SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Télécharger pour lire hors ligne
หนวยการเรียนรูที่ 1
                                   เรื่อง เศษสวนและทศนิยม
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
        ศิลปะ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ
1. มาตรฐานการเรียนรู
        มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 6.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
        ค 1.1 ม.1/1, 2 ค 1.2 ม.1/2 ค 6.1 ม.1/1, 2
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 ทบทวนเศษสวนและทศนิยม
   3.2 การบวกและการลบเศษสวน
   3.3 การคูณและการหารเศษสวน
   3.4 การบวก ลบ คูณ หารเศษสวนระคน
   3.5 โจทยปญหาเศษสวน
   3.6 ทศนิยม
   3.7 คาประจําหลักของทศนิยม
   3.8 คาสัมบูรณของทศนิยม
   3.9 การเปรียบเทียบทศนิยม
   3.10 การเปลี่ยนหนวย
   3.11 การบวกและการลบทศนิยม
   3.12 การคูณและการหารทศนิยม
   3.13 ความสัมพันธของเศษสวนและทศนิยม
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-18 และแบบฝกหัด 1-13
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
        3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน
        2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกจกรรมกลุม
                                       ิ
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                      2

 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

                                                              แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                     บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
     1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ            - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง       - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น
        ความเขาใจ 1-18 และแบบ          - แนะการทํากิจกรรมตรวจสอบ            เรียน
        ฝกหัด 1-13                       ความเขาใจและแบบฝกหัด           - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ
     2) การทํากิจกรรมกลุม              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน          แบบฝกหัด
     3) การทํากิจกรรมบูรณาการ             แตละเรื่อง                      - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
    1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น
                ั                       - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป     - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียนและการใชบริการหอง           ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา      ประจําหนวย
       สมุดของโรงเรียนอยาง               ประจําหนวย                      - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง
       เหมาะสม                          - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง     สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ          สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม        การเรียนรูคณิตศาสตร
       กิจกรรมกลุม                     - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา   - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย
                                          กิจกรรมกลุม                       และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง            - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง    - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
    การเรียน                              ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                          ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                    3

                                               แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                         เรื่อง ทบทวนเศษสวนและทศนิยม
                                                   เวลา 1 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
       เขาใจความหมายของคําวาเศษสวนไดอยางถูกตอง
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
       เขาใจความหมายของคําวาเศษสวนไดอยางถูกตอง

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       เศษสวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
                        
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                               4

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        1) นักเรียนเขาใจความหมายของเศษสวน
        2) นักเรียนรูวิธีเขียนเศษสวนบนเสนจํานวน

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถกตอง 80% ขึ้นไป
                 ู
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ครูทบทวนความหมายของเศษสวนโดยใหนักเรียนดูภาพตอไปนี้บนกระดาน (ใหนกเรียนดูทีละภาพ)
                                                                          ั

         1)


         2)



         3)



         4)



        แลวสนทนาซักถามกับนักเรียนวาสามารถเขียนเปนเศษสวนแทนสวนที่แรเงาไดอยางไร ใหนกเรียนชวย
                                                                                         ั
กันอธิบาย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                   5

    5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
1. ครูยกตัวอยางปญหาขึ้นมา 1 ปญหา เชน มีแตงโม 1 ลูก ตองการแบงใหเด็ก 3 คน     ทักษะการคิดวิเคราะห
คนละเทาๆ กัน จะมีวิธีการทําไดอยางไร ใหนักเรียนชวยกันเสนอวิธการหาคําตอบ
                                                                 ี
2. ครูกลาวถึงปญหาที่ใหนักเรียนชวยกันคิดขางตน โดยการซักถามนักเรียน ดังนี้     ทักษะการคิดวิเคราะห
   - จะตองนําแตงโมลูกนั้นมาแบงออกเปนกี่สวน (3 สวน)
   - แตงโม 1 ลูก จะตองแบงออกเปน 3 สวน ที่มีขนาดเทากันใชหรือไม (ใช)
   - แลวใหเด็กหยิบไปคนละ 1 ชิ้น ใชหรือไม (ใช)
   - จํานวนชิ้นของแตงโมที่เด็กแตละคนไดรับเขียนเปนเศษสวนไดอยางไร ( 1 )
                                                                           3
3. ครูและนักเรียนชวยกันบอกความหมายของเศษสวน โดยครูเปนผูซักถามจนไดคํา          ทักษะการคิดสรุปความ
ตอบวา
    เศษสวน คือจํานวนที่เขียนในรูป a เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0
                                       b
เรียก a วา ตัวเศษ และเรียก b วา ตัวสวน
4. ครูเขียนเสนจํานวนบนกระดาน จากนั้นสนทนาซักถามกับนักเรียนวารูจักหรือไม        ทักษะการคิดวิเคราะห
ใชสาหรับทําอะไร ใหนักเรียนสังเกตเสนจํานวนที่บอกตําแหนงของเศษสวนคือ 1 ,
      ํ                                                                            ทักษะการคิดสรุปความ
                                                                               3
 2
 3

                             0      1      2     1            2
                                    3      3
   ครูสรุปวา เศษสวนสามารถแสดงดวยจุดบนเสนจํานวนได
    a คือการแบงความยาว 1 หนวย บนเสนจํานวนออกเปน b สวนเทาๆ กัน
    b
5. ครูเขียนเสนจํานวนบนกระดาน ใหนักเรียนบอกเศษสวนที่จุด A, B, C และ D            ทักษะการคิดวิเคราะห
                           A      B      C D
         –1             0              1             2                3
  จากรูป แบงระยะจาก 0 ถึง 1 ออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน
  จุด A อยูหางจาก 0 เปนระยะ 1 สวน จาก 4 สวน จะได A = 1
                                                            4
  จุด B อยูหางจาก 0 เปนระยะ 3 สวน จาก 4 สวน จะได B =
                                                          3
                                                           4
  จุด C อยูหางจาก 1 เปนระยะ 1 สวน จาก 4 สวน จะได C = 1 1
                                                             4
  จุด D อยูหางจาก 1 เปนระยะ 3 สวน จาก 4 สวน จะได D = 1 3
                                                              4
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                        6

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
6. ครูกําหนดเศษสวนทั้งที่เปนบวกและลบ ใหนกเรียนแสดงเศษสวนบนเสนจํานวน ทักษะการคิดสรุปความ
                                                ั
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา บนเสนจํานวน เศษสวนที่อยูทางขวาของ 0 เปน
เศษสวนที่เปนบวกและเศษสวนที่อยูทางซายของ 0 เปนเศษสวนที่เปนลบ และเศษสวน
ที่อยูทางขวาจะมีคามากกวาเศษสวนที่อยูทางซายเสมอ
7. ครูใชเสนจํานวนอธิบายความหมายของจํานวนตรงขาม จากนั้นสรุปวา
   ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a คือ –a
เชน 1 เปนจํานวนตรงขามของ − 1
            5                          5
            3 เปนจํานวนตรงขามของ − 3
            8                          8
           2                          ⎛ 2⎞ 2
         − เปนจํานวนตรงขามของ − ⎜ − ⎟ =
           3                          ⎝ 3⎠ 3
           4                          ⎛ 4⎞ 4
         − เปนจํานวนตรงขามของ − ⎜ − ⎟ =
           7                          ⎝ 7⎠ 7

    5.3 ขั้นสรุป
        ครูและนักเรียนรวมกันสรุปในประเด็นตอไปนี้
        1. ความหมายของเศษสวน
        2. หลักในการเขียนเศษสวนบนเสนจํานวน
        3. จํานวนตรงขาม

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
        - กระดาษรูปภาพ (ควรเปนแบบมีสีเพื่อใหนักเรียนสนใจ)
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                             7

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                        8

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                     9

                                                แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                            เรื่อง การเปรียบเทียบเศษสวน
                                                     เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
        เปรียบเทียบเศษสวนได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        เปรียบเทียบเศษสวนได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       การเปรียบเทียบเศษสวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดคํานวณ การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1-2
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                  10

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูวิธีการเปรียบเทียบเศษสวน

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1 (เศษสวนที่เทากัน)
          ครูใหนักเรียนจับคูตามความพอใจ แจกกระดาษ A4 ใหนักเรียนคูละ 2 แผน จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา
กระดาษ 2 แผนที่ครูแจกใหมีขนาดเทากันหรือไม มีวิธีทดสอบอยางไร (เทากัน โดยนํากระดาษทั้งสองมาวางซอน
กันไดพอดี)
          ชั่วโมงที่ 2-3 (เศษสวนที่ไมเทากัน)
          ครูและนักเรียนรวมกันหาวิธีการหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยใชหลักการคูณ และหลัก
การหาร
     5.2 ขั้นสอน
                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (เศษสวนที่เทากัน)
1. ครูวาดรูปบนกระดาน แลวใหนักเรียนพับกระดาษแผนที่ 1 ตามรูปที่ครูวาด แลว
แรเงาดังรูป




                                   รูปที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                 11

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
2. ครูวาดรูปที่ 2 บนกระดาน แลวใหนักเรียนพับกระดาษอีกแผนหนึ่งตามแบบบน
กระดาน แลวแรเงาดังรูป




                                        รูปที่ 2
3. ครูใหนักเรียนบอกเศษสวนแทนรูปที่ไดจากกระดาษแผนที่ 1 และกระดาษแผนที่ 2     ทักษะการคิดวิเคราะห
นักเรียนควรบอกไดวา

                          = 1       และ                       = 2
                            2                                   4
           รูปที่ 1                                รูปที่ 2
4. ใหนักเรียนพิจารณาวากระดาษทั้งสองแผนบริเวณสวนที่แรเงามีพื้นที่เทากันหรือไม ทักษะการคิดวิเคราะห
และมีวิธการตรวจสอบไดวาอยางไร
         ี
5. ครูและนักเรียนชวยกันอภิปรายผลที่ไดจากการทํากิจกรรมขางตนที่วา 1 = 2 ได ทักษะการคิดแปลความ
                                                                     
                                                                       2 4
อยางไร โดยครูเปนผูใชคําถามจนนักเรียนสามารถตอบไดวา
                    1 = 1× 2
                    2       2×2
                        = 2
                            4
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมดังกลาวซ้ําอีกครั้ง โดยใหนักเรียนออกแบบเอง นํามาเสนอ ทักษะการคิดสรุปความ
หนาหอง แลวใหเพื่อนพิจารณาคําตอบที่ไดวาถูกตองหรือไม ใหนักเรียนชวยกัน
อภิปรายผลที่ไดจากการทํากิจกรรมแลวสรุปผลเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหมสวนเทากัน
                                                                         ี
ดังนี้
          เศษสวนที่เทากันจะหาไดจากการคูณทั้งตัวเศษและตัวสวนดวย
          จํานวนเดียวกันที่ไมเทากับศูนย

7. ครูใหนักเรียนหาเศษสวนที่เทากับ 3 อีก 5 จํานวน ดังนี้                       ทักษะการคิดคํานวณ
                                     7
          3 = 3× 2 = 6
          7 7 × 2 14
          3 = 3× 3 = 9
          7 7 × 3 21
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                 12

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
          3 = 3 × 4 = 12
          7 7 × 4 28
          3 = 3 × 5 = 15
          7 7 × 5 35
          3 = 3 × 6 = 18
          7 7 × 6 42
         ∴ 3 = 6 = 9 = 12 = 15 = 18
                   7 14 21 28 35 42
8. ครูใหนกเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน
           ั
9. ครูถามนักเรียนวา 4 = 2 จริงหรือไม นักเรียนมีวิธีพิจารณาอยางไร ครูแนะนําวา ทักษะการคิดวิเคราะห
                        8 4
เราสามารถหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยการหาร โดยนําจํานวนเต็มที่
ไมเทากับศูนยหารทั้งตัวเศษและตัวสวน เชน
                 4 = 2
                 8        4
 เนื่องจาก 4 = 4 ÷ 2 = 2
                 8        8÷2        4
10. ครูใหนักเรียนหาเศษสวนที่เทากับ 60 อีก 5 จํานวน โดยใชวิธีการหาร ดังนี้    ทักษะการคิดคํานวณ
                                       96
          60 = 60 ÷ 2 = 30
          96 96 ÷ 2             48
          60 = 60 ÷ 3 = 20
          96 96 ÷ 3             32
          60 = 60 ÷ 4 = 15
          96 96 ÷ 4             24
          60 = 60 ÷ 6 = 10
          96 96 ÷ 6             16
          60 = 60 ÷ 12 = 5
          96 96 ÷ 12 8
         ∴ 60 = 30 = 20 = 15 = 10 = 5
                   96 48 32 24 16 8
11. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน
             ั
12. ครูใหนกเรียนพิจารณาเศษสวนตอไปนี้
               ั
          100 = 100 ÷ 10
          200          200 ÷ 10
                     =
                       10
                       20
                     =
                       10 ÷ 5
                       20 ÷ 5
                     =
                       2
                       4
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                         13

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
                =
                          2÷2
                          4÷2
                     =
                          1
                          2
     ครูแนะนําวา      1 เปนเศษสวนที่ ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวสวนเปน 1 เรียก 1 วา
                       2                                                       2
เศษสวนอยางต่ํา
13. ครูกาหนดเศษสวนแลวใหนกเรียนชวยกันทําใหเปนเศษสวนอยางต่ํา 2- 3 ตัวอยาง
          ํ                        ั                                                     ทักษะการคิดคํานวณ
14. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน
              ั
15. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน
                ั
ชั่วโมงที่ 2-3 (เศษสวนที่ไมเทากัน)
1. ครูยกตัวอยางเศษสวน 1 คูบนกระดานดํา แลวใหนักเรียนบอกวาเศษสวนใดมีคามาก          ทักษะการคิดวิเคราะห
กวา เชน 2 และ 3 ครูแนะนําวาเนื่องจากเศษสวนทั้งสองมีตัวสวนไมเทากัน จึงตอง         ทักษะการคิดคํานวณ
            9          11
ทําตัวสวนใหเทากันกอน แลวจึงนําตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน โดยใชความรูเกี่ยวกับตัว
คูณรวมนอย ดังนี้
   ทําตัวสวนใหเทากันทั้งสองจํานวน โดยการหา ค.ร.น. ของตัวสวนได 9 × 11 = 99
   จะได 2 = 2 × 11
                  9      9 × 11
                     =
                          22
                          99
   และ            3 = 3×9
              11          11 × 9
                     =
                          27
                          99
   เนื่องจาก 22 < 99 ดังนั้น 2 < 11
                            27                3
                    99                  9
   ตอบ      2 < 3
            9 11
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 13-15 เมื่อนัก   ทักษะการคิดสรุปความ
เรียนเขาใจแลว ครูสรุปอีกครั้งวาเราสามารถตรวจสอบเศษสวน 2 จํานวน วาจํานวน
หนึ่งนอยกวา เทากับ หรือมากกวาอีกจํานวนหนึ่งโดยใชความรูเรื่อง ค.ร.น. เปลี่ยน
เศษสวน 2 จํานวนนั้นใหตัวสวนมีคาเทากัน แลวจึงนําตัวเศษของเศษสวนทั้งสองมา
เปรียบเทียบกัน
3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน
4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การใชการคูณไขวตรวจสอบเศษสวน 2 จํานวน               ทักษะการคิดแปลความ
วาเทากันหรือไม เกี่ยวของกับการทําเศษสวน 2 จํานวน ใหมีตัวสวนเทากันอยางไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                 14

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
(รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 16)
5. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 17-18 จากนั้นครูสรุปดังนี้   ทักษะการคิดสรุปความ
   วิธีคูณไขว เปนการใชผลคูณไขวของตัวเศษและตัวสวน ดังรูป
                          a          c
                          b          d
                ผลการคูณไขวคือ ad และ bc
                ⇒ ถา ad = bc แสดงวา
                                        a=c
                                        b d
                ⇒ ถา ad > bc แสดงวา
                                        a>c
                                        b d
                ⇒ ถา ad < bc แสดงวา
                                        a<c
                                        b d
6. ครูยกตัวอยางโจทยบนกระดาน 2-3 ตัวอยางใหนักเรียนชวยกันเปรียบเทียบและหา        ทักษะการคิดคํานวณ
คําตอบ
7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน

    5.3 ขั้นสรุป
        ครูและนักเรียนรวมกันสรุปในประเด็นตอไปนี้
        1. การหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยใชหลักการคูณและหลักการหาร
        2. การเปรียบเทียบเศษสวนโดยใชหลักการคูณไขว

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
        - กระดาษ A4
        - ดินสอ, สี
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                15

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูใหนักเรียนสรางโจทยเกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษสวน 2 จํานวน มาคนละ 3 ขอ โดยขอที่ 1 เปนเศษ
สวนที่เปนจํานวนลบกับเศษสวนที่เปนจํานวนลบ ขอที่ 2 เปนเศษสวนที่เปนจํานวนบวกกับเศษสวนที่เปนจํานวน
ลบ และ ขอที่ 3 เปนเศษสวนที่เปนจํานวนบวกกับเศษสวนที่เปนจํานวนบวก
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนเขียนแสดงวิธีการเปรียบเทียบเศษสวน พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ
         ขั้นสรุป
         ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนผลงานกับเพื่อนเพื่อตรวจสอบความถูกตอง
         ขั้นประยุกตใช
         ครูเลือกโจทยที่นาสนใจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                           16

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      17

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
             
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                   18

                                              แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
                                        เรื่อง การบวกและการลบเศษสวน
                                                  เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
       1) หาผลบวกและผลลบของเศษสวนที่กําหนดใหได
       2) อธิบายผลที่เกิดจากการบวกและการลบเศษสวนได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
       1) หาผลบวกและผลลบของเศษสวนที่กําหนดใหได
       2) อธิบายผลที่เกิดจากการบวกและการลบเศษสวนได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       การบวกและการลบเศษสวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดแปลความ การคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 3
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทําแบบฝกหัด
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                             19

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูวิธีการบวกและการลบเศษสวน

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1-2 (การบวกเศษสวน)
       ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับการบวกและการลบจํานวนเต็มแบบตางๆ จากนั้นครูถามนักเรียนวาถาเปน
เศษสวนจะสามารถบวกหรือลบกันไดเชนเดียวกันกับการบวกและลบจํานวนเต็มหรือไม มีหลักเกณฑในการบวก
และลบเศษสวนอยางไร
       ชั่วโมงที่ 3-4 (การลบเศษสวน)
       ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับหลักเกณฑการบวกเศษสวน โดยครูตั้งโจทยแลวใหนักเรียนชวยกัน
หาคําตอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                     20

    5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1-2 (การบวกเศษสวน)
1. ครูยกตัวอยางการบวกเศษสวนที่มตัวสวนเทากันใหนักเรียนหาคําตอบ โดยครูใชวธี
                                       ี                                         ิ   ทักษะการคิดคํานวณ
การถามตอบและเขียนลงบนกระดานดังนี้
   จงหาผลลัพธของ 2 + 10
                      13 13
   วิธีทํา          2 + 10 = 2 + 10
                   13 13             13
                              =
                                   12
                                   13
   ตอบ 12
            13
2. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการบวกเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน จากนั้นครูซักถามนัก    ทักษะการคิดแปลความ
เรียนเกี่ยวกับการลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันจะหาคําตอบไดเชนเดียวกับการบวกเศษ      ทักษะการคิดสรุปความ
สวนขางตนหรือไม อยางไร ใหนักเรียนอธิบายหรือแสดงเหตุผล
3. ครูยกตัวอยางโจทยเกี่ยวกับการลบเศษสวนแลวใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ เชน
                                                       ั                             ทักษะการคิดคํานวณ
 12 − 10 เปนตน
 13 13
4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักเกณฑการบวกและการลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทา           ทักษะการคิดสรุปความ
กันดังนี้ “การบวกและการลบเศษสวนที่มตัวสวนเทากัน ใหนําตัวเศษมาบวกหรือลบ
                                           ี
กัน โดยตัวสวนยังคงเทาเดิม”
5. ครูซักถามนักเรียนในเรื่องการบวกและการลบเศษสวน ถาตัวสวนไมเทากันจะทําได       ทักษะการคิดวิเคราะห
อยางไร (ทําตัวสวนใหเทากันกอน) ตองใชความรูเกี่ยวกับเรื่องใดมาชวยในการหาคํา
ตอบ (ใช ค.ร.น.โดยการทําเศษสวนแตละจํานวนใหมีตัวสวนเทากัน แลวจึงนํามาบวก
หรือลบกันตามกรณี)
6. ครูนําเสนอตัวอยาง ใหนกเรียนสังเกตวิธีการหาคําตอบ
                            ั
      1) จงหาผลบวกของ 4 + 11
                           9 25
           วิธทํา ตัวสวนไมเทากัน หา ค.ร.น. ของ 9 และ 25 ได 225
              ี
                  ดังนั้น 4 + 11 = (4 × 25) + (11 × 9)
                          9 25                   225
                                      =
                                         100 + 99
                                             225
                                      =
                                         199
                                         225
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                21

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
      2) จงทําใหเปนผลสําเร็จ 4 + ⎛ − 5 ⎞ + 8
                                  7 ⎜ 14 ⎟ 21
                                      ⎝ ⎠
          วิธทํา ค.ร.น. ของ 7, 14 และ 21 คือ 42
             ี
                     ดังนั้น 4 + ⎛ −5 ⎞ + 21 = 4 × 6 + (14 ××33 + 21× 22
                                 ⎜ ⎟
                             7 ⎝ ⎠
                                 ⎜ 14 ⎟
                                          8
                                                 7
                                                   × 6 −5)          8
                                                                      ×

                                               =
                                                   24 + (−15) + 16
                                                   42 42 42
                                               =
                                                   24 + ( −15) + 16
                                                          42
                                               =
                                                   25
                                                   42
7. ครูกําหนดโจทยการบวกและการลบเศษสวนที่มีตัวสวนไมเทากันอีก 2-3 ตัวอยาง    ทักษะการคิดวิเคราะห
แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบบนกระดาน
8. ครูยกตัวอยางการบวกเศษสวนที่เปนจํานวนคละ แลวใหนักเรียนชวยกันเสนอแนะ     ทักษะการคิดวิเคราะห
วิธการหาคําตอบวามีวิธีการอยางไร
   ี
   ตัวอยาง จงทําใหเปนผลสําเร็จ 14 5 + 13 7 + 18 7
                                         6 9         8
   วิธีทํา วิธีที่ 1 แยกจํานวนคละออกเปนผลบวกของจํานวนเต็มกับเศษสวน แลวนํา
จํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มและเศษสวนบวกกับเศษสวน
             14 5 + 13 7 + 18 7 = 14 + 5 + 13 + 7 + 18 + 7
                6 9            8            6       9        8
                                                        5 7 7
                                    = (14 + 13 + 18) + ⎛ + + ⎞
                                                       ⎜6 9 8⎟
                                                 ⎝                 ⎠
                                           5 7 7
                                  = 45 + ⎛ + + ⎞
                                         ⎜6 9 8⎟
                                         ⎝       ⎠
         (นํา 6, 9, 8 ไปหา ค.ร.น. เทากับ 72)
                                 = 45 + ⎛
                                             5 × 12 7 × 8 7 × 9 ⎞
                                           ⎜ 6 × 12 + 9 × 8 + 8 × 9 ⎟
                                           ⎝                        ⎠
                                             60 56 63
                                 = 45 + ⎛ + + ⎞
                                           ⎜ 72 72 72 ⎟
                                           ⎝               ⎠
                                 = 45 +
                                           179
                                            72
                                 = 45 + 2 +
                                                35
                                                72
                                 = 47
                                         35
                                         72
        วิธีที่ 2 เขียนจํานวนคละใหอยูในรูปเศษเกิน แลวนํามาบวกกันตามวิธีการ
บวกเศษสวน
         14 5 + 13 7 + 18 7 = 89 + 124 + 151
            6 9            8      6 9 8
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                       22

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                           ฝกการคิดแบบ
                                  =
                                     89 × 12 + 124 × 8 + 151 × 9
                                      6 × 12 9 × 8 8 × 9

                                  =
                                      1068 + 992 + 1359
                                       72 72 72
                                  =
                                      3419
                                       72
                                  =
                                         35
                                      47 72
9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาคําตอบของการบวกเศษสวนที่เปนจํานวนคละ ทักษะการคิดสรุปความ
โดยครูแนะนําเพิ่มเติมสําหรับจํานวนคละที่เปนลบก็ใหเขียนในรูปเศษเกินที่เปนลบ
กอน เชน
                 1
             − 5 เขียนเปน −
                                31
                 6               6
ชั่วโมงที่ 3-4 (การลบเศษสวน)
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับการหาผลลบของจํานวนเต็ม โดยเขียนการลบใหอยูในรูปการ
บวก เชน 5−8 = 5+(−8)
                   = −3
          −3 −11 = −3+(−11)
                   = −14
     จากนั้น แนะนําวาในการหาผลลบของเศษสวนก็ใชหลักการเดียวกัน คือ
                 ตัวตั้ง − ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
     แลวดําเนินการบวกโดยใชหลักการบวกเศษสวนที่ไดเรียนมาแลว
2. ครูนําเสนอโจทยตัวอยางตอไปนี้ใหนักเรียนแสดงวิธีหาคําตอบ                 ทักษะการคิดคํานวณ
     จงหาผลลัพธของ
     1. ⎜ 2 3 + 5 1 ⎞ − 3 4
          ⎛
                     ⎟                     2. 12 6 − ⎛ 4 2 − 2 1 ⎞
                                                      ⎜          ⎟
          ⎝ 8      3 ⎠ 15                         7 ⎝ 3 9⎠
                                                       ⎛3 1 4 ⎞
     วิธทํา 1. ⎜ 2 3 + 5 1 ⎞ − 3 4 = (2 + 5 − 3) + ⎜ + − ⎟
        ี        ⎛
                             ⎟                         ⎜           ⎟
                 ⎝ 8       3 ⎠ 15                      ⎝ 8 3 15 ⎠
                                             ⎡ (3×15) + (1×40) −(4×8) ⎤
                                    = 4+⎢                             ⎥
                                             ⎣           120          ⎦
                                             ⎛ 45+ 40 −32 ⎞
                                    = 4+⎜                  ⎟
                                             ⎝ 120         ⎠
                                    = 4+
                                              53
                                             120
                                    = 4
                                            53
                                           120
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                              23

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
    2. ทําเปนเศษเกินกอน จะไดดังนี้
                                          ⎛ 14 19 ⎞
          12 6 − ⎛ 4 2 − 2 1 ⎞ = 90 − ⎜ − ⎟
                 ⎜           ⎟
             7 ⎝ 3 9⎠                7 ⎜3 9⎟
                                          ⎝         ⎠

                                 =
                                    90 − ⎛ (14 × 3) − (19 × 1) ⎞
                                          ⎜                    ⎟
                                     7 ⎜  ⎝         9          ⎟
                                                               ⎠

                                 =
                                    90 − ⎛ 42 − 19 ⎞
                                          ⎜         ⎟
                                     7 ⎜ 9 ⎟
                                          ⎝         ⎠
                                 =
                                    90 − 23
                                     7 9
                                 =
                                    (90 × 9) − (23 × 7)
                                             63
                                 =
                                    810 − 161
                                        63
                                 =
                                    649
                                     63
                                 = 10
                                       19
                                       63
3. ครูนําเสนอโจทยการบวกลบเศษสวนที่อยูในรูปของโจทยปญหา ใหนักเรียนรวมกัน ทักษะการคิดแปลความ
อภิปรายหาคําตอบ (ใชโจทยตวอยางที่ 11 ในหนังสือเรียนหนา 25-26)
                               ั                                                     ทักษะการคิดคํานวณ
4. ใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันทําแบบฝกหัด 3 ขอที่ 1 (เฉลยขอยอยที่เปนเลขคี่) และ
ขอที่ 2 ภายในชั่วโมงเรียน โดยครูคอยชี้แนะแนวทางในการหาคําตอบ แลวรวมกัน
เฉลยคําตอบ ขอที่เหลือใหนักเรียนทําเปนการบาน

    5.3 ขั้นสรุป
         ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลลัพธของการบวกและลบเศษสวนทั้งมีตัวสวนเทากันและมีตัวสวน
ไมเทากัน ดังนี้
         1) การบวกและลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน ใหนําตัวเศษมาบวกและลบกันไดเลยตามกรณีโดยที่ตัวสวน
ยังคงเทาเดิม
         2) การบวกและลบเศษสวนที่มีตัวสวนไมเทากัน ตองทําตัวสวนใหเทากันกอนโดยการหา ค.ร.น. ของ
ตัวสวนและทําเศษสวนทุกจํานวนใหมีตัวสวนเทากับ ค.ร.น. แลวจึงนําตัวเศษมาบวกหรือลบกันตามกรณี
         3) การบวกและการลบเศษสวนที่เปนจํานวนคละ ใชวิธีทําจํานวนคละใหเปนเศษเกิน แลวจึงนํามาบวกลบ
กัน หรือใชการแยกจํานวนคละเปนจํานวนเต็มบวกกับเศษสวนแท แลวบวกลบกันตามสูตร ดังนี้

                                   a b + d e = (a + d) + ⎛ b + e ⎞ เมื่อ c, f ≠ 0
                                                         ⎜       ⎟
                                     c f                 ⎝c f⎠
                                   a b − d e = (a − d) + ⎛ b − e ⎞ เมื่อ c, f ≠ 0
                                                         ⎜       ⎟
                                     c f                 ⎝c f ⎠
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                           24

6. สื่อการเรียนรู/และแหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ใหนักเรียนสรางโจทยเกี่ยวกับการบวกหรือการลบเศษสวน คนละ 1 ขอ โดยตองประกอบดวยเศษสวน 3
จํานวน จัดทําเปนฉลาก พรอมทั้งใสชื่อนักเรียนที่สรางโจทย รวบรวมไวในกลองหนาหองเรียน
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนแตละคนออกมาจับฉลากเลือกโจทยในกลองหนาหองเรียนเวียนไปจนครบทุกคน แลวแสดง
วิธีทําลงในกระดาษ A4 วิเคราะหคําตอบที่ได พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ
         ขั้นสรุป
         นักเรียนสงกระดาษคําตอบใหเพื่อนที่สรางโจทยตรวจสอบวาเฉลยตรงกันหรือไม
         ขั้นประยุกตใช
         ครูเลือกโจทยที่นาสนใจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน
     7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                           25

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      26

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
             
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                               27

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
                                              เรื่อง การคูณเศษสวน
                                                    เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
       1) หาผลคูณของเศษสวนที่กําหนดใหได
       2) อธิบายผลที่เกิดจากการคูณเศษสวนได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
       1) หาผลคูณของเศษสวนที่กําหนดใหได
       2) อธิบายผลที่เกิดจากการคูณเศษสวนได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       การคูณเศษสวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5-9
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
        3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “เขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกับการคูณเศษสวน”
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5-9
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                               28

        6) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูวิธีการคูณเศษสวน

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1 (การคูณเศษสวน)
          ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับหลักเกณฑการคูณจํานวนเต็ม โดยยกตัวอยางประกอบ
          ชั่วโมงที่ 2 (การคูณเศษสวน (ตอ))
          ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนวิธการคูณเศษสวนดวยเศษสวนโดยการตั้งโจทย แลวใหนักเรียนหาผลคูณ
                                            ี
2-3 ขอ
     5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การคูณเศษสวน)
1. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปตอไปนี้
                                                          3×4   =
                                                                  3× 4
           3                                              4 5     4×5
                                                                  12
           4                                                    =
                                                                  20
                          4
                          5
2. จากการพิจารณารูปขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงคําตอบที่ได นั่นคือ   ทักษะการคิดแปลความ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                          29

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
วิธีการหาคําตอบของการคูณเศษสวนดวยเศษสวน ใหนําตัวเศษคูณกับตัวเศษ และ
ตัวสวนคูณกับตัวสวน
3. ครูยกตัวอยางโจทยการคูณเศษสวนดวยเศษสวน แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ ทักษะการคิดคํานวณ
เชน
     1) จงหาผลคูณของ 3 × 14
                           7 15
        วิธทํา
           ี       3 × 14 = 3 × 14
                   7 15          7 × 15
                            =
                                 42
                                105
                            =
                                 2
                                 5
   ครูแนะนําวา ถาตัวเศษและตัวสวนตัดทอนกันไดควรใหมีการตัดทอนกอนการคูณ
จะทําใหการคํานวณงายและเร็วขึ้น ดังนี้
                   3 × 14 = 3 × 14
                   7 15          7 × 15
                            =
                                1 × 2 (ตัดทอนระหวาง 3 กับ 15 และ 7 กับ 14)
                                 1× 5
                            =
                                 2
                                 5
     2) จงหาผลคูณของ ⎛ − 7 ⎞ × 4
                          ⎜ ⎟
                              3
                          ⎝ ⎠ 8
        วิธทํา ⎛ − 7 ⎞ × 4 = ⎛ −73 ⎞ × 4
             ี   ⎜ ⎟
                      3
                                   ⎜ ⎟
                 ⎝ ⎠ 8             ⎝ ⎠ 8
                               =
                                    (−3) × 4
                                       7×8
                               =
                                    ( −3) × 1 (ตัดทอนระหวาง 4 กับ 8)
                                      7× 2
                                    −3
                               =
                                    14
     3) จงหาผลคูณของ ⎛ − 12 ⎞ × ⎛ − 4 ⎞
                          ⎜
                              5
                                 ⎟ ⎜ 5⎟
                         ⎝    ⎠ ⎝   ⎠
         วิธทํา
            ี     ⎛− 5 ⎞×⎛− 4 ⎞ = ⎛ − 5⎞×⎛ − 4 ⎞
                  ⎜ 12 ⎟ ⎜ 5 ⎟     ⎜ 12 ⎟ ⎜ 5 ⎟
                  ⎝    ⎠ ⎝    ⎠    ⎝ ⎠ ⎝        ⎠
                                 =
                                   (−5) × (−4)
                                      12 × 5
                                 =
                                   (−1) × ( −1) (ตัดทอนระหวาง −5 กับ 5
                                       3×1
                                                 และ −4 กับ 12)
                                      =
                                           1
                                           3
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1

Contenu connexe

Tendances

Tendances (20)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

En vedette

Final de tercera prueva
Final  de tercera pruevaFinal  de tercera prueva
Final de tercera pruevateamfg
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3teeraratWI
 
แผนคณิตบทที่3
แผนคณิตบทที่3แผนคณิตบทที่3
แผนคณิตบทที่3krusupap
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีก
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีกแนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีก
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีกThanatsorn Rekhapornprasit
 
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”Mymi Santikunnukan
 
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานChanon Saiatit
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยMind Melody
 
Utiles Escolares Michelle Cepeda
Utiles Escolares    Michelle CepedaUtiles Escolares    Michelle Cepeda
Utiles Escolares Michelle Cepedasubjeycepeda
 

En vedette (20)

Act. 6.1
Act. 6.1Act. 6.1
Act. 6.1
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
Final de tercera prueva
Final  de tercera pruevaFinal  de tercera prueva
Final de tercera prueva
 
K5
K5K5
K5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
выступление алёхина м.а.
выступление алёхина м.а.выступление алёхина м.а.
выступление алёхина м.а.
 
Factura
FacturaFactura
Factura
 
Prezentaziy
PrezentaziyPrezentaziy
Prezentaziy
 
แผนคณิตบทที่3
แผนคณิตบทที่3แผนคณิตบทที่3
แผนคณิตบทที่3
 
แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313
 
наш 4 класс
наш 4 класснаш 4 класс
наш 4 класс
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีก
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีกแนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีก
แนะนำหลักสูตรการจัดการค้าปลีก
 
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานประเภท“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
 
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
คิว ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Vinai
VinaiVinai
Vinai
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Utiles Escolares Michelle Cepeda
Utiles Escolares    Michelle CepedaUtiles Escolares    Michelle Cepeda
Utiles Escolares Michelle Cepeda
 

Similaire à Unit1

Similaire à Unit1 (15)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Unit1

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง เศษสวนและทศนิยม รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ศิลปะ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 1.1 ม.1/1, 2 ค 1.2 ม.1/2 ค 6.1 ม.1/1, 2 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 ทบทวนเศษสวนและทศนิยม 3.2 การบวกและการลบเศษสวน 3.3 การคูณและการหารเศษสวน 3.4 การบวก ลบ คูณ หารเศษสวนระคน 3.5 โจทยปญหาเศษสวน 3.6 ทศนิยม 3.7 คาประจําหลักของทศนิยม 3.8 คาสัมบูรณของทศนิยม 3.9 การเปรียบเทียบทศนิยม 3.10 การเปลี่ยนหนวย 3.11 การบวกและการลบทศนิยม 3.12 การคูณและการหารทศนิยม 3.13 ความสัมพันธของเศษสวนและทศนิยม 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-18 และแบบฝกหัด 1-13 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกจกรรมกลุม ิ 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 2 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น ความเขาใจ 1-18 และแบบ - แนะการทํากิจกรรมตรวจสอบ เรียน ฝกหัด 1-13 ความเขาใจและแบบฝกหัด - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ 2) การทํากิจกรรมกลุม - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน แบบฝกหัด 3) การทํากิจกรรมบูรณาการ แตละเรื่อง - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น ั - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียนและการใชบริการหอง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา ประจําหนวย สมุดของโรงเรียนอยาง ประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง เหมาะสม - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม การเรียนรูคณิตศาสตร กิจกรรมกลุม - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย กิจกรรมกลุม และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ การเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 3 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ทบทวนเศษสวนและทศนิยม เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจความหมายของคําวาเศษสวนไดอยางถูกตอง 1.2 จุดประสงคการเรียนรู เขาใจความหมายของคําวาเศษสวนไดอยางถูกตอง 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู เศษสวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา  2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 4 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนเขาใจความหมายของเศษสวน 2) นักเรียนรูวิธีเขียนเศษสวนบนเสนจํานวน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถกตอง 80% ขึ้นไป ู การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนความหมายของเศษสวนโดยใหนักเรียนดูภาพตอไปนี้บนกระดาน (ใหนกเรียนดูทีละภาพ) ั 1) 2) 3) 4) แลวสนทนาซักถามกับนักเรียนวาสามารถเขียนเปนเศษสวนแทนสวนที่แรเงาไดอยางไร ใหนกเรียนชวย ั กันอธิบาย
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 5 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูยกตัวอยางปญหาขึ้นมา 1 ปญหา เชน มีแตงโม 1 ลูก ตองการแบงใหเด็ก 3 คน ทักษะการคิดวิเคราะห คนละเทาๆ กัน จะมีวิธีการทําไดอยางไร ใหนักเรียนชวยกันเสนอวิธการหาคําตอบ ี 2. ครูกลาวถึงปญหาที่ใหนักเรียนชวยกันคิดขางตน โดยการซักถามนักเรียน ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห - จะตองนําแตงโมลูกนั้นมาแบงออกเปนกี่สวน (3 สวน) - แตงโม 1 ลูก จะตองแบงออกเปน 3 สวน ที่มีขนาดเทากันใชหรือไม (ใช) - แลวใหเด็กหยิบไปคนละ 1 ชิ้น ใชหรือไม (ใช) - จํานวนชิ้นของแตงโมที่เด็กแตละคนไดรับเขียนเปนเศษสวนไดอยางไร ( 1 ) 3 3. ครูและนักเรียนชวยกันบอกความหมายของเศษสวน โดยครูเปนผูซักถามจนไดคํา ทักษะการคิดสรุปความ ตอบวา เศษสวน คือจํานวนที่เขียนในรูป a เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0 b เรียก a วา ตัวเศษ และเรียก b วา ตัวสวน 4. ครูเขียนเสนจํานวนบนกระดาน จากนั้นสนทนาซักถามกับนักเรียนวารูจักหรือไม ทักษะการคิดวิเคราะห ใชสาหรับทําอะไร ใหนักเรียนสังเกตเสนจํานวนที่บอกตําแหนงของเศษสวนคือ 1 , ํ ทักษะการคิดสรุปความ 3 2 3 0 1 2 1 2 3 3 ครูสรุปวา เศษสวนสามารถแสดงดวยจุดบนเสนจํานวนได a คือการแบงความยาว 1 หนวย บนเสนจํานวนออกเปน b สวนเทาๆ กัน b 5. ครูเขียนเสนจํานวนบนกระดาน ใหนักเรียนบอกเศษสวนที่จุด A, B, C และ D ทักษะการคิดวิเคราะห A B C D –1 0 1 2 3 จากรูป แบงระยะจาก 0 ถึง 1 ออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน จุด A อยูหางจาก 0 เปนระยะ 1 สวน จาก 4 สวน จะได A = 1 4 จุด B อยูหางจาก 0 เปนระยะ 3 สวน จาก 4 สวน จะได B =  3 4 จุด C อยูหางจาก 1 เปนระยะ 1 สวน จาก 4 สวน จะได C = 1 1 4 จุด D อยูหางจาก 1 เปนระยะ 3 สวน จาก 4 สวน จะได D = 1 3 4
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 6 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ครูกําหนดเศษสวนทั้งที่เปนบวกและลบ ใหนกเรียนแสดงเศษสวนบนเสนจํานวน ทักษะการคิดสรุปความ ั จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา บนเสนจํานวน เศษสวนที่อยูทางขวาของ 0 เปน เศษสวนที่เปนบวกและเศษสวนที่อยูทางซายของ 0 เปนเศษสวนที่เปนลบ และเศษสวน ที่อยูทางขวาจะมีคามากกวาเศษสวนที่อยูทางซายเสมอ 7. ครูใชเสนจํานวนอธิบายความหมายของจํานวนตรงขาม จากนั้นสรุปวา ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a คือ –a เชน 1 เปนจํานวนตรงขามของ − 1 5 5 3 เปนจํานวนตรงขามของ − 3 8 8 2 ⎛ 2⎞ 2 − เปนจํานวนตรงขามของ − ⎜ − ⎟ = 3 ⎝ 3⎠ 3 4 ⎛ 4⎞ 4 − เปนจํานวนตรงขามของ − ⎜ − ⎟ = 7 ⎝ 7⎠ 7 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปในประเด็นตอไปนี้ 1. ความหมายของเศษสวน 2. หลักในการเขียนเศษสวนบนเสนจํานวน 3. จํานวนตรงขาม 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 - กระดาษรูปภาพ (ควรเปนแบบมีสีเพื่อใหนักเรียนสนใจ) 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 7 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 8 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 9 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบเศษสวน เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เปรียบเทียบเศษสวนได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู เปรียบเทียบเศษสวนได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การเปรียบเทียบเศษสวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดคํานวณ การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1-2 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 10 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการเปรียบเทียบเศษสวน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (เศษสวนที่เทากัน) ครูใหนักเรียนจับคูตามความพอใจ แจกกระดาษ A4 ใหนักเรียนคูละ 2 แผน จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา กระดาษ 2 แผนที่ครูแจกใหมีขนาดเทากันหรือไม มีวิธีทดสอบอยางไร (เทากัน โดยนํากระดาษทั้งสองมาวางซอน กันไดพอดี) ชั่วโมงที่ 2-3 (เศษสวนที่ไมเทากัน) ครูและนักเรียนรวมกันหาวิธีการหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยใชหลักการคูณ และหลัก การหาร 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (เศษสวนที่เทากัน) 1. ครูวาดรูปบนกระดาน แลวใหนักเรียนพับกระดาษแผนที่ 1 ตามรูปที่ครูวาด แลว แรเงาดังรูป รูปที่ 1
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 11 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูวาดรูปที่ 2 บนกระดาน แลวใหนักเรียนพับกระดาษอีกแผนหนึ่งตามแบบบน กระดาน แลวแรเงาดังรูป รูปที่ 2 3. ครูใหนักเรียนบอกเศษสวนแทนรูปที่ไดจากกระดาษแผนที่ 1 และกระดาษแผนที่ 2 ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนควรบอกไดวา = 1 และ = 2 2 4 รูปที่ 1 รูปที่ 2 4. ใหนักเรียนพิจารณาวากระดาษทั้งสองแผนบริเวณสวนที่แรเงามีพื้นที่เทากันหรือไม ทักษะการคิดวิเคราะห และมีวิธการตรวจสอบไดวาอยางไร ี 5. ครูและนักเรียนชวยกันอภิปรายผลที่ไดจากการทํากิจกรรมขางตนที่วา 1 = 2 ได ทักษะการคิดแปลความ  2 4 อยางไร โดยครูเปนผูใชคําถามจนนักเรียนสามารถตอบไดวา 1 = 1× 2 2 2×2 = 2 4 6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมดังกลาวซ้ําอีกครั้ง โดยใหนักเรียนออกแบบเอง นํามาเสนอ ทักษะการคิดสรุปความ หนาหอง แลวใหเพื่อนพิจารณาคําตอบที่ไดวาถูกตองหรือไม ใหนักเรียนชวยกัน อภิปรายผลที่ไดจากการทํากิจกรรมแลวสรุปผลเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหมสวนเทากัน ี ดังนี้ เศษสวนที่เทากันจะหาไดจากการคูณทั้งตัวเศษและตัวสวนดวย จํานวนเดียวกันที่ไมเทากับศูนย 7. ครูใหนักเรียนหาเศษสวนที่เทากับ 3 อีก 5 จํานวน ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 7 3 = 3× 2 = 6 7 7 × 2 14 3 = 3× 3 = 9 7 7 × 3 21
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 12 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3 = 3 × 4 = 12 7 7 × 4 28 3 = 3 × 5 = 15 7 7 × 5 35 3 = 3 × 6 = 18 7 7 × 6 42 ∴ 3 = 6 = 9 = 12 = 15 = 18 7 14 21 28 35 42 8. ครูใหนกเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน ั 9. ครูถามนักเรียนวา 4 = 2 จริงหรือไม นักเรียนมีวิธีพิจารณาอยางไร ครูแนะนําวา ทักษะการคิดวิเคราะห 8 4 เราสามารถหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยการหาร โดยนําจํานวนเต็มที่ ไมเทากับศูนยหารทั้งตัวเศษและตัวสวน เชน 4 = 2 8 4 เนื่องจาก 4 = 4 ÷ 2 = 2 8 8÷2 4 10. ครูใหนักเรียนหาเศษสวนที่เทากับ 60 อีก 5 จํานวน โดยใชวิธีการหาร ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 96 60 = 60 ÷ 2 = 30 96 96 ÷ 2 48 60 = 60 ÷ 3 = 20 96 96 ÷ 3 32 60 = 60 ÷ 4 = 15 96 96 ÷ 4 24 60 = 60 ÷ 6 = 10 96 96 ÷ 6 16 60 = 60 ÷ 12 = 5 96 96 ÷ 12 8 ∴ 60 = 30 = 20 = 15 = 10 = 5 96 48 32 24 16 8 11. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน ั 12. ครูใหนกเรียนพิจารณาเศษสวนตอไปนี้ ั 100 = 100 ÷ 10 200 200 ÷ 10 = 10 20 = 10 ÷ 5 20 ÷ 5 = 2 4
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 13 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ = 2÷2 4÷2 = 1 2 ครูแนะนําวา 1 เปนเศษสวนที่ ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวสวนเปน 1 เรียก 1 วา 2 2 เศษสวนอยางต่ํา 13. ครูกาหนดเศษสวนแลวใหนกเรียนชวยกันทําใหเปนเศษสวนอยางต่ํา 2- 3 ตัวอยาง ํ ั ทักษะการคิดคํานวณ 14. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน ั 15. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน ั ชั่วโมงที่ 2-3 (เศษสวนที่ไมเทากัน) 1. ครูยกตัวอยางเศษสวน 1 คูบนกระดานดํา แลวใหนักเรียนบอกวาเศษสวนใดมีคามาก ทักษะการคิดวิเคราะห กวา เชน 2 และ 3 ครูแนะนําวาเนื่องจากเศษสวนทั้งสองมีตัวสวนไมเทากัน จึงตอง ทักษะการคิดคํานวณ 9 11 ทําตัวสวนใหเทากันกอน แลวจึงนําตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน โดยใชความรูเกี่ยวกับตัว คูณรวมนอย ดังนี้ ทําตัวสวนใหเทากันทั้งสองจํานวน โดยการหา ค.ร.น. ของตัวสวนได 9 × 11 = 99 จะได 2 = 2 × 11 9 9 × 11 = 22 99 และ 3 = 3×9 11 11 × 9 = 27 99 เนื่องจาก 22 < 99 ดังนั้น 2 < 11 27 3 99 9 ตอบ 2 < 3 9 11 2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 13-15 เมื่อนัก ทักษะการคิดสรุปความ เรียนเขาใจแลว ครูสรุปอีกครั้งวาเราสามารถตรวจสอบเศษสวน 2 จํานวน วาจํานวน หนึ่งนอยกวา เทากับ หรือมากกวาอีกจํานวนหนึ่งโดยใชความรูเรื่อง ค.ร.น. เปลี่ยน เศษสวน 2 จํานวนนั้นใหตัวสวนมีคาเทากัน แลวจึงนําตัวเศษของเศษสวนทั้งสองมา เปรียบเทียบกัน 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 แลวเฉลยคําตอบรวมกัน 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การใชการคูณไขวตรวจสอบเศษสวน 2 จํานวน ทักษะการคิดแปลความ วาเทากันหรือไม เกี่ยวของกับการทําเศษสวน 2 จํานวน ใหมีตัวสวนเทากันอยางไร
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 14 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 16) 5. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 17-18 จากนั้นครูสรุปดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ วิธีคูณไขว เปนการใชผลคูณไขวของตัวเศษและตัวสวน ดังรูป a c b d ผลการคูณไขวคือ ad และ bc ⇒ ถา ad = bc แสดงวา a=c b d ⇒ ถา ad > bc แสดงวา a>c b d ⇒ ถา ad < bc แสดงวา a<c b d 6. ครูยกตัวอยางโจทยบนกระดาน 2-3 ตัวอยางใหนักเรียนชวยกันเปรียบเทียบและหา ทักษะการคิดคํานวณ คําตอบ 7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปในประเด็นตอไปนี้ 1. การหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดใหโดยใชหลักการคูณและหลักการหาร 2. การเปรียบเทียบเศษสวนโดยใชหลักการคูณไขว 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 - กระดาษ A4 - ดินสอ, สี 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 15 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูใหนักเรียนสรางโจทยเกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษสวน 2 จํานวน มาคนละ 3 ขอ โดยขอที่ 1 เปนเศษ สวนที่เปนจํานวนลบกับเศษสวนที่เปนจํานวนลบ ขอที่ 2 เปนเศษสวนที่เปนจํานวนบวกกับเศษสวนที่เปนจํานวน ลบ และ ขอที่ 3 เปนเศษสวนที่เปนจํานวนบวกกับเศษสวนที่เปนจํานวนบวก ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนเขียนแสดงวิธีการเปรียบเทียบเศษสวน พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ ขั้นสรุป ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนผลงานกับเพื่อนเพื่อตรวจสอบความถูกตอง ขั้นประยุกตใช ครูเลือกโจทยที่นาสนใจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ -
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 16 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 17 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ  ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 18 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง การบวกและการลบเศษสวน เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) หาผลบวกและผลลบของเศษสวนที่กําหนดใหได 2) อธิบายผลที่เกิดจากการบวกและการลบเศษสวนได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) หาผลบวกและผลลบของเศษสวนที่กําหนดใหได 2) อธิบายผลที่เกิดจากการบวกและการลบเศษสวนได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การบวกและการลบเศษสวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดแปลความ การคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทําแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 19 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการบวกและการลบเศษสวน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1-2 (การบวกเศษสวน) ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับการบวกและการลบจํานวนเต็มแบบตางๆ จากนั้นครูถามนักเรียนวาถาเปน เศษสวนจะสามารถบวกหรือลบกันไดเชนเดียวกันกับการบวกและลบจํานวนเต็มหรือไม มีหลักเกณฑในการบวก และลบเศษสวนอยางไร ชั่วโมงที่ 3-4 (การลบเศษสวน) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับหลักเกณฑการบวกเศษสวน โดยครูตั้งโจทยแลวใหนักเรียนชวยกัน หาคําตอบ
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 20 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1-2 (การบวกเศษสวน) 1. ครูยกตัวอยางการบวกเศษสวนที่มตัวสวนเทากันใหนักเรียนหาคําตอบ โดยครูใชวธี ี ิ ทักษะการคิดคํานวณ การถามตอบและเขียนลงบนกระดานดังนี้ จงหาผลลัพธของ 2 + 10 13 13 วิธีทํา 2 + 10 = 2 + 10 13 13 13 = 12 13 ตอบ 12 13 2. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการบวกเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน จากนั้นครูซักถามนัก ทักษะการคิดแปลความ เรียนเกี่ยวกับการลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันจะหาคําตอบไดเชนเดียวกับการบวกเศษ ทักษะการคิดสรุปความ สวนขางตนหรือไม อยางไร ใหนักเรียนอธิบายหรือแสดงเหตุผล 3. ครูยกตัวอยางโจทยเกี่ยวกับการลบเศษสวนแลวใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ เชน ั ทักษะการคิดคํานวณ 12 − 10 เปนตน 13 13 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักเกณฑการบวกและการลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทา ทักษะการคิดสรุปความ กันดังนี้ “การบวกและการลบเศษสวนที่มตัวสวนเทากัน ใหนําตัวเศษมาบวกหรือลบ ี กัน โดยตัวสวนยังคงเทาเดิม” 5. ครูซักถามนักเรียนในเรื่องการบวกและการลบเศษสวน ถาตัวสวนไมเทากันจะทําได ทักษะการคิดวิเคราะห อยางไร (ทําตัวสวนใหเทากันกอน) ตองใชความรูเกี่ยวกับเรื่องใดมาชวยในการหาคํา ตอบ (ใช ค.ร.น.โดยการทําเศษสวนแตละจํานวนใหมีตัวสวนเทากัน แลวจึงนํามาบวก หรือลบกันตามกรณี) 6. ครูนําเสนอตัวอยาง ใหนกเรียนสังเกตวิธีการหาคําตอบ ั 1) จงหาผลบวกของ 4 + 11 9 25 วิธทํา ตัวสวนไมเทากัน หา ค.ร.น. ของ 9 และ 25 ได 225 ี ดังนั้น 4 + 11 = (4 × 25) + (11 × 9) 9 25 225 = 100 + 99 225 = 199 225
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 21 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2) จงทําใหเปนผลสําเร็จ 4 + ⎛ − 5 ⎞ + 8 7 ⎜ 14 ⎟ 21 ⎝ ⎠ วิธทํา ค.ร.น. ของ 7, 14 และ 21 คือ 42 ี ดังนั้น 4 + ⎛ −5 ⎞ + 21 = 4 × 6 + (14 ××33 + 21× 22 ⎜ ⎟ 7 ⎝ ⎠ ⎜ 14 ⎟ 8 7 × 6 −5) 8 × = 24 + (−15) + 16 42 42 42 = 24 + ( −15) + 16 42 = 25 42 7. ครูกําหนดโจทยการบวกและการลบเศษสวนที่มีตัวสวนไมเทากันอีก 2-3 ตัวอยาง ทักษะการคิดวิเคราะห แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบบนกระดาน 8. ครูยกตัวอยางการบวกเศษสวนที่เปนจํานวนคละ แลวใหนักเรียนชวยกันเสนอแนะ ทักษะการคิดวิเคราะห วิธการหาคําตอบวามีวิธีการอยางไร ี ตัวอยาง จงทําใหเปนผลสําเร็จ 14 5 + 13 7 + 18 7 6 9 8 วิธีทํา วิธีที่ 1 แยกจํานวนคละออกเปนผลบวกของจํานวนเต็มกับเศษสวน แลวนํา จํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มและเศษสวนบวกกับเศษสวน 14 5 + 13 7 + 18 7 = 14 + 5 + 13 + 7 + 18 + 7 6 9 8 6 9 8 5 7 7 = (14 + 13 + 18) + ⎛ + + ⎞ ⎜6 9 8⎟ ⎝ ⎠ 5 7 7 = 45 + ⎛ + + ⎞ ⎜6 9 8⎟ ⎝ ⎠ (นํา 6, 9, 8 ไปหา ค.ร.น. เทากับ 72) = 45 + ⎛ 5 × 12 7 × 8 7 × 9 ⎞ ⎜ 6 × 12 + 9 × 8 + 8 × 9 ⎟ ⎝ ⎠ 60 56 63 = 45 + ⎛ + + ⎞ ⎜ 72 72 72 ⎟ ⎝ ⎠ = 45 + 179 72 = 45 + 2 + 35 72 = 47 35 72 วิธีที่ 2 เขียนจํานวนคละใหอยูในรูปเศษเกิน แลวนํามาบวกกันตามวิธีการ บวกเศษสวน 14 5 + 13 7 + 18 7 = 89 + 124 + 151 6 9 8 6 9 8
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 22 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ = 89 × 12 + 124 × 8 + 151 × 9 6 × 12 9 × 8 8 × 9 = 1068 + 992 + 1359 72 72 72 = 3419 72 = 35 47 72 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาคําตอบของการบวกเศษสวนที่เปนจํานวนคละ ทักษะการคิดสรุปความ โดยครูแนะนําเพิ่มเติมสําหรับจํานวนคละที่เปนลบก็ใหเขียนในรูปเศษเกินที่เปนลบ กอน เชน 1 − 5 เขียนเปน − 31 6 6 ชั่วโมงที่ 3-4 (การลบเศษสวน) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับการหาผลลบของจํานวนเต็ม โดยเขียนการลบใหอยูในรูปการ บวก เชน 5−8 = 5+(−8) = −3 −3 −11 = −3+(−11) = −14 จากนั้น แนะนําวาในการหาผลลบของเศษสวนก็ใชหลักการเดียวกัน คือ ตัวตั้ง − ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ แลวดําเนินการบวกโดยใชหลักการบวกเศษสวนที่ไดเรียนมาแลว 2. ครูนําเสนอโจทยตัวอยางตอไปนี้ใหนักเรียนแสดงวิธีหาคําตอบ ทักษะการคิดคํานวณ จงหาผลลัพธของ 1. ⎜ 2 3 + 5 1 ⎞ − 3 4 ⎛ ⎟ 2. 12 6 − ⎛ 4 2 − 2 1 ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ 8 3 ⎠ 15 7 ⎝ 3 9⎠ ⎛3 1 4 ⎞ วิธทํา 1. ⎜ 2 3 + 5 1 ⎞ − 3 4 = (2 + 5 − 3) + ⎜ + − ⎟ ี ⎛ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ 8 3 ⎠ 15 ⎝ 8 3 15 ⎠ ⎡ (3×15) + (1×40) −(4×8) ⎤ = 4+⎢ ⎥ ⎣ 120 ⎦ ⎛ 45+ 40 −32 ⎞ = 4+⎜ ⎟ ⎝ 120 ⎠ = 4+ 53 120 = 4 53 120
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 23 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ทําเปนเศษเกินกอน จะไดดังนี้ ⎛ 14 19 ⎞ 12 6 − ⎛ 4 2 − 2 1 ⎞ = 90 − ⎜ − ⎟ ⎜ ⎟ 7 ⎝ 3 9⎠ 7 ⎜3 9⎟ ⎝ ⎠ = 90 − ⎛ (14 × 3) − (19 × 1) ⎞ ⎜ ⎟ 7 ⎜ ⎝ 9 ⎟ ⎠ = 90 − ⎛ 42 − 19 ⎞ ⎜ ⎟ 7 ⎜ 9 ⎟ ⎝ ⎠ = 90 − 23 7 9 = (90 × 9) − (23 × 7) 63 = 810 − 161 63 = 649 63 = 10 19 63 3. ครูนําเสนอโจทยการบวกลบเศษสวนที่อยูในรูปของโจทยปญหา ใหนักเรียนรวมกัน ทักษะการคิดแปลความ อภิปรายหาคําตอบ (ใชโจทยตวอยางที่ 11 ในหนังสือเรียนหนา 25-26) ั ทักษะการคิดคํานวณ 4. ใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันทําแบบฝกหัด 3 ขอที่ 1 (เฉลยขอยอยที่เปนเลขคี่) และ ขอที่ 2 ภายในชั่วโมงเรียน โดยครูคอยชี้แนะแนวทางในการหาคําตอบ แลวรวมกัน เฉลยคําตอบ ขอที่เหลือใหนักเรียนทําเปนการบาน 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลลัพธของการบวกและลบเศษสวนทั้งมีตัวสวนเทากันและมีตัวสวน ไมเทากัน ดังนี้ 1) การบวกและลบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน ใหนําตัวเศษมาบวกและลบกันไดเลยตามกรณีโดยที่ตัวสวน ยังคงเทาเดิม 2) การบวกและลบเศษสวนที่มีตัวสวนไมเทากัน ตองทําตัวสวนใหเทากันกอนโดยการหา ค.ร.น. ของ ตัวสวนและทําเศษสวนทุกจํานวนใหมีตัวสวนเทากับ ค.ร.น. แลวจึงนําตัวเศษมาบวกหรือลบกันตามกรณี 3) การบวกและการลบเศษสวนที่เปนจํานวนคละ ใชวิธีทําจํานวนคละใหเปนเศษเกิน แลวจึงนํามาบวกลบ กัน หรือใชการแยกจํานวนคละเปนจํานวนเต็มบวกกับเศษสวนแท แลวบวกลบกันตามสูตร ดังนี้ a b + d e = (a + d) + ⎛ b + e ⎞ เมื่อ c, f ≠ 0 ⎜ ⎟ c f ⎝c f⎠ a b − d e = (a − d) + ⎛ b − e ⎞ เมื่อ c, f ≠ 0 ⎜ ⎟ c f ⎝c f ⎠
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 24 6. สื่อการเรียนรู/และแหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ใหนักเรียนสรางโจทยเกี่ยวกับการบวกหรือการลบเศษสวน คนละ 1 ขอ โดยตองประกอบดวยเศษสวน 3 จํานวน จัดทําเปนฉลาก พรอมทั้งใสชื่อนักเรียนที่สรางโจทย รวบรวมไวในกลองหนาหองเรียน ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนออกมาจับฉลากเลือกโจทยในกลองหนาหองเรียนเวียนไปจนครบทุกคน แลวแสดง วิธีทําลงในกระดาษ A4 วิเคราะหคําตอบที่ได พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ ขั้นสรุป นักเรียนสงกระดาษคําตอบใหเพื่อนที่สรางโจทยตรวจสอบวาเฉลยตรงกันหรือไม ขั้นประยุกตใช ครูเลือกโจทยที่นาสนใจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ -
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 25 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 26 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ  ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 27 แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 เรื่อง การคูณเศษสวน เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) หาผลคูณของเศษสวนที่กําหนดใหได 2) อธิบายผลที่เกิดจากการคูณเศษสวนได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) หาผลคูณของเศษสวนที่กําหนดใหได 2) อธิบายผลที่เกิดจากการคูณเศษสวนได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การคูณเศษสวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5-9 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “เขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกับการคูณเศษสวน” 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5-9 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 28 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการคูณเศษสวน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การคูณเศษสวน) ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับหลักเกณฑการคูณจํานวนเต็ม โดยยกตัวอยางประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (การคูณเศษสวน (ตอ)) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนวิธการคูณเศษสวนดวยเศษสวนโดยการตั้งโจทย แลวใหนักเรียนหาผลคูณ ี 2-3 ขอ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การคูณเศษสวน) 1. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปตอไปนี้ 3×4 = 3× 4 3 4 5 4×5 12 4 = 20 4 5 2. จากการพิจารณารูปขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงคําตอบที่ได นั่นคือ ทักษะการคิดแปลความ
  • 29. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 29 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ วิธีการหาคําตอบของการคูณเศษสวนดวยเศษสวน ใหนําตัวเศษคูณกับตัวเศษ และ ตัวสวนคูณกับตัวสวน 3. ครูยกตัวอยางโจทยการคูณเศษสวนดวยเศษสวน แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ ทักษะการคิดคํานวณ เชน 1) จงหาผลคูณของ 3 × 14 7 15 วิธทํา ี 3 × 14 = 3 × 14 7 15 7 × 15 = 42 105 = 2 5 ครูแนะนําวา ถาตัวเศษและตัวสวนตัดทอนกันไดควรใหมีการตัดทอนกอนการคูณ จะทําใหการคํานวณงายและเร็วขึ้น ดังนี้ 3 × 14 = 3 × 14 7 15 7 × 15 = 1 × 2 (ตัดทอนระหวาง 3 กับ 15 และ 7 กับ 14) 1× 5 = 2 5 2) จงหาผลคูณของ ⎛ − 7 ⎞ × 4 ⎜ ⎟ 3 ⎝ ⎠ 8 วิธทํา ⎛ − 7 ⎞ × 4 = ⎛ −73 ⎞ × 4 ี ⎜ ⎟ 3 ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 8 ⎝ ⎠ 8 = (−3) × 4 7×8 = ( −3) × 1 (ตัดทอนระหวาง 4 กับ 8) 7× 2 −3 = 14 3) จงหาผลคูณของ ⎛ − 12 ⎞ × ⎛ − 4 ⎞ ⎜ 5 ⎟ ⎜ 5⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ วิธทํา ี ⎛− 5 ⎞×⎛− 4 ⎞ = ⎛ − 5⎞×⎛ − 4 ⎞ ⎜ 12 ⎟ ⎜ 5 ⎟ ⎜ 12 ⎟ ⎜ 5 ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = (−5) × (−4) 12 × 5 = (−1) × ( −1) (ตัดทอนระหวาง −5 กับ 5 3×1 และ −4 กับ 12) = 1 3