้งสองด้าน ใน
ธรรมชาติอาจพบชั้นหินคดโค้งทั้งสอง เกิดร่วมกันและจะใช้ส่วนข้างของชั้นหินคดโค้ง
(limb) ร่วมกัน
ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย
บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
(Plate Tectonics)

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 

Tendances (20)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 

Similaire à โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกMoukung'z Cazino
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงochestero
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคbear2536001
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 

Similaire à โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (17)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 

Plus de soysuwanyuennan

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1soysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 

Plus de soysuwanyuennan (8)

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี